งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกระบบ:ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกระบบ:ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกระบบ:ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs

2 รุ่น ราคา R1 2WD 1,199,000 R1 AWD 1,299,000 R2 2WD 1,099,000 R2 AWD

3

4 การกำหนดต้นทุนไว้ล่วงหน้า ภายใต้ ระดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพ
ความหมายของต้นทุนมาตรฐาน การกำหนดต้นทุนไว้ล่วงหน้า ภายใต้ ระดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพ

5 การดำเนินงานภายใต้ ระบบต้นทุนมาตรฐาน

6 ทำให้กระบวนการทำงานของบริษัทมีระบบและสะดวกต่อการปฏิบัติงานของหลายฝ่าย โดยใช้การคาดการณ์ในการกำหนดต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการไว้ล่วงหน้าเพื่อความสะดวกในการดำเนินงานและการตัดสินใจทางการธุรกิจ การกำหนดต้นทุนมาตรฐานต้องมีการวิเคราะห์ปริมาณและราคามาตรฐานของปัจจัยการผลิตด้วย เพื่อจัดทำเป็นบัตรต้นทุนมาตรฐานของสินค้า หากบริษัทมีรายการสินค้ามากกว่าหนึ่งรายการต้องจัดทำบัตรต้นทุนมาตรฐานทุกรายการของสินค้าที่มีอยู่

7 บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112
วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท คงที่ 2 ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า

8 การเปรียบเทียบระหว่าง
ผลการดำเนินงาน ที่เป็นไปตามระบบ ต้นทุนมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน ตามระบบ ต้นทุนจริง ผลต่าง การเปรียบเทียบระหว่าง ต้นทุนมาตรฐานและ การปฏิบัติงานจริง

9 เมื่อสิ้นงวดจะนำเอาข้อมูลในสองส่วน คือ ต้นทุนจากการดำเนินจริงและต้นทุนมาตรฐาน มาเปรียบเทียบกันเพื่อวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานระหว่างงวดว่าเป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ โดยผลต่างที่วัดได้จะเป็นข้อมูลเริ่มแรกที่แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีจุดบกพร่องในด้านใดบ้าง และเป็นข้อมูลที่ดีสำหรับผู้บริหาร เพื่อใช้ในการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

10 Variance Analysis Cycle
แสดงขั้นตอนของกระบวนการเกิดผลต่างที่เกิดขึ้นที่มาใช้วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัท Variance Analysis Cycle Take corrective actions. Identify questions. Receive explanations. Conduct next period’s operations. Analyze variances. Prepare standard cost performance report. Begin

11 แหล่งข้อมูลเพื่อกำหนดต้นทุนมาตรฐาน
การวิเคราะห์กิจกรรม เพื่อทราบชนิดของกิจกรรมที่ใช้ในการผลิตแต่ละชนิด ข้อมูลสถิติในอดีต นำข้อมูลต้นทุนของงวดที่ผ่านมาใช้วิเคราะห์ มาตรฐานเทียบเคียงจากบริษัทอื่น มักใช้เทียบเคียงกับคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน แนวคิดต้นทุนตามเป้าหมาย ใช้ความต้องการของตลาดเป็นตัววัด

12 Target Costing Design a product, and the manufacturing process, so that the product can be manufactured at a cost that will enable the firm to make a profit when the product is sold at an estimated market-driven price. Target Price Target Cost Target Profit

13 Target Implement Market Research Standard Costs System -Grouping Needs
-Select Niche -Determine Target Cost -Develop Products -Target Market Test - Standard Costs - Launch New Products

14 Target Price Target Cost Target Profit
การนำเอาระบบ ต้นทุนมาตรฐาน ปรับใช้จริงในการควบคุม การวิจัยทางการตลาด -การจัดกลุ่มความต้องการ -การเลือกตลาดเฉพาะส่วน -การกำหนดต้นทุนเป้าหมาย -การพัฒนาผลิตภัณฑ์ -การทดสอบตลาด -การกำหนดต้นทุนมาตรฐาน -การนำสินค้าออกสู่ตลาด

15 ชนิดของต้นทุนมาตรฐาน

16 บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112
วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท คงที่ 2 ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า

17 บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112
วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ บาท ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท คงที่ 2 ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า มาตรฐาน ราคา มาตรฐาน ปริมาณ

18 มาตรฐานคุณภาพ มาตรฐานปริมาณ มาตรฐานราคา

19 การกำหนดต้นทุนมาตรฐาน ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด

20 การกำหนดมาตรฐานปริมาณวัตถุดิบ อาจจะมาจาก
ส่วนงานวิจัยและพัฒนา วิธีทางวิศวกรรมอุตสาหการ จากข้อมูลสถิติและประสบการณ์ผู้ เชี่ยวชาญ

21

22

23

24 การกำหนดมาตรฐานเวลาปฏิบัติงาน
การศึกษาเวลากับการเคลื่อนไหวในการทำงาน วิธีการทดสอบ การสังเกตการณ์ การสุ่มตัวอย่างในการทำงาน

25 งบประมาณชั่วโมงแรงงานทางตรง(ทั้งเวลาปกติและล่วงเวลา)
การกำหนดอัตราค่าแรง อัตราค่าแรงงานมาตรฐาน = งบประมาณ เงินเดือนค่าแรง+ค่าล่วงเวลา+สวัสดิการ+ ผลตอบแทน งบประมาณชั่วโมงแรงงานทางตรง(ทั้งเวลาปกติและล่วงเวลา) = 3,600, , , ,000 500,000 = บาท/ชั่วโมงทางตรง

26 บัตรต้นทุนมาตรฐานสินค้า รหัส 103
วัตถุดิบทางตรง: ฿ วัตถุดิบ-เอ 6 2 บาทต่อกิโลกรัม 12 วัตถุดิบ-บี 2 3 บาทต่อกิโลกรัม 6 18 ค่าแรงงานทางตรง: ทักษะระดับที่ บาทต่อชั่วโมง ทักษะระดับที่ บาทต่อชั่วโมง 25 37 ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร บาท 8 คงที่ บาท 16 24 ต้นทุนมาตรฐานสินค้าหนึ่งหน่วย 79

27 บัตรต้นทุนมาตรฐาน ซอสหอยนางรม ขนาดเล็ก
วัตถุดิบทางตรง:   หอยนางรม 15 กรัม ราคากิโลกรัมละ บาท 3.00 ซีอิ้ว 5 กรัม ราคากิโลกรัมละ 10 บาท 0.05 น้ำตาล 5 กรัม ราคากิโลกรัมละ 14 บาท 0.07 เกลือ 2 กรัม ราคากิโลกรัมละ 5 บาท 0.01 แป้งข้าวโพด 15 กรัม ราคากิโลกรัมละ 15 บาท 0.23 วัตถุกันเสีย 1 กรัม ราคากิโลกรัมละ บาท 0.10 3.46 ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร บาท 0.75 คงที่ บาท 1.25 2.00 รวมต้นทุนการผลิต   5.46 ราคาขาย 20.00 ตัวอย่างบัตรต้นทุนมาตรฐานของสินค้าที่มิได้มีค่าแรงงานทางตรง

28 การกำหนดมาตรฐาน ค่าใช้จ่ายการผลิต
พิจารณาระดับค่าใช้จ่ายการผลิต ตามระดับการผลิตที่กำหนดไว้ เลือกตัวผลักดันต้นทุน - คำนวณออกมาเป็นต้นทุนมาตรฐานต่อหน่วย

29

30 การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
กำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต กำหนดรูปแบบพฤติกรรมตัวผลักดันต้นทุนชนิดต่างๆ เลือกตัวผลักดันต้นทุนเพื่อเป็นตัวแทน ของทั้งหมด คำนวณอัตรา 5. นำไปใช้ อัตราค่าใช้จ่ายการ = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร ผลิตผันแปร ประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน ณ ระดับกำลังการผลิตที่บริษัทกำหนดงบประมาณ

31 การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
กำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต พิจารณาค่าใช้จ่ายการผลิตต่อระดับกำลังการผลิตที่แตกต่างกัน เลือกตัวผลักดันต้นทุนเพื่อเป็นตัวแทน ของทั้งหมด คำนวณอัตรา 5. นำไปใช้ อัตราค่าใช้จ่ายการ = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ ผลิตคงที่ ประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน ณ ระดับกำลังการผลิตที่บริษัทกำหนดงบประมาณ

32 30 20 ระดับกำลังการผลิต (ชั่วโมงแรงงานทางตรง) สูงสุด 60,0000
ประสิทธิภาพ 50,000 ยอดขายปกติ 40,000 วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท 30 ค่าแรงทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท 20 ค่าใช้จ่ายการผลิต : ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท คงที่ ชั่วโมงๆ ละ 16 8 =240,000/60,000 =4 ฿/DLH 9.6 =240,000/50,000 =4.80 ฿/DLH 12 =6.0 ฿/DLH รวมต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ราคาขาย Markup 200% 74.00 148.00 75.60 151.20 78 156.00

33 บัตรต้นทุนสินค้ามาตรฐาน CODE 0112
วัตถุดิบทางตรง 5 กรัม ๆ ละ 6 บาท ค่าแรงงานทางตรง 2 ชั่วโมงๆ ละ 10 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต: ผันแปร 2 ชั่วโมงๆ ละ 8 บาท คงที่ ชั่วโมงๆ ละ 4 บาท อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่ คงที่คิดเข้างาน ประมาณปริมาณตัวผลักดันต้นทุน = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่ ประมาณชั่วโมงแรงงานทางตรง = 240, = 4 บาท/ชั่วโมงแรงงานทางตรง 60,000 รวมต้นทุนต่อหน่วยของสินค้า

34 ข้อดีและข้อเสียของระบบต้นทุนมาตรฐาน
ระบบต้นทุนมาตรฐานตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นแสดงให้เห็นว่ามีประโยชน์อย่างมากแต่อย่างไรก็ตามระบบนี้ก็มีข้อด้อยเหมือนซึ่งจะสรุปดังต่อไปนี้ ข้อดี 1.ใช้เป็นข้อมูลเพื่อมอบหมายความรับผิดชอบและใช้ในการประเมินผลการปฺฏิบัติงาน 2.พนักงานผลิตสามารถใช้เป็นข้อมูลหลักในการปฏิบัติงาน 3.ระดับมาตรฐานที่ตั้งไว้สร้างความท้าทายแก่พนักงานที่จะทำงานให้ได้ตามมาตรฐานที่ ตั้งไว้ หรือดีกว่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ 4.ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการควบคุมและส่งเสริมการลดต้นทุน 5.ใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมสินค้าคงคลัง สามารถตีราคาผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเสร็จได้เลยโดยไม่ต้องรอทราบต้นทุนจริงทั้งหมดเมื่อปลายงวด 6.ในการคำนวณต้นทุนมาตรฐานได้ตัดเอาต้นทุนในส่วนความไร้ประสิทธิภาพในการผลิตออกทำให้ผู้บริโภคไม่รับภาระความไร้ประสิทธิภาพ 7.ใช้เป็นข้อมูลเพื่อการตัดสินใจกำหนดราคาในการประมูลงานหรือติดต่อเจรจาธุรกิจกับลูกค้าเป็นไปโดยสะดวกและรวดเร็ว

35 8.การกำหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์จะทำให้ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า
9.สามารถวางแผนและควบคุมเวลาสำหรับการผลิตการจัดการระบบสินค้าคงคลังและการจัดการทางด้านการเงิน 10.ลดต้นทุนและเวลาในการฝึกอบรม 11.สามารถใช้ในการกำหนดเป็นมาตรฐานในการผลิตและสามารถทำให้เกิดการผลิตโดยอัตโนมัติ ข้อเสีย 1.ต้นทุนคงที่เป็นต้นทุนส่วนที่ไม่สามารถกำหนดเป็นมาตรฐานได้มากนักขึ้นอยู่กับกำลังการผลิต 2.อาจทำให้ผลิตภัณฑ์ขาดความหลากหลายหากยึดติดกับความเป็นมาตรฐานมากเกินไป 3.ต้องใช้ต้นทุนสูงในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงแบบการผลิตจากมาตรฐานหนึ่งไปเป็นอีกมาตรฐานหนึ่ง 4.ทำให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภคได้

36 การวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐาน

37 Material Price Variance
= ( AQ X AP) – (AQ X SP) = AQ X (AP-SP)

38

39 Material Quantities Variance
= ( AQ X SP) – (SQ X SP) = SP X (AQ-SQ)

40

41 Labour Rate Variance = ( AH X AR) – (AH X SR) = AH X (AR-SR)

42

43 Labour Efficiency Variance
= ( AH X SR) – (SH X SR) = SR X (AH-SH)

44

45 Spending Variance = ( AH X AR) – (AH X SR) = AH X (AR-SR)
= ( A cost diver activities X AR) – (A cost diver activities X SR) = A cost diver activities X (AR-SR) Example = ( AH X AR) – (AH X SR) = AH X (AR-SR) = ( AMH X AR) – (AMH X SR) = AMH X (AR-SR)

46

47 Efficiency Variance = ( AH X SR) – (SH X SR) = SR X (AH-SH)
= ( Actual cost diver activities X SR) – (Standard cost diver activities X SR) = SR x (Actual cost diver activities – Standard cost diver activities) Example = ( AH X SR) – (SH X SR) = SR X (AH-SH) = ( AMH X SR) – (SMH X SR) = SR X (AMH-SMH)

48

49 การใช้ต้นทุนมาตรฐานสำหรับบริษัทผลิตสินค้าทั่วไป

50 บริษัท ซิลเวอร์แวร์ จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายเครื่องเงินชนิดต่างๆ ต่อไปนี้เป็นบัตรต้นทุนมาตรฐานและข้อมูลการผลิตชุดช้อนเงิน

51

52 การวิเคราะห์ผลต่าง วัตถุดิบ

53 วิธีรับรู้ผลต่างเมื่อซื้อ
การวิเคราะห์ผลต่าง วัตถุดิบ วิธีรับรู้ผลต่างเมื่อซื้อ

54 ช่วงเวลาตอนซื้อ ช่วงเวลาตอนใช้

55

56 ราคาที่ซื้อได้จริง ราคาที่ตั้งไว้ในบัตรต้นทุนมาตรฐาน เป็นปริมาณที่สั่งซื้อจริง

57 Material Price Variance
= ( AQ X AP) – (AQ X SP) = AQ X (AP-SP)

58

59 1,860,000 – 1,800,000

60

61 ปริมาณที่ใช้จริงระหว่างงวด
ปริมาณที่ตั้งไว้เป็นมาตรฐาน

62 Material Quantities Variance
= ( AQ X SP) – (SQ X SP) = SP X (AQ-SQ)

63 ปริมาณวัตถุดิบใช้จริงสูงกว่ามาตรฐาน
แสดงให้เห็นว่ามีปัญหาในการควบคุมการใช้วัตถุดิบ หรือ อาจเกิดจากทักษะของคนที่มีทักษะต่ำ

64 1,140,000 – 1,125,000

65 วิธีรับรู้ผลต่างเมื่อใช้
การวิเคราะห์ผลต่าง วัตถุดิบ วิธีรับรู้ผลต่างเมื่อใช้

66

67

68 1,178,000 – 1,140,000 1,140,000 – 1,125,000 38, ,000

69 การวิเคราะห์ ผลต่าง ค่าแรง

70

71 อัตราค่าแรงที่จ่ายจริง

72 อัตราค่าแรงที่จ่ายจริง
อัตราค่าแรงที่ตั้งไว้

73 อัตราค่าแรงจ่ายจริงเท่ากับ อัตราค่าแรงมาตรฐานที่วางไว้
อัตราค่าแรงที่จ่ายจริง อัตราค่าแรงที่ตั้งไว้ อัตราค่าแรงจ่ายจริงเท่ากับ อัตราค่าแรงมาตรฐานที่วางไว้ ผู้บริหารสามารถควบคุมอัตราค่าแรงให้เป็นไปตามมาตรฐานที่วางไว้

74 จำนวนชั่งโมงแรงงานที่ตั้งไว้ในในบัตร

75 ปริมาณชั่งโมงแรงงานที่ใช้จริง
จำนวนชั่งโมงแรงงานที่ตั้งไว้ในในบัตร

76 แรงงานใช้จริงสูงกว่ามาตรฐาน
330,000 – 300,000 แรงงานใช้จริงสูงกว่ามาตรฐาน แสดงให้เห็นว่าแรงงานไม่มีประสิทธิภาพในการทำงาน จึงใช้เวลาสูงกว่ามาตรฐาน มีผลต่างไม่น่าพอใจ

77

78 การวิเคราะห์ ผลต่าง ค่าใช้จ่าย การผลิต ผันแปร

79 ค่าใช้จ่ายการรวม 313,500 ลบ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 112,000 ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 201,500

80

81

82 อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตเกิดขึ้นจริง สูงกว่า อัตรามาตรฐานที่วางไว้
ผู้บริหารไม่สามารถ ควบคุมค่าใช้จ่ายการผลิตให้เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่วางไว้

83 201,500 – 198,000 อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตเกิดขึ้นจริง สูงกว่า อัตรามาตรฐานที่วางไว้ ผู้บริหารไม่สามารถ ควบคุมค่าใช้จ่ายการผลิตให้เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่วางไว้

84 198,000 – 180,000

85

86 เนื่องจากมีการชั่วโมงในการปฏิบัติงานจริงสูงกว่ามาตรฐานที่ได้วางไว้
ทำให้ชั่วโมงเวลาที่ทำงานเกินไปนี้ คชจ. การผลิตเกิดขึ้นอย่างไม่มีประสิทธิภาพ (ผลต่างไม่น่าพอใจ)

87

88 การวิเคราะห์ ผลต่าง ค่าใช้จ่าย การผลิต คงที่

89 ค่าใช้จ่ายการรวม 313,500 ลบ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 112,000 ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 201,500

90

91 หมายถึงว่า บริษัทมีกำลังการผลิตสูงสุด 16,000 ชั่งโมง หนึ่งชุดต้องใช้เวลาการผลิต 10 ชั่งโมง ดังนั้นตามมาตรฐานควรผลิตช้อนได้ 1,600 ชุด

92 ค่าใช้จ่ายคงที่ที่ใช้จริงเมื่อปลายเดือน
ค่าใช้จ่ายคงที่ที่ตั้งไว้ตอนต้นปี

93 112,000 – 112,000 ผู้บริหารสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่จริง ให้เป็นไปตาม งบประมาณที่วางไว้ จึงไม่มีผลต่างงบประมาณ

94 ตามบัตรต้นทุนที่ตั้งไว้

95 ฝ่ายผลิตผลิตสินค้าได้ในปริมาณน้อยกว่าที่มาตรฐานควรจะผลิตได้

96 112,000 – 105,000

97

98 การนำระบบต้นทุนมาตรฐานมาใช้กับกิจการต้นทุนช่วง

99

100

101

102

103

104

105

106

107 (800X24)+(320X20)+(320x16) = 30,720

108

109 2,500X24 2,820X20 2,820X16

110

111

112 +

113 2,100X60

114

115

116 นำมาสรุปเปรียบเทียบผลต่างระหว่างต้นทุนที่ตั้งมาตรฐานไว้กับต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง เพื่อทราบผลต่างในภาพรวม

117 แสดงการวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐานอย่างละเอียดดังนี้

118 ผลต่างวัตถุดิบทางตรง

119 การวิเคราะห์ผลต่างวัตถุดิบ
ใช้วิธีเข้าก่อนออกก่อน ทำให้ต้องคิดต้นทุนวัตถุดิบที่ยกมาก่อนแยกกัน 10,200 – 1,000

120

121 การวิเคราะห์ผลต่างวัตถุดิบ
นำมาจากบัตรต้นทุนมาตรฐาน

122

123

124 การวิเคราะห์ผลต่างวัตถุดิบ
2,500 เอามาจากรายงานการผลิต ตรงปริมาณการผลิต(หน่วย) ดูจากผลรวมของวัตถุดิบที่ใช้ทั้งหมด 4 หมายถึง ใช้วัตถุดิบ 4 กรัมต่อหนึ่งหน่วยผลิต เอามาจากบัตรต้นทุนมาตรฐาน 6 หมายถึง วัตถุดิบหนึ่งกรัมมีราคากรัมละ 6 บาท เอามาจากบัตรต้นทุนมาตรฐาน

125 การวิเคราะห์ผลต่างวัตถุดิบ
62,020 – 61,200 = 820 เนื่องจากราคาวัตถุดิบซื้อจริง สูงกว่า ราคามาตรฐาน จึงมีผลต่างไม่น่าพอใจ 61,200 – 60,000 = 1,200 เนื่องจากปริมาณวัตถุดิบใช้จริงสูงกว่ามาตรฐาน จึงมีผลต่างปริมาณไม่น่าพอใจ

126 การวิเคราะห์ผลต่างวัตถุดิบ
จากที่ผ่านมาทั้งผลต่างราคาและผลต่างปริมาณของวัตถุดิบต่างมีผลต่างที่ไม่น่าพอใจ ผลต่างรวมจึงเอาผลต่างที่ไม่น่าพอใจมารวมกัน

127 ผลต่างค่าแรงทางตรง

128 การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง
ค่าแรงจ่ายจริง ชั่งโมงจริงในการปฏิบัติงาน

129

130 การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง
นำมาจากบัตรต้นทุน

131

132

133 การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง
2,820 เอามาจากรายงานการผลิต ตรงปริมาณการผลิต(หน่วย) ดูจากผลรวมของค่าแรงงานทางตรงที่จ่ายทั้งหมด 2 หมายถึง ใช้วัตถุดิบ 2 กรัมต่อหนึ่งหน่วยผลิต เอามาจากบัตรต้นทุนมาตรฐาน 10 หมายถึง วัตถุดิบหนึ่งกรัมมีราคากรัมละ 10 บาท เอามาจากบัตรต้นทุนมาตรฐาน

134 การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง
58,800 – 56,000 = 820 เนื่องจากอัตราค่าแรงที่ตั้งไว้ต่ำกว่าอัตราที่จ่ายจริงจึงมีผลต่าง ไม่น่าพอใจ 56,400 – 56,000 = 400เนื่องจากชั่วโมงในปฏิบัติงานจริง น้อยกว่า ชั่วโมงมาตรฐานจึงมีผลต่างน่าพอใจ

135 การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง
เห็นได้ว่าผลต่างทางด้านประสิทธิภาพแรงงานเป็นที่น่าพอใจ แต่ผลต่างอัตราค่าแรงงานไม่น่าพอใจ ผลต่างค่าแรงรวมจึงต้องนำมาหักลบกัน

136 ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร

137 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร

138

139 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร

140

141

142 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร

143 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
16,800–15,300=1,500 เนื่องจากอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจริงต่ำกว่า อัตรามาตรฐานจึงมีผลต่างน่าพอใจ 16,920 – 16,800 = เนื่องจากจำนวน ชั่วโมงการปฏิบัติจริงน้อยกว่าชั่วโมงมาตรฐาน จึงมีผลต่างน่าพอใจ

144 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
เนื่องจากทั้งค่าใช้จ่ายการผลิตและประสิทธิภาพการผลิตต่างมีผลน่าพอใจ จึงเอาผลต่างทั้งสองมารวมกัน

145 ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่

146 ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่จ่ายจริง สูงกว่างบประมาณ จึงมีผลต่างไม่น่าพอใจ
การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 25,600 –25,000 = 600 ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่จ่ายจริง สูงกว่างบประมาณ จึงมีผลต่างไม่น่าพอใจ

147

148

149 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ตามงบประมาณควรผลิตได้ 2,500 หน่วย แต่ผลิตได้จริง ,820 หน่วย สูงกว่างบประมาณที่คาดการณ์ไว้ จึงมีผลต่างน่าพอใจ

150 การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
เนื่องจากผลต่างงบประมาณไม่น่าพอใจ แต่ผลต่างปริมาณการผลิตน่าพอใจ ผลต่างรวมจึงต้องหักลบกัน

151 การนำระบบต้นทุนมาตรฐานมาใช้กับกิจการงานสั่งทำ

152 บริษัท นาวา จำกัด รับจ้างประกอบเรือ ทำสัญญารับจ้างต่อเรือสำราญเพื่อใช้ท่องเที่ยวในแม่น้ำให้กับบริษัทนำเที่ยวแห่งหนึ่ง โดยในการคำนวณต้นทุนและราคาขายมีดังต่อไปนี้

153

154

155

156

157 จ่ายจริง = 400,900 งบประมาณ = 400,000 ผลต่างงบประมาณ 900 U


ดาวน์โหลด ppt การออกระบบ:ต้นทุนมาตรฐาน System Design: Standard Costs

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google