งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จิตวิทยาองค์การและพฤติกรรมบุคคลในองค์การ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จิตวิทยาองค์การและพฤติกรรมบุคคลในองค์การ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จิตวิทยาองค์การและพฤติกรรมบุคคลในองค์การ

2 การศึกษาทางพฤติกรรมบุคคลเกิดจากความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์
1.มนุษย์มีความคิดแบบพลวัตร (Dynamic) 2.มนุษย์มีความคิดแบบวิเคราะห์วิจารณ์ (Analytical thinking) 3.มนุษย์มีศักดิ์ศรี (Dignity) ต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน 4.นิสัยคนเปลี่ยนแปลงไม่ได้ 5.คนเราต้องการความเสมอภาคเท่าเทียมกัน(Equity)

3 คุณเป็นคนประเภทใด โง่ 4 1 ขยัน ขี้เกียจ 2 3 ฉลาด
ภายใต้ภูเขาน้ำแข็งอาจจะมีฐานก้วางหรือลอยน้ำอยู่?

4

5

6 จุดม่งหมายของการศึกษาเรื่องนี้
เพื่อเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ ทราบถึงความแตกต่างของคนและเพื่อนร่วมงาน แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคล ‏ การสร้างสัมพันธ์ภาพอันดี กับเพื่อนร่วมงาน การควบคุมพฤติกรรม และเจตนารมย์ของผู้อื่ น วิธีการ สร้างเสน่ห์ใน บุคลิกภาพ ความสัมพันธ์ กับผู้ใต้บังคับบัญชา

7 คุณเป็นคนประเภทใด โง่ 4 1 2 ขยัน ขี้เกียจ 3 ฉลาด

8 โรคของนักบริหาร คุณเคยมีอาการเหล่านี้ไหม
ปวดท้อง ปวดศีรษะ แน่นหน้าอก เจ็บไหล่ หิวอยู่เสมอ หรือ ทานไม่ลง นอนไม่หลับ ท่านเครียดแล้วค่ะ

9

10

11 ศึกษาพฤติกรรมของเอกบุคคล (lndividual Behavioral)
    พฤติกรรมเอกบุคคล (Individual Behavioral)บุคคล (Individual) หรือหนังสือบางเล่มเรียกว่า “ เอกบุคคล “ ปัจเจกชน การศึกษาด้านพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ โดยศึกษาถึง (1)   ความสามารถและทักษะ เช่น สติปัญญาทางกายภาพ (2)   ภูมิหลังเช่น ครอบครัวและสังคม ประสบการณ์ (3)   ลักษณะทางกายภาพ อายุ เพศ

12 นักทฤษฎีหลายท่านได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า
         1. พฤติกรรมที่แสดงออกต้องมีสาเหตุ          พฤติกรรมเป็นผลมาจากการวางเป้าหมาย 3   พฤติกรรมสามารถสังเกตและวัดได้ 4   พฤติกรรมไม่สามารถจัดได้โดยตรง เช่น การคิด การรับรู้ 5. พฤติกรรมเป็นผลมาจากการจูงใจ

13 ตัวแปรพื้นฐานที่เป็นต้นเหตุที่ทำให้บุคคลและพฤติกรรมบุคคลในองค์การแตกต่างกัน 3 เรื่อง คือ
1.ลักษณะทางด้านชีวประวัติของบุคคล (Biographical Characteristics) 2ความสามารถ (Ability) 3การเรียนรู้ (Learning)

14 ลักษณะทางด้านชีวประวัติของบุคคล (Biographical Characteristics)
1.อายุ (Age) ความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับการทำงานของคนในองค์การ นับว่าเป็นประเด็นปัญหาสำคัญเพิ่มมากขึ้นทุกที ด้วยเหตุผล 3 ประการ คือ ประการแรก มีความเชื่อกันอย่างกว้างขวางว่า ผลการทำงานของคนจะลดลงเมื่อมีอายุเพิ่มขึ้น ซึ่งความเชื่อนี้อาจเป็นจริงหรือไม่จริงก็ได้ แต่คนจำนวนมากเชื่อกันอย่างนั้น ประการที่ 2 กำลังแรง(workforce) มีอายุเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คนงานที่มีอายุ 55 ปีขึ้นไป เป็นส่วนที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นรวดเร็วมากที่สุด ประการที่ 3 ข้อกำหนดตามกฎหมายเรื่องการเกษียณอายุการทำงานไม่เข้มงวดมากนักพนักงานไม่จำเป็นต้องเกษียณอายุการทำงานเมื่ออายุ 60 ปี โดยเฉพาะพนักงานส่วนใหญ่ในสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน

15 ลักษณะทางด้านชีวประวัติของบุคคล (Biographical Characteristics)(ต่อ)
2.เพศ(Gender) ความแตกต่างเรื่องเพศนี้จะมีผลกระทบต่อการทำงานน้อยมาก ผู้หญิงมีความเต็มใจพร้อมที่จะปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่มากกว่าผู้ชายแต่ผู้ชายมีความมุ่งมั่นสู่ความสำเร็จมากกว่า แต่จะแตกต่างกันน้อย 3.สถานภาพสมรส (Marital Status)พนักงานที่แต่งงานแล้วจะมีการขาดงานน้อยกว่า และอัตราการเข้า-ออกจากงานน้อยกว่าผู้เป็นโสด รวมทั้งมีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเพื่อนร่วมงานที่ยังเป็นโสด 4.อายุการทำงาน(Tenure) อายุการทำงานกับผลิตภาพของงานมีความสัมพันธ์ทางบวก คือ ผู้ที่ทำงานมานานจะมีผลิตภาพของงานสูงกว่าพนักงานที่เข้าทำงานใหม่ๆ อายุการทำงานจะเป็นตัวทำนายผลิตภาพของงานของพนักงานอีกด้วย

16 ความสามารถ(Ability) ความสามารถ(ABILITY) คือ สมรรถภาพของบุคคลที่ทำงานสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ได้รับมอบหมายได้ ความสามารถแบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ 1.ความสามารถทางด้านสติปัญญา (Intellectual Abilities) หมายถึง ความสามารถที่จะกระทำสิ่งต่างๆที่ต้องใช้ความคิดแบ่งออกเป็น 7 อย่าง คือ ความสามารถทางด้านตัวเลข สามารถคิดเลขได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ความสามารถในการเข้าใจภาษา สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านหรือฟังได้ ความสามารถในการรับรู้ฉับไว สามารถระบุในสิ่งที่เห็นว่าเหมือนหรือต่างกันได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงอุปทาน สามารถระบุขั้นตอนของการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีเหตุผลและสามารถแก้ไขปัญหานั้นได้

17 ความสามารถ(Ability)(ต่อ)
ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงอนุมาน สามารถใช้หลักเหตุผลมาในการพิจารณาเพื่อหาข้อเท็จจริงเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม ความสามารถในการมองเห็นภาพจากจินตนาการ สามารถมองเห็นภาพต่างๆจากจินตนาการได้ ความสามารถทางด้านความจำ สามารถเก็บรักษาประสบการณ์ที่ผ่านมาให้อยู่ในความทรงจำได้นาน และสามารถเรียกนำมาใช้ได้เมื่อจำเป็น 2.ความสามารถทางด้านร่างกาย(Physical Ability) หมายถึงความสามารถที่จะทำงานต่างๆที่ต้องอาศัยความแข็งแรงของร่างกาย ความทรหดอดทนและความชำนาญในการใช้มือ เป็นต้น

18 ตัดเค้ก3ทีให้ได้ 8ชิ้น

19 DIVERSITY AND INDIVIDUAL DIFFERENCES ความหลากหลายและความแตกต่างระหว่างบุคคล

20 Workforce Diversity คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
สิ่งที่ท้าทายคือ จะจัดการอย่างไรกับความหลากหลายนี้ Demographic ความแตกต่างเช่น เพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ อายุ ความสามารถของร่างกาย

21 Personality Personality : บุคลิกภาพ
Personality Determinants and Development : สิ่งที่กำหนดและพัฒนาบุคลิกภาพ Personality Environment Cultural Factors Social Factors Situation Factor Heredity Physical Characteristic Gender

22 Personality Traits and Classifications
The “Big Five” personality dimensions : มิติทางบุคลิกภาพ Extraversion : ความรู้สึกต่อสังคม Agreeableness : การยอมรับ Conscientiousness : ความมั่นคง Emotional stability : สภาพจิตใจ อารมณ์ Openness to experience : การเปิดรับสิ่งรอบตัว

23 วาดภาพตนเอง ห้ามเขียนชื่อ ปิดไม่ให้ผู้อยู่ข้างๆเห็น

24 วาดภาพ ปะการัง และแมงกะพรุน

25

26 การรับรู้ที่แตกต่างกัน
Perception & Attribution การรับรู้ที่แตกต่างกัน กระบวนการรับรู้คืออะไร ? การรับรู้ที่บิดเบือนคืออะไร ? จะมีการจัดระบบการรับรู้ได้อย่างไร ?

27 Figure and ground

28 Close up

29 Some barrier in observation
1. Stereotyping Halo effect 3. illusion

30 What do you see this picture?
How many human in this picture Copyright © 2008 John Wiley & Sons, Inc. 1-30

31 What do you see in this picture?
Copyright © 2008 John Wiley & Sons, Inc. 1-31 31

32 bird Answer Fisherman row his boat and fish
Copyright © 2008 John Wiley & Sons, Inc. 1-32

33 They are falling in love (kiss) and rose
Infant / Baby or view They are falling in love (kiss) and rose Copyright © 2008 John Wiley & Sons, Inc. 1-33

34 Perception & Attribution
ความหมายของการรับรู้ การรับรู้เป็นกระบวนการที่บุคคล เลือก จัดรูปแบบข้อมูล ตีความหมาย การได้กลับมาของข้อมูล และตอบสนองต่อข้อมูลในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว

35 จงตอบคำถาม เห็นสุดที่รักหนุนตักชายหนุ่มอื่นอยู่หรือหญิงอื่นอยู่ จะทำอย่างไร

36

37 การมองแบบ รายละเอียดหรือมองมวลรวม
ผู้บริหารควรมองธุรกิจแบบมองมด ผู้ปฏิบัติควรมองธุรกิจแบบมองช้าง

38

39 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความรู้ความเข้าใจ
ความรู้ความเข้าใจ หมายถึง การจดจำและเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ หรือมีประสบการณ์ในสิ่งนั้นๆ

40 40

41 Perception & Attribution
ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการรับรู้ Perceived การตัดกัน การแยกภาพพื้น ความเข้ม ขนาด การเคลื่อนไหว การทำซ้ำ/ความใหม่ Perceiver ประสบการณ์ ความต้องการ ค่านิยม ทัศนคติ Setting ทางกายภาพ สังคม องค์การ

42 Perception & Attribution
การตัดกัน

43 Perception & Attribution
ความเข้ม

44 Perception & Attribution
ขนาดของวัตถุ

45 Perception & Attribution
การเคลื่อนไหว

46 ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ของSigmound Freud ซิกมันส์ ฟรอยด์
-ทฤษฎีลักษณะนิสัย :เป็นเสมือนแนวโน้มที่บอกถึงการประพฤติ ปฎิบัติเป็นเอกลักษณ์แต่ละบุคคล เปิดเผยจู้จี้ ขี้บ่น เก็บตัว -ทฤษฎีวิจารณ์ :พฤติกรรมบุคคลมาจากพื้นฐาน แรงขับที่แตกต่างกัน ID = :การแสดงออกในรูปที่ไร้เหตุผลเป็นตัวกระตุ้น (จิตไร้สำนึก) โดยไม่มีการพิจารณาว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องการและ อะไรคือสิ่งที่เป็นไปได้ อะไรเป็นที่ยอมรับของสังคม Superego = ส่วนรวมของค่านิยมบุคคล โดยนำศีลธรรมมาเป็นสิ่ง สำคัญทางจิตสำนึก ปกติ Id. กับ Superego จะขัดกัน Ego = อยู่ระหว่างความขัดแย้งและมีบทบาทเกี่ยวกับความ มั่นใจมากที่สุด จะแสดงออกในรูปสติและปัญญา และเหตุผลมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับหลักความจริง

47 เผด็จการ ประชาธิปไตย อิสระเสรี

48 คุณจะช่วยใคร “ เรือล่ม” ทั้ง 3คนกำลังจะจมน้ำ
เด็ก ผู้หญิง คนแก่

49

50

51 ลักษณะภาวะผู้นำ มองการณ์ไกล รับรู้ข้อมูลข่าวสาร
มีความคิดริเริ่ม การตัดสินใจที่ถูกต้อง มีวิสัยทัศน์ รอบรู้ในภาระกิจ หน้าที่ในการบริหารและการตัดสินใจ มองการณ์ไกล รับรู้ข้อมูลข่าวสาร รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น เปิดใจกว้าง มีปิยะวาจา มีเทคนิคการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ มีใจรักงาน อดทนต่องานและปัญหา

52 การจูงใจในการทำงาน คือ การชักนำโน้มน้าบุคคลให้มีทัศนคติหรือ พฤติกรรมไปในทิศทางที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุวัตถุ ประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ การจูงใจ เป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบริหาร

53

54 ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
Abraham Maslow กล่าวว่า การแสดงพฤติกรรม ของมนุษย์นั้นเกิดจากความต้องการบางอย่าง และจะเกิด ความพึงพอใจเมื่อได้รับการตอบสนอง เขาเชื่อว่าความ ต้องการของมนุษย์นั้นสามารถจัดเป็นลำดับขั้นได้ ความต้องการแต่ละขึ้นอาจเหลื่อมกันได้บ้าง ลำดับขั้น ความต้องการ ได้แก่

55 ของลำดับขั้นความต้องการ
ทฤษฎีการจูงใจของ Maslow 5. ความต้องการสำเร็จในชีวิต 4. ความต้องการการยกย่อง มอบรางวัลให้กับพนักงานที่ทำงานประสบความสำเร็จ ให้ในสิ่งที่ต้องการ โดยดูความเหมาะสม ของลำดับขั้นความต้องการ 3. ความต้องการความผูกพันธ์ ปฏิบัติกับพนักงานทุกคนด้วยความเสมอภาค 2. ความต้องการความมั่นคงหรือความปลอดภัย สวัสดิการ เช่น การประกันชีวิต การประกันสังคม 1.ความต้องการทางร่างกาย จ่ายผลตอบแทนในรูปของตัวเงินให้เพียงพอเหมาะสมกับตำแหน่งภาระหน้าที่

56 ทฤษฎี X,Y ทฤษฎี X ทฤษฎี Y คนโดยทั่วไปไม่ชอบทำงาน หลีกเลี่ยงงาน
ต้องดูแลกำกับพนักงาน อย่างระมัดระวัง มีระบบควบคุมที่เข้มงวด การบริหารโดยเผด็จการ คนเปรียบเสมือนเครื่องจักร ใ ช้เงินเป็นสิ่งจูงใจ ทฤษฎี Y คนชอบทำงาน ได้รับความพึงพอใจในการ ทำงาน คนสามารถจูงใจและ ควบคุมตนเองสำหรับ กิจกรรมประเภทต่างๆ ได้ดี จะให้ผู้ใต้บังคับบัญชามี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ

57

58 เรื่อง พนักงานหลีกเลี่ยงภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
เรื่อง พนักงานหลีกเลี่ยงภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

59 การวิเคราะห์ปัญหา พนักงานหลีกเลี่ยง ภาระหน้าที่ ปัจจัยภายนอก ปัญหา ขาด
1. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ 2. ระดับรายได้ลดลง ไม่พอกับรายจ่ายรายได้ของธุรกิจลดลง 3.การปรับวิธีบริหารให้ทันกับเทคโนโลยี จำเป็นต้องลดพนักงาน ขาด 1. นโยบายที่ชัดเจนจากฝ่ายบริหาร วัฒนธรรมการทำงานในองค์กร ขาดระบบการประเมินผลงานที่ดี รับภาระมากเกินไป,ไม่ขึ้นเงินเดือน ขาดแรงจูงใจ ฯลฯ พนักงานหลีกเลี่ยง ภาระหน้าที่ ปัจจัยภายใน

60 ทฤษฎี 2 ปัจจัยของ Herzberg
แนวทางการแก้ไข คำนึงความต้องการ ทฤษฎี 2 ปัจจัยของ Herzberg ทฤษฎี X,Y ทฤษฎี Maslow

61 บุคลิกภาพ (Personality)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ   วัฒนธรรม สภาพแวดล้อมภายนอก  บุคลิกภาพ พันธุกรรม   สภาพแวดล้อมในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว

62 ผู้นำ คือ ผู้ที่มีอำนาจ บุคลิกภาพ คงวามสามารถ และเป็นศูนย์กลางของ
‏    ภาวะผู้นำ ผู้นำ คือ ผู้ที่มีอำนาจ บุคลิกภาพ คงวามสามารถ และเป็นศูนย์กลางของ กลุ่มผู้นำในองค์การมีหลายระดับ บทบาทจะแตกต่างกันตามอำนาจในหน้าที่หรือ รูปแบบภาวะผู้นำ รูปแบบของการจูงใจ (Motivational Styles) เป็นลักษณะ Positive Leadership หรือ Negative Leadership แบ่งได้ดังนี้ 1. แบบอัตตาธิปไตย (Autocratic) 2. แบบร่วมมือกัน (Participation) 3. ปล่อยตามสบาย (Free-rein)

63 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการวัดประสิทธิผล ต้องวัดกันที่การบรรลุเป้าหมาย
การวัดประสิทธิผลขององค์กร หมายถึง การตรวจสอบผลการดำเนินงาน โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ต้องวัดกันที่การบรรลุเป้าหมาย PROCESS เข้าเป้าหรือไม่?

64 สั่งงานใครสั่งอะไรสั่งให้แน่สั่งแล้วแก้สั่งสับสนจนเวียนหัว
สั่งกันมากยากจะสั่งซ้ำขุ่นมัวสั่งกันมั่วแย่งกันสั่งพังทุกที พูดออกไปเขาไม่รู้อย่าขู่เขาว่าโง่เง่างมเงอะเซอะหนักหนา ตัวของตัวทำไมไม่โกรธาว่าพูดจาให้เขาไม่เข้าใจ ฟังอะไรฟังให้ชัดถนัดหูฟังให้รู้ฟังให้เป็นเน้นความหมาย ฟังให้ถูกฟังก่อนตอบจนแยบคายฟังด้วยใจซึ้งถึงกันนั้นฟังดี ฟังอะไรใคร่ครวญคิดด้วยจิตว่างฟังทุกอย่างฟังทุกตอนจนถ้วนถี่ ฟังแล้วท้วงติชมเพื่อเกื้อวจีฟังเช่นนี้ล้วนเลอเลิศเกิดปัญญา ของ “ อาจารย์อัญชลี แจ่มเจริญ” จิตวิทยาองค์การ

65 เม็ดทรายนับไม่ถ้วนจำนวนทราย คนทั้งหลายนับไม่ถ้วนในคุณค่า
ทรายจะแกร่งก็เพราะผ่านกาลเวลา คนจะกล้าก็เพราะผ่านการอดทน แต่ถ้าเราแบมือวางอยู่อย่างนี้ โลกหมุนไปทุกที่แหละทุกหน แต่ถ้าเรา กำหมัดในบัดดล นี่แหละคนผู้ค้นคิดพิชิตงาน ของ คุณวีระ ศรีวิลาศ บันไดสู่นักบริหาร

66 THE END


ดาวน์โหลด ppt จิตวิทยาองค์การและพฤติกรรมบุคคลในองค์การ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google