ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
2
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
บทที่ 2 บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า บทที่ 1 บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า History of Electroconvulsive Therapy Electroconvulsive Therapy Role of Nurse During ECT ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
3
แนวคิดสำคัญของการบำบัดรักษาทางจิต
เวช โรคทางจิตเวชมีปัจจัยเหตุร่วมกันทั้งปัจจัยด้านชีวภาพ ปัจจัยด้านจิตใจ และปัจจัยด้านสังคม สิ่งแวดล้อม ดังนั้นการบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวชจึงต้องอาศัยการบำบัดรักษาร่วมกันทั้งการบำบัดรักษาทางชีวภาพ การบำบัดรักษาทางจิตใจ และการบำบัดรักษาทางสังคม สิ่งแวดล้อม
4
รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช
การบำบัดรักษาทางชีวภาพ : การใช้ยา (จิตเภสัชบำบัด) การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electro-Convulsive Therapy; ECT) การบำบัดทางจิต : การให้คำปรึกษา(Couselling) จิตบำบัด (Psychotherapy) รายบุคคล/รายกลุ่มครอบครัวบำบัด CBT การบำบัดพฤติกรรมที่ผิดปกติ : พฤติกรรมบำบัด(Behavioral Therapy)
5
4.ยาควบคุมอารมณ์ ( Mood Stabilizing Drugs)
Antimanic agents , Lithium salts ยาพวก Lithium นี้มักนิยมใช้เพื่อรักษาภาวะคลุ้มคลั่ง (Manic phase) ในผู้ป่วย Bipolar disorder และใช้ในพวก Schizoaffective disorder ผู้ป่วย Aggressive ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ 1. ระดับเฝ้าระวัง (Serum Lithium mEq/L) 2.ระดับเป็นพิษปานกลาง (Serum Lithium mEq/L) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อไปได้ ถ้า Serum Lithium น้อยกว่า 2.0 mEq/L เจาะเลือด ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด ถ้ามากกว่า2.0 mEq/L หยุดยาทันที รายงานแพทย์ 3. ระดับเป็นพิษรุนแรง (Serum Lithium mEq/L) 4. ระดับอันตราย (Serum Lithium > 2.5 mEq/L) 4/11/2019 Benztropine(Cogentin) , Trihexyphenidyl(Artane,ACA) , Diphenhydramine(Benadryl) ข้อควรระวัง -ให้ยาหลังอาหารทันที -สังเกตประสิทธิภาพของยาว่า ลดอาการน้ำลายไหล สั่นและแพ้ยาหรือไม่ -สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง เช่น การทรงตัว การพูด ความสามารถในการดูแลตนเอง -ปากแห้ง ตามัว เดินไม่ตรงทาง ท้องผูก คลื่นไส้อาเจียน
6
รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช
3. การบำบัดทางสังคม/สิ่งแวดล้อม : สิ่งแวดล้อมบำบัด(Milieu Therapy) กิจกรรมบำบัด (Group Activity Therapy) ชุมชนบำบัดอาชีวบำบัด การจำกัดพฤติกรรม (Setting Limits) ด้วยการใช้เครื่องผูกมัด (Restraints)ห้องแยก(Isolation)หรือกักขัง (Seclusion) 4. การบำบัดในภาวะวิกฤต และภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช
7
4.ยาควบคุมอารมณ์ ( Mood Stabilizing Drugs)
Antimanic agents , Lithium salts ยาพวก Lithium นี้มักนิยมใช้เพื่อรักษาภาวะคลุ้มคลั่ง (Manic phase) ในผู้ป่วย Bipolar disorder และใช้ในพวก Schizoaffective disorder ผู้ป่วย Aggressive ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ 1. ระดับเฝ้าระวัง (Serum Lithium mEq/L) 2.ระดับเป็นพิษปานกลาง (Serum Lithium mEq/L) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อไปได้ ถ้า Serum Lithium น้อยกว่า 2.0 mEq/L เจาะเลือด ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด ถ้ามากกว่า2.0 mEq/L หยุดยาทันที รายงานแพทย์ 3. ระดับเป็นพิษรุนแรง (Serum Lithium mEq/L) 4. ระดับอันตราย (Serum Lithium > 2.5 mEq/L) Benztropine(Cogentin) , Trihexyphenidyl(Artane,ACA) , Diphenhydramine(Benadryl) ข้อควรระวัง -ให้ยาหลังอาหารทันที -สังเกตประสิทธิภาพของยาว่า ลดอาการน้ำลายไหล สั่นและแพ้ยาหรือไม่ -สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง เช่น การทรงตัว การพูด ความสามารถในการดูแลตนเอง -ปากแห้ง ตามัว เดินไม่ตรงทาง ท้องผูก คลื่นไส้อาเจียน 4/11/2019
8
แนวทางการใช้ยาทางจิตเวช
4/11/2019
9
บทบาทพยาบาลในการให้ยา
1. ประเมิน สังเกตว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นอย่างไร 2. สังเกตผลข้างเคียงของยาที่เกิดขึ้น เช่น อาการง่วงนอนมาก ,EPS ความดันโลหิตต่ำ ปวดตรงตำแหน่งที่ฉีดยา อาการ paradox excitement เช่น ท่าทีไม่เป็นมิตร สับสนมีการเคลื่อนไหว มากกว่า
10
บทบาทพยาบาลในการให้ยา
3. ให้คำแนะนำผู้ป่วยและครอบครัว ดังนี้ พยาบาลต้องบอกผลข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการแก้ไข หลีกเลี่ยงการดื่มสุราร่วมกับยาคลายกังวล เพราะสุราจะเพิ่มการกดประสาทเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ยาอาจทำให้ง่วงซึม ไม่ควรขับรถหรือทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกลที่อาจเป็นอันตรายได้ ให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมาก เพราะทำให้ไปลดฤทธิ์ของยาที่ทำให้นอนหลับ หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้บ่อยๆ เพื่อป้องกันการเสพติด
11
1. ผู้ป่วยได้รับยาลิเทียม (300) 1x4 มา 3 วัน ตรวจพบระดับยาในเลือด 1
1. ผู้ป่วยได้รับยาลิเทียม (300) 1x4 มา 3 วัน ตรวจพบระดับยาในเลือด 1.8 mEq/L พยาบาลควรให้การพยาบาลอย่างไร เจาะเลือดซ้ำ วัดสัญญาณชีพ แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆ งดยามื้อต่อไปและรายงานแพทย์
12
บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช
เพื่อมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ๒. เพื่อมีความรู้ เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ๓.เพื่อนำไปใช้และวิเคราะห์บทบาทพยาบาล : ๔.การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
13
วัตถุประสงค์การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
เพื่อมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ๒. เพื่อมีความรู้ เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ๓. เพื่อนำไปใช้และวิเคราะห์บทบาทพยาบาล : ๔. การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า วัตถุประสงค์การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า
14
แนวคิด 1. เมื่อสมองได้รับกระแสไฟฟ้าเข้าไป ในจำนวน พอเหมาะจะทำให้ช็อกและหมดสติ อาการชักเกร็ง จะทำให้สมองมีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีเนื่องจาก สารที่เป็นตัวนำกระแสไฟฟ้า ในสมอง (Serotonin และ Amines) มีการปรับตัวทำให้เกิดสมดุล
15
2. ขณะชักทำให้สมองขาด O2 ชั่วคราว
เนื่องจากเมื่อผู้ป่วยหยุดหายใจ (anoxia) เมื่อมีการสูดหายใจเต็มที่ จะมีอากาศเข้าปอด และโลหิตที่ไหลจากส่วนต่างๆ จะนำเอา O2 และอาหารไปเลี้ยงสมองและร่างกาย ทำให้การทำงานดีขึ้น
16
การผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปทางสมองส่วนหน้า
ซึ่งเป็นศูนย์ความคุมความคิดและความจำ ทำให้ผู้ป่วยซึ่งจำความทุกข์ เจ็บปวด ที่ฝังใจอยู่ ได้ลืมความเจ็บปวดลงได้ (Amnesia) อาการทางจิตจึงดีขึ้น ECT ทำให้ปริมาณของ “Antidepression” ในร่างกาย เพิ่มขึ้นซึ่งทำให้อาการของโรคซึมเศร้าหายไป
17
เชื่อว่าการทำให้ผู้ป่วยที่มีความ รู้สึกผิดบาปสูงและซึมเศร้า
3. แนวความคิดทางจิตวิทยา เชื่อว่าการทำให้ผู้ป่วยที่มีความ รู้สึกผิดบาปสูงและซึมเศร้า เมื่อได้รับความทรมานด้วยการรักษาด้วยไฟฟ้า จะรู้สึกไถ่โทษให้ความรู้สึกผิดบาปลดลงได้ ผู้ป่วยจะหายเศร้าหลังจากได้รับโทษแล้ว
18
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
19
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช Quiz ECT. หมายถึงอะไร ECT. มีแนวคิดและความเชื่อทางการรักษาอย่างไร วิธีการทำ ECT. ที่นิยมในปัจจุบันคือวิธีการใด ผู้ป่วย Schizophrenia มี Suicidal idea ควรทำ ECT. หรือไม่ Contraindication ในการทำ ECT. มีอะไรบ้าง ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
20
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช Quiz 6. Reversible adverse effects ที่พบบ่อยจากการทำ ECT. คืออะไร 7. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำ ECT. มีอะไรบ้าง 8. เทคนิคการสนทนาที่ควรใช้ในผู้เริ่มทำ ECT. ครั้งแรก มีอะไรบ้าง 9. ระยะของการชักมีอะไรบ้าง 10. หลังจากผู้ป่วยเข้าสู่ระยะชัก ควรดูแลอย่างไรต่อไปบ้าง ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
21
ใดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช 11. พยาบาลควรจับประคองผู้ป่วยขณะชักในบริเวณใดบ้าง 12. ถ้าผู้ป่วยได้รับยา TCA, MAOI ควรหยุดยานานเท่าไรก่อน ECT 13. ผู้ป่วยได้รับ Lithium ควรระมัดระวังเรื่องใดถ้าต้องทำ ECT. 14. พยาบาลควรให้คำแนะนำผู้ป่วยเรื่อง ECT. อย่างไรบ้าง ก่อน ขณะ หลังทำ ECT 15. จิตบำบัด ครอบครัวบำบัด และพฤติกรรมบำบัด ต่างกันอย่างไร 16.การพยาบาลต้องทำอย่างไร ใดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.