งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Mail server DNS server FTP server Proxy server RADIUS server

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Mail server DNS server FTP server Proxy server RADIUS server"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Mail server DNS server FTP server Proxy server RADIUS server
เซิร์ฟเวอร์ในอินเตอร์เน็ตมีอะไรบ้าง เซิร์ฟเวอร์ในระบบอินเตอร์เน็ตหากแบ่งตามหน้าที่แล้วสามารถแบ่งได้ดังนี้ Mail server DNS server FTP server Proxy server RADIUS server RAS server Firewall server

2 firewall server gateway
เครื่องเซิร์ฟเวอร์เหล่านี้จะต่อกันเป็นลักษณะเครือข่าย (Local Area network) ดังรูป โดยมี firewall หรือ gateway เชื่อมกับระบบเครือข่ายภายนอก และมี RAS server ต่อเชื่อมกับโมเด็ม เพื่อรองรับการใช้งานผ่านโทรศัพท์ Internet mail server web server DNS server FTP server server server server server firewall server gateway server server server server proxy server news server RADIUS server RAS server modem แสดงเซิร์ฟเวอร์ในระบบอินเตอร์เน็ต

3 mail server มีหน้าที่รับและส่งอีเมล์ เปรียบเหมือนที่ทำการไปรษณีย์ในระบบธรรมดา ใครจะส่งจดหมายก็ส่งมารวมไว้ที่นี่ แล้วบุรุษไปรษณีย์จะนำจดหมายส่งต่อถึงผู้รับอีกทีหนึ่ง โดยผู้อ่านไม่ต้องรับหรือส่งจดหมายเองโดยตรง mail server จะเปิดทำงานตลอดเวลา 24 ชั่วโมง เนื่องจากต้องติดต่อกับ mail server อื่นๆ ทั่วโลก ทำหน้าที่คอยรับส่งเมล์แทนผู้ใช้งานทุกคนผู้ใช้งานเองเพียงแต่คอยตรวจสอบว่ามีเมล์ใหม่เข้ามาหรือไม่เท่านั้นไม่ต้องเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ 24 ชั่วโมง เปิดเฉพาะเวลาต้องการอ่านเมล์ก็พอแล้ว

4 แสดงการทำงานของ mail server
Hub Hub Hub USER Internet USER mail server Mail server รอรับอีเมล์ตลอด 24 ชม. เครื่องผู้ใช้งานเปิดเฉพาะเวลาต้องการอ่านอีเมล์ USER แสดงการทำงานของ mail server

5 โปรโตคอลในการรับส่งอีเมล์
โปรโตคอลหรือมาตรฐานในการรับและส่งเมล์นั้นหลัก ๆ แล้วจะใช้กันอยู่ 3 อย่างคือ SMTP, POP, IMAP SMTP โปรโตคอล SMTP นี้ ย่อมาจาก “Simple Mail Transfer Protocol” ใช้เป็นมาตรฐานในการติดต่อระหว่าง mail server กับ mail server POP ย่อมาจาก “Post Office Protocol” เป็นมาตรฐานที่โปรแกรมอีเมล์ใช้ดึงข้อมูลจาก mail server ปัจจุบันพัฒนามาถึงรุ่นที่ 3 และมักเรียกว่า POP3

6 IMAP IMAP ย่อมาจาก “Internet Message Access Protocol” เป็นอีกมาตรฐานหนึ่งที่ใช้ในการติดต่อระหว่างโปรแกรมอีเมล์ของเครื่องผู้ใช้งานกับ mail server ปัจจุบันพัฒนาถึงรุ่นที่ 4 และมักเรียกว่า IMAP4 ผู้ใช้งาน เซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์ Hub user mail server mail server POP3 , IMAP4 SMTP แสดงโปรโตคอลในการรับส่งอีเมล์

7 web server ติดตั้งบนระบบปฏิบัติการใดได้บ้าง
web server คือ เครื่องให้บริการบนระบบอินเตอร์เน็ตที่เก็บข้อมูลในรูปแบบของโฮมเพจ (HTML Document) จุดเด่นของ web server คือ การสื่อสารข้อมูลจะทำผ่านระบบอินเตอร์เน็ตซึ่งเชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก web server ติดตั้งบนระบบปฏิบัติการใดได้บ้าง web server นั้นสามารถติดตั้งได้บนระบบปฏิบัติการเกือบทุกประเภท เช่น ยูนิกส์ วินโดว์, 3.11, วินโดว์ 95/98 วินโดว์เอ็นที เน็ตแวร์ โอเอสทู ฯลฯ

8 แหล่งอ้างอิง/ดาว์โหลดข้อมูล
ตารางแสดงตัวอย่างโปรแกรม web server บนระบบปฏิบัติการต่าง ๆ OS โปรแกรม แหล่งอ้างอิง/ดาว์โหลดข้อมูล ยูนิกซ์ Apache Web Server, NCSA web server, Netscape Enterprise, Netscape FastTrack Server, วินโดวส์ 3.11 วินโดวส์ 95/98 Microsoft Personal Web server(PWS), O’Reily & Associate’ Website, Professional วินโดว์เอ็นที Microsoft Internet Information server (IIS) Apache Web Server, Ms Personal Web server (PWS) Netscape Enterprise เน็ตแวร์ Novel Web Server โอเอสทู Internet Connection Secure Server

9 จะพูดถึง DNS server เราก็ต้องพูดถึงระบบ DNS กันก่อน ระบบ DNS เป็นระบบวิธีการกำหนดชื่อให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่ง DNS ย่อมาจาก “Domain Name System” ส่วน DNS server ก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบอินเตอร์เน็ตและหมายเลขอ้างอิงไว้ ในการติดต่อส่งข้อมูลในระบบอินเตอร์เน็ตนั้นจะอ้างอิงด้วยตัวเลข เช่น เครื่องหมายเลข 1 ส่งข้อมูลให้เครื่องหมายเลข 2 ซึ่งหากจำนวนเครื่องที่ใช้งานบนระบบอินเตอร์เน็ตมีจำนวนไม่มากนักก็ยังพอจำหมายเลขกันได้ แต่ในมาตรฐานโปรโตคอล TCP/IP ที่ใช้ในระบบอินเตอร์เน็ตนั้น ได้กำหนดหมายเลขประจำเครื่องให้รองรับเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ๆ ได้ และเรียกหมายเลขเหล่านี้ว่าหมายเลขไอพี (IP Address) มีลักษณะเป็นเลขสี่ชุดเขียนติดกัน คั่นด้วยเครื่องหมายจุด เช่น หมายเลขแต่ละชุดมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง หรือแต่ละชุดมีค่าได้ ค่า ด้วยการออกแบบระบบนี้ สามารถมีหมายเลขไอพีได้สูงสุดจำนวน 256  256  256  256 = 4,294,967,296 เลขหมาย

10 แสดงตัวอย่างการทำงานของ DNS server
1. = ? 2. = Internet 3. Send data to user PC แสดงตัวอย่างการทำงานของ DNS server

11 FTP มาจากคำว่า “File Transfer protocol” เป็นมาตรฐานหรือโปรโตคอลที่ออกแบบสำหรับการรับส่งไฟล์โดยเฉพาะ โปรโตคอล FTP นั้นสนับสนุนการรับส่งไฟล์ขนาดใหญ่ได้ดีกว่าโปรโตคอล SMTP ที่ใช้ในการรับส่งอีเมล์ จึงมักใช้โปรโตคอล FTP ในการรับส่งไฟล์โดยเฉพาะ และ FTP server ก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บไฟล์ต่าง ๆ ไว้ให้ผู้ใช้งานดาวน์โหลดนั่นเอง

12 proxy server คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลโฮมเพจ หรือเป็นธนาคารกลางของข้อมูลในระบบอินเตอร์เน็ต โดยจะรวบรวมโฮมเพจไว้ที่ฮาร์ดดิสก์ของตัวเอง และเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นต้องการเรียกดูโฮมเพจก็สามารถขอดูข้อมูลจาก proxy server ได้ หากมีข้อมูลอยู่ในเครื่องแล้วก็จะส่งข้อมูลเหล่านั้นไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ร้องขอได้ทีนที หากไม่พบข้อมูลที่ร้องขอก็จะทำการเรียกข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ภายนอกให้ และทำสำเนาเก็บไว้ด้วย

13 Internet Home page แสดงการทำงานของ proxy server Cache
user user user user แสดงการทำงานของ proxy server

14 RADIUS ย่อมาจาก “Remote Authentication Dial In User Service” เป็นมาตรฐานในการตรวจสอบความถูกต้องของการล็อกอิน และ RADIUS server คือ เครื่องที่เก็บรายชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่านของผู้ใช้งานในระบบไว้ และคอยทำหน้าที่บอกให้เซิร์ฟเวอร์อื่นทราบว่า ผู้ใช้ล็อกอินถูกต้องหรือไม่ ตามปกติศูนย์บริการอินเตอร์เน็ตจะมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์หลายเครื่อง ซึ่งจะมีปัญหาในเรื่องรายชื่อของผู้ใช้งาน และรหัสผ่านที่จะต้องมีเหมือนกันในทุกเครื่อง เมื่อเพิ่มรายชื่อผู้ใช้งานใหม่ก็ต้องเพิ่มให้ครบทุกเครื่อง ซึ่งค่อนข้างยุ่งยากในการจัดการและดูแล ด้วยเหตุนี้จึงมีความพยายามที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ และ RADIUS ก็เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้จัดการกับปัญหารายชื่อผู้ใช้งาน และรหัสผ่านอย่างได้ผล

15 รายชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน
1. ผู้ใช้ป้อนชื่อและรหัสผ่านเพื่อขอล็อกอิน 2. เซิร์ฟเวอร์ส่งชื่อและรหัสผ่านไปตรวจสอบที่ Radius server 3. Radius server ตรวจสอบว่าล็อกอินถูกต้องหรือไม่ รายชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน RADIUS server 2 userpassword 1 3 YESNO userpassword user server แสดงการทำงานของ RADIUS server

16 RAS ย่อมาจาก “Remote Access Service” หรือการให้บริการจากระยะไกล ซึ่งโดยปกติมักเป็นการใช้งานผ่านโมเด็ม ดังนั้น RAS server จึงเป็นเซิร์ฟเวอร์ที่มีหน้าที่ควบคุมการใช้งานผ่านโมเด็ม และควบคุมการทำงานของโมเด็มด้วย เนื่องจาก RAS server เป็นการให้บริการผ่านโมเด็มอุปกรณ์จึงประกอบไปด้วยโมเด็มและอุปกรณ์ควบคุม หรือให้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ควบคุม หรือให้อุปกรณ์เฉพาะ (RAS box) เป็นอุปกรณ์ควบคุมก็ได้

17 modem user modem modem modem user
RAS Server modem modem user แสดงการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และโมเด็ม 2 เครื่อง ทำหน้าที่เป็น RAS server

18 Multi port/extent port
modem modem user modem modem modem RAS server modem modem user modem modem Multi port/extent port แสดงการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดตั้งอุปกรณ์ขยายพอร์ต ทำหน้าที่เป็น RAS server

19 RAS server with modem T1/E1 , ISDN
user RAS server RAS server with modem T1/E1 , ISDN modem user แสดง RAS server ที่มีโมเด็มในตัว

20 เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ทำหน้าที่ป้องกัน และรักษาความปลอดภัยในระบบเครือข่ายจากผู้บุกรุก ทำหน้าที่เหมือนกำแพงป้องกันไฟ หรือป้องกันผู้บุกรุก โดยทั่วไป firewall server จะติดตั้งไว้ตรงทางออกหรือระหว่างเครือข่ายภายในองค์กรกับเครือข่ายภายนอก ข้อมูลทุกอย่างที่ผ่านเข้าออกระบบเครือข่ายจะถูกตรวจสอบโดย firewall server

21 รักษาความปลอดภัยและป้องกันการบุกรุกเครือข่าย
Labtop computer web server Internet mail server firewall server รักษาความปลอดภัยและป้องกันการบุกรุกเครือข่าย user เครือข่ายภายนอกองค์กร user เครือข่ายภายในองค์กร ภาพแสดงการติดตั้ง firewall server


ดาวน์โหลด ppt Mail server DNS server FTP server Proxy server RADIUS server

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google