ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยErik Pataki ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
3
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1)
ปีงบประมาณ 60 ขั้นที่ (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน 2. มีระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3. มีการจัดการด้าน AMR ในรพ.A,S,M1 4. % ED = A 75%, S 80%, M 85%, F 90% 5. PTC เข้มแข็ง ระดับ 3 6. รายการยาที่ควรตัดออกเหลือ ≤1 7. ทำฉลากยา 13 กลุ่ม 8. Ethics ระดับ 3 RUA - PCU 9. จำนวน รพ.สต.ที่ใช้ Antibiotics ใน RI และ AD ≤20% (≥ 40% ของรพ.สต.ในCUP) Report 581 Hosp. (65%) RDU- hospital 1. มีคกก. 97% 2. มีระบบข้อมูล 93% 3. A,S,M1 มีแผน AMR = 58% 4. ผ่านเกณฑ์%ED = 74% 5. PTC ชี้นำ RDU ใน รพ.&PCU = 27% 6. ตัดยาที่ไม่สมเหตุผล = 76% 7. Labeling = 60% 8. Ethics ผ่านระดับ3 =60% RUA – PCU 9. CUP ที่มี PCU ใช้ ATB เหมาะสมใน RI,AD =10% Report from 581 Hospital (จาก 896 Hosp) โรงพยาบาลใช้ยาอย่างสมเหตุผล * = 15 แห่ง (3 %) * ผ่านเงื่อนไข 9 ข้อ 8 ข้อ เงื่อนไขระดับ => 158 แห่ง (27%) 1 ข้อ เงื่อนไข ระดับ CUP คือ ต้องมีPCUใช้ ATB เหมาะสมใน2โรค => 58 CUP (10%) ปัญหาอุปสรรค และ สิ่งที่ต้องพัฒนา เป้าหมาย 80 % (ปัจจุบันผ่าน 3%) รพ.ระดับใหญ่ -> เร่งสร้างความเข้าใจ การจัดการ AMR PTC รพ. เร่งสร้างความเข้าใจ การใช้ยาใน PCU การจัดการฉลากยา - ส่งเสริม Ethics ส่วนกลาง -> เร่งพัฒนาสารสนเทศจาก HDC
4
ผลดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ขั้นที่ 1 รายเขตสุขภาพ
Input 26 ธ.ค. 59 : ถ่ายทอดนโยบาย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : 13 เขตสุขภาพ : คู่มือดำเนินงาน Service Plan RDU 26 ม.ค. 60 : พัฒนาการจัดการ AMR 24 รพ. ตัวแทนเขตสุขภาพ 30 ม.ค. 60 : พัฒนา แพทย์ เภสัชกร พยาบาล เป็น ครู ก RDU ระดับจังหวัด Output เขต จำนวน รพ. RDU1- Hospital * RDU2- PCU* RDU Hospital ขั้นที่ 1 A S M1 M2 F1 F2 F3 รพ.ผ่าน CUP ผ่าน 1 ข้อ 1 102 2 3 8 5 47 7 54 15 4 71 9 6 22 66 73 12 77 88 14 27 89 10 13 11 80 78 ประเทศ 896 21 85 158 59 16 * ข้อมูลจากการรายงานของโรงพยาบาล 581 แห่ง (65%) จาก 896 แห่ง ณ วันที่ 31 ม.ค.60
5
จุดเน้นการพัฒนา ในปีงบประมาณ 2560
โรงพยาบาลใช้ยาอย่างสมเหตุผล = 15 แห่ง (3 %) * ผ่านเงื่อนไข 9 ข้อ (Essential Package) 8 ข้อ เงื่อนไขระดับ => 158 แห่ง (27%) 1 ข้อ เงื่อนไข ระดับ CUP คือ ต้องมีPCUใช้ ATB เหมาะสมใน2โรค => 58 CUP (10%) สิ่งที่ต้องเร่งการพัฒนา ส่วนกลาง -> เร่งพัฒนาสารสนเทศ จาก HDC รายงานการใช้ยาใน รพ.สต. - รายงานการใช้ยาใน รพ. รพ.ระดับใหญ่ -> เร่งสร้างความเข้าใจ การจัดการ AMR ผ่าน =มีแผน AMR 58% PTC รพ. เร่งสร้างความเข้าใจ การใช้ยาใน PCU ผ่าน 10% การจัดการฉลากยา ผ่าน 60% - ส่งเสริม Ethics เป้าหมาย 80 % (ปัจจุบันผ่าน 3%) สสส. ทีม RDU hospital project UHOSNET บูรณาการกับภาคีเครือข่าย
6
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก(รพ. สต
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก(รพ.สต.) จังหวัดสระแก้ว ปีงบประมาณ 2559 86.41 เป้าหมาย < 20
7
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก(รพ.สต.) จังหวัดสระแก้ว ปีงบประมาณ 2559 45.49 เป้าหมาย < 20
8
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ ระยะที่ 1
กลุ่มโรคเป้าหมาย Respiratory Infection (RI) Acute diarrhea (AD) การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ ระยะที่ 1 ใช้ยาปฏิชีวนะน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะไม่มากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ลดโอกาสเสี่ยงต่อพิษและผลข้างเคียงของยาปฏิชีวนะ ชะลอการดื้อยาปฏิชีวนะของเชื้อแบคทีเรีย ลดค่าใช้จ่ายยาปฏิชีวนะ สร้างวัฒนธรรมใหม่ของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ
9
อย่างน้อย 45 แห่ง RDU ขั้นที่ 1
มากกว่าร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/หน่วยบริการปฐมภูมิทั้งหมด มีอัตราการใช้ยา ปฏิชีวนะในกลุ่มโรค RI และ AD น้อยกว่าร้อยละ 20 จังหวัดสระแก้วมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล/หน่วยบริการปฐมภูมิทั้งหมด 111 แห่ง อย่างน้อย 45 แห่ง
10
คู่มือ การดำเนินงาน RDU
11
HDC Dashboard
13
คู่มือ การรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียด้วยยาปฏิชีวนะ ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.