ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการในราชอาณาจักร
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการในราชอาณาจักร
2
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถึงฉบับที่ 8 พ.ศ.2553) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 ในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทาง ไปราชการ และการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ.2524
3
ขั้นตอนการใช้สิทธิ 2. ยืมเงินราชการ 3. เดินทาง
1. อนุมัติให้เดินทาง 2. ยืมเงินราชการ 3. เดินทาง 4. อนุมัติเบิกค่าใช้จ่าย
4
ลักษณะการเดินทาง 1. ไปราชการชั่วคราว 2. ไปราชการประจำ 3. กลับภูมิลำเนา
5
ลักษณะการเดินทาง ชั่วคราว ประจำ ลักษณะประจำ ระยะเวลาสั้น มีกำหนดแน่นอน
เนื้องานเสร็จสิ้น เมื่อครบกำหนดเวลา ประจำ มีอัตรา ณ สำนักงานแห่งใหม่ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับบรรจุ (สอบเลื่อนระดับ) ลักษณะประจำ เจตนาให้ไปอยู่นาน/ตลอดไป ไม่มีอัตราว่าง ลักษณะงานไม่สิ้นสุด/มีระยะเวลานาน
6
เดินทางไปราชการชั่วคราว
1. ปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสำนักงานตามคำสั่ง ผู้บังคับบัญชา หรือตามหน้าที่งานปกติ 2. สอบคัดเลือก รับการคัดเลือก 3. ช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการแทน 4. ข้าราชการประจำต่างประเทศระหว่างอยู่ในไทย 5. เดินทางข้ามแดนชั่วคราว ตามข้อตกลงระหว่างประเทศ
7
สิทธิ ได้รับค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันได้รับ อนุมัติเดินทาง / ออกจากราชการ
ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติระยะเวลาเดินทางล่วงหน้า/หลังเสร็จสิ้น การปฏิบัติราชการ ตามความจำเป็น ผู้ได้รับอนุมัติให้ลากิจ / พักผ่อน ต้องขออนุมัติ ระยะเวลาดังกล่าวในการเดินทางด้วย
8
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราว
เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการ
9
การนับเวลาเพื่อคำนวณเบี้ยเลี้ยง
- ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ - กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน - กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่งวัน กรณีเดินทางล่วงหน้าเนื่องจากลากิจ / พักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ กรณีไม่เดินทางกลับหลังจากปฏิบัติราชการเสร็จสิ้นเนื่องจากลากิจ / พักผ่อนให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ
10
อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (เหมาจ่าย) (บาท)
ประเภท : ระดับ อัตรา / บาท ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น 240 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง 270
11
วันออกเดินทาง จากที่พัก 09.00 น. วันเดินทางกลับ ถึงที่พัก 23.00 น.
วิธีคำนวณ ไปราชการ ตั้งแต่วันที่ ธ.ค. 58 ออกเดินทางตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค. 58 3 วัน ช.ม. = 4 วัน ตาม พรฏ.ค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ ปี 2554 1 2 3 4 1 2 3 4 9.00 9.00 9.00 23.00 วันออกเดินทาง จากที่พัก น. วันเดินทางกลับ ถึงที่พัก น. 4 วัน x อัตราเบี้ยเลี้ยงตามสิทธิ วันละ = บาท
12
ค่าเช่าที่พัก *จำเป็นต้องพักแรม ห้ามเบิก กรณี * พักในยานพาหนะ
* ทางราชการจัดที่พักให้ ท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง / เป็นแหล่งท่องเที่ยว หัวหน้าส่วนราชการใช้ดุลพินิจอนุมัติให้เบิกเพิ่มได้ไม่เกิน 25 %
13
ค่าเช่าที่พักในประเทศเบิกเหมาจ่าย
ประเภท : ระดับ อัตรา / บาท ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น 800 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง 1,200
14
ค่าเช่าที่พักในประเทศเบิกจ่ายจริง
ประเภท : ระดับ อัตรา / บาท ห้องพักคนเดียว ห้องพักคู่ ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น 1,500 850 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น 2,200 1,200 วิชาการ : ทรงคุณวุฒิ บริหาร : สูง 2,500 1,400
16
ค่าพาหนะประจำทางรถไฟ
รถไฟ ประเภทรถด่วน ด่วนพิเศษ ชั้นที่ นั่งนอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) เบิกได้เฉพาะ ซี 6 ขึ้นไป ประเภท : ระดับ ทั่วไป : ชำนาญงาน , อาวุโส , ทักษะพิเศษ วิชาการ : ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ , เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : ต้น , สูง บริหาร : ต้น , สูง * ซี 5 ซึ่งอยู่ในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน จะมีสิทธิเพิ่มขึ้น
17
หลักเกณฑ์ค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI)
1. ไม่มีพาหนะประจำทาง 2. มีพาหนะประจำทาง แต่มีเหตุจำเป็นและต้องชี้แจง 3. ระดับ 6 ขึ้นไป (ทั่วไป-ชำนาญงาน ขึ้นไป, วิชาการ-ชำนาญการ ขึ้นไป) 3.1 ไป-กลับระหว่างที่พัก หรือที่ทำงานกับสถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดยานพาหนะ 3.2 ไป-กลับระหว่างที่พัก กับที่ทำงานชั่วคราว (ยกเว้นการสอบคัดเลือก) 3.3 ไปราชการในเขต กทม. 4. ระดับ 5 ลงมา ( ทั่วไป/วิชาการ – ระดับปฏิบัติ) กรณีมีสัมภาระเดินทาง
18
ค่าพาหนะรับจ้าง ภายในจังหวัดเดียวกัน ถ้าข้ามเขตจังหวัด
เขตติดต่อ หรือผ่าน กทม. เที่ยวละไม่เกิน บาท เขตต่อจังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน บาท
19
พาหนะส่วนตัว ต้องได้รับอนุมัติจาก ผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง
เบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะเหมาจ่าย รถยนต์ กม. ละ 4 บาท รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท
20
เครื่องบิน ประหยัด ประเภท : ระดับ ชั้น ชั้นธุรกิจ
ทั่วไป : ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น หรือระดับ หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า ประหยัด ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง หรือ ระดับ 9 ขึ้นไป ชั้นธุรกิจ ผู้ดำรงตำแหน่งต่ำกว่า และ ข้างต้น กรณีจำเป็นเร่งด่วน ชั้นประหยัด ไม่เข้าหลักเกณฑ์ 2 และ ให้เบิกได้เทียบเท่าภาคพื้นดิน
21
หลักฐานการเบิกค่าเครื่องบิน
1. กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน 2. กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน และ 3. กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงราย ละเอียดการเดินทาง (Itinery Receipt) กากบัตรโดยสาร
22
ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น เนื่องในการเดินทางไปราชการ นิยาม
จำเป็นต้องจ่าย หากไม่จ่าย ไม่อาจเดินทาง ถึงจุดหมาย ไม่มี ก.ม. ระเบียบ ข้อบังคับ กำหนดไว้เฉพาะ ไม่เกี่ยวกับเนื้องานที่ปฏิบัติ
23
กรณีทำหน้าที่เลขานุการ (ม. 28)
X ทำหน้าที่เลขานุการ หัวหน้าคณะระดับ 9 ขึ้นไป X จำเป็นต้องเดินทางพร้อมกัน = เบิกค่าพาหนะได้เท่ากับผู้บังคับบัญชา = พักแรมที่เดียวกัน เบิกได้ตามสิทธิ/จ่ายจริงในอัตราต่ำสุด ของที่พักนั้น แต่ไม่เกินสิทธิของผู้บังคับบัญชา X เลขานุการมีหลายคน เบิกตามอัตราข้างต้นได้เพียงคนเดียว นอกนั้นเบิกตามสิทธิ
24
หัวหน้าส่วนราชการอาจออกหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารงานงบประมาณรายจ่ายเพื่อควบคุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการให้มีการใช้จ่ายเท่าที่จำเป็นและประหยัดก็ได้ (มาตรา 6)
25
หลักเกณฑ์การเทียบตำแหน่งบุคคลภายนอก ซึ่งมิได้เป็นข้าราชการ
1. มีกฎหมายอื่นกำหนดสิทธิไว้สูงกว่าระดับที่ กค. เทียบ ให้ใช้สิทธิในระดับ ตำแหน่งที่กฎหมายนั้นกำหนด 2. กค. เทียบตำแหน่งไว้เกินกว่า ตำแหน่ง ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการ 3. ตำแหน่งนอกเหนือจากที่ กค. ได้เทียบไว้แล้ว ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ โดยคำนึงถึง ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน คุณวุฒิ การศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และภารกิจที่ได้รับมอบหมาย 4. หากต้องการเบิกสูงกว่าระดับที่ กค. ได้เทียบไว้ ให้ขอตกลงกับ กค.
26
การเทียบตำแหน่งเพื่อเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ยกเลิกหนังสือเทียบตำแหน่งเดิม และกำหนดขึ้นใหม่เป็น 2 ฉบับ 1. เทียบตำแหน่งสำหรับ - ข้าราชการการเมืองและข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง - พนักงานรัฐวิสาหกิจ - คณะสื่อมวลชน - ลูกจ้าง - พนักงานราชการ เวียนให้ส่วนราชการทราบแล้ว ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค /ว ลงวันที่ 22 กันยายน 2551
27
- ข้าราชการส่วนท้องถิ่น - ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของท้องถิ่น
2. เทียบตำแหน่งสำหรับ - ข้าราชการส่วนท้องถิ่น - ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของท้องถิ่น เวียนให้ส่วนราชการทราบแล้ว ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค /ว 105 ลงวันที่ 22 กันยายน 2551
28
ลูกจ้าง ลูกจ้างทุกประเภท จ้างจากเงินงบประมาณ
ยกเว้น ชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง เทียบตำแหน่ง ลูกจ้างทุกประเภท ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
29
พนักงานราชการ วิชาการ : เชี่ยวชาญ
☺ กลุ่มงานบริการ / เทคนิค ☺ กลุ่มงานบริหารทั่วไป/วิชาชีพเฉพาะ เริ่มรับราชการ – 9 ปี 10 – 17 ปี 17 ปี ขึ้นไป ☺ กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ เริ่มรับราชการ – 4 ปี 5 – 10 ปี 10 ปี ขึ้นไป ☺ กลุ่มงานเชี่ยวชาญพิเศษ ทั่วไป : ปฏิบัติงาน วิชาการ : ปฏิบัติการ : ชำนาญการ : ชำนาญการพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ ยกเว้น ผู้ได้รับค่าตอบแทนอัตราสูงสุด (กลุ่มวิชาชีพ/เชี่ยวชาญเฉพาะ) วิชาการ : เชี่ยวชาญ
30
การเดินทางไปราชการประจำ
1. ประจำต่างสำนักงาน / รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการเพื่อดำรงตำแหน่งใหม่ ณ สำนักงานใหม่ 2. ประจำสำนักงานเดิมในท้องที่ใหม่ (ย้ายสำนักงาน) 3. ไปปฏิบัติงานมีกำหนดเวลา 1 ปีขึ้นไป 4. เวลาที่ครบ 1 ปีขึ้นไป (กรณีเดินทางชั่วคราวแล้ว ต้องอยู่ต่อ)
31
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจำ
1 เบี้ยเลี้ยงเดินทาง 2 ค่าเช่าที่พัก 3 ค่าพาหนะ 4 ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย 5 ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว
32
การเดินทางไปราชการประจำ
สิทธิในการเบิก ตนเอง บุคคลในครอบครัว คู่สมรส บุตร บิดามารดา (ของตนเอง + คู่สมรส) ผู้ติดตาม ระดับ 6 ลงมาไม่เกิน 1 คน ทั่วไป-ชำนาญงานลงมา วิชาการ-ปฏิบัติการ ระดับ 7 ขึ้นไปไม่เกิน 2 คน ทั่วไป:อาวุโสขึ้นไป วิชาการ:ชำนาญการขึ้นไป อำนวยการ บริหาร *ไปประจำต่างสังกัด เบิกจากสังกัดใหม่*
33
ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่
เบิกได้ไม่เกิน 7 วัน (เกิน ตกลงปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดเดิม) กรณีไม่อาจเข้าบ้านพัก/บ้านเช่า ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา กรณีโอนย้ายต่างสังกัด สังกัดเดิมอนุมัติ สังกัดใหม่รับรองข้อเท็จจริง ไม่ใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน
34
ยกเว้น ผู้ติดตาม เบิกอัตราเดียวกับผู้เดินทาง
*ค่าเช่าที่พัก + ค่าพาหนะ ของบุคคลในครอบครัว ยกเว้น ผู้ติดตาม เบิกอัตราเดียวกับผู้เดินทาง *ผู้ติดตาม เบิกต่ำสุด *กรณีบุคคลในครอบครัวไม่เดินทาง พร้อมผู้เดินทาง ขออนุญาตผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง อนุญาตให้เลื่อนการเดินทางได้แต่ต้องไม่เกิน 1 ปี
35
เดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม
36
ค่าใช้จ่ายเดินทาง กลับภูมิลำเนา 1 ค่าเช่าที่พัก 2 ค่าพาหนะ
ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว
37
สิทธิในการเบิก ออกจากราชการ, เลิกจ้าง ตาย
ถูกสั่งพักราชการ โดยไม่รอผลสอบสวน ใช้สิทธิเบิกไปท้องที่อื่น เดินทางและขนย้ายภายใน 180 วัน นับแต่ออก เลิกจ้าง ตาย (ถ้าเกินตกลง กค.)
38
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ
ผู้เดินทาง ถึงแก่ความตายระหว่างเดินทางไปราชการ มิได้ เกิดจากการประทุษร้ายด้วยเหตุส่วนตัว การประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง กรณีส่งศพกลับ ให้เบิกค่าพาหนะและค่าใช้จ่ายอื่น ได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินเส้นทาง ท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย ท้องที่รับราชการ
39
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับศพ (ต่อ)
ค่าพาหนะเดินทางไปปลงศพ ไป-กลับ (ไม่ส่งศพกลับ) - เบิกได้สำหรับคู่สมรส บุตร บิดา มารดาของผู้ตาย ไม่เกินสามคน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามสิทธิของผู้ตาย เว้นแต่ ผู้เดินทางเป็นผู้มีสิทธิ เบิกค่าใช้จ่ายเดินทาง สูงกว่าสิทธิของผู้ตาย ให้เบิกตามสิทธิของผู้นั้น ไม่เกินเส้นทาง ท้องที่ที่รับราชการ ท้องที่ที่ถึงแก่ความตาย - กรณีเบิกให้ผู้จัดการศพ เบิกได้ เพียงคนเดียว
40
การเบิกค่าใช้จ่ายเดินทาง กรณีข้าราชการเสียชีวิตก่อนกลับมาเขียนรายงานเดินทาง
แยกเป็น 2 กรณี 1.กรณียืมเงินจากทางราชการ เดินทางแบบหมู่คณะ เดินทางคนเดียว 2.กรณีไม่ได้ยืมเงินจากทางราชการ (กค /ว64 ลว.12 กค.2553)
41
กรณียืมเงินจากทางราชการ
แยกเป็น 2 กรณีย่อย 1. เดินทางแบบหมู่คณะและผู้เดินทางเสียชีวิต 1.1 หัวหน้าคณะจัดทำรายงานและลงลายมือชื่อยื่นแบบ พร้อมทั้งลงลายมือชื่อรับเงินแทน (หักล้างเงินยืม) 1.2 ถ้าผู้เดินทางเป็นหัวหน้าคณะเสียเอง ให้ผู้ร่วมเดินทางคนใดคนหนึ่งจัดทำรายงานและลงลายมือชื่อยื่นแบบ พร้อมทั้งลงลายมือชื่อรับเงินแทน (หักล้างเงินยืม)
42
กรณียืมเงินจากทางราชการ
2. เดินทางคนเดียวและเสียชีวิต ผู้บังคับบัญชา ทั่วไป – อาวุโส ขึ้นไป วิขาการ – ชำนาญการ ขึ้นไป อำนวยการ – ต้น ขึ้นไป บริหาร – ต้น ขึ้นไป จัดทำรายงาน/เอกสารประกอบ และลงลายมือชื่อยื่นแบบ พร้อมทั้งลงลายมือชื่อรับเงินแทน (หักล้างเงินยืม)
43
กรณีไม่ได้ยืมเงินจากทางราชการ
แยกเป็น 2 กรณีย่อย 1. เดินทางแบบหมู่คณะและผู้เดินทางเสียชีวิต 1.1 หัวหน้าคณะจัดทำรายงานและลงลายมือชื่อยื่นแบบ และให้ทายาทแห่งกองมรดกเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับเงิน 1.2 ถ้าผู้เดินทางเป็นหัวหน้าคณะเสียเอง ให้ผู้ร่วมเดินทางคนใดคนหนึ่งจัดทำรายงานและลงลายมือชื่อยื่นแบบ และให้ทายาทแห่งกองมรดกเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับเงิน
44
กรณีไม่ได้ยืมเงินจากทางราชการ
2. เดินทางคนเดียวและเสียชีวิต ทายาทแห่งกองมรดก – มีหลักฐานการจ่าย และแสดงเจตนาขอรับเงิน ต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด ผู้บังคับบัญชา ทั่วไป – อาวุโส ขึ้นไป อำนวยการ – ต้น ขึ้นไป วิขาการ – ชำนาญการ ขึ้นไป บริหาร – ต้น ขึ้นไป จัดทำรายงานและลงลายมือชื่อยื่นแบบ พร้อมเอกสาร หลักฐานการจ่าย ที่ทายาทนำมายื่น /สอบถามข้อเท็จจริง และให้ทายาทแห่งกองมรดกเป็น ผู้ลงลายมือชื่อรับเงิน
45
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ไปราชการต่างประเทศ
46
ลักษณะการเดินทาง 1. ไปราชการชั่วคราว 2. ไปราชการประจำ 3. กลับภูมิลำเนา
47
การเดินทางไปราชการ ต่างประเทศชั่วคราว
ข้าราชการประจำในไทยเดินทางไปต่างประเทศ เพื่อประชุม เจรจาธุรกิจ ดูงาน ตรวจสอบบัญชี ปฏิบัติหน้าที่อื่น ตามความจำเป็น ประจำต่างประเทศ ไป ณ ที่ใดๆ ในต่างประเทศ หรือมายังไทยเฉพาะเวลาที่เดินทางอยู่นอกราชอาณาจักร ประจำต่างประเทศไปช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่ง รักษาราชการแทน ต่าง ส.น.ง. ในต่างประเทศ เฉพาะเวลา จากที่พักเดิมถึงที่พัก ส.น.ง. แห่งใหม่
48
ขออนุมัติเดินทาง ก่อน (ชม.) ทวีป-ประเทศ หลัง (ชม.) ออสเตรเลีย
ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ 48 48 ทวีปยุโรป แอฟริกา อเมริกาเหนือ 72 ทวีปอเมริกาใต้ 72
49
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง / ค่าอาหาร 2. ค่าเช่าที่พัก 3. ค่าพาหนะ 4. ค่ารับรอง 5. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นเนื่องในการเดินทางไปราชการ 6. ค่าเครื่องแต่งตัว
50
เบี้ยเลี้ยงเดินทาง (เหมาจ่าย)
* ซี 8 ลงมา เหมาจ่ายไม่เกิน 2,100 บาท/วัน/คน * ซี 9 ขึ้นไป เหมาจ่ายไม่เกิน 3,100 บาทวัน/คน
51
การนับเวลาคำนวณเบี้ยเลี้ยง
ข้าราชการประจำต่างประเทศ ตั้งแต่ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือ ที่ทำงานปกติ มาราชการชั่วคราวในไทย ไม่รวมช่วงเวลาที่อยู่ในไทย ข้าราชการประจำในไทย ตั้งแต่ประทับตราหนังสือเดินทางออกจนถึงประทับตราฯ เข้าไทย พักแรมนับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน/ไม่พักแรม (เพิ่ม) เศษเกิน 6 ชม. = ครึ่งวัน
52
การนับเวลาคำนวณเบี้ยเลี้ยง (ต่อ)
กรณีเดินทางล่วงหน้าก่อนปฏิบัติราชการ เนื่องจาก ลากิจ / ลาพักผ่อน ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ ยกเว้น มีเหตุจำเป็นต้องพักแรมในท้องที่ที่ปฏิบัติราชการ ก่อนวันเริ่มปฏิบัติ ให้นับเวลาตั้งแต่เวลาเข้าที่พักในท้องที่ ที่ปฏิบัติราชการถึงเวลาเริ่มปฏิบัติราชการ ไม่เกิน 24 ชั่วโมง กรณียังไม่ได้เดินทางกลับหลังเสร็จสิ้นปฏิบัติราชการ เนื่องจากลากิจ / ลาพักผ่อน ให้นับถึงเวลาสิ้นสุดปฏิบัติราชการ
53
กรณีไม่เบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจ่าย มีสิทธิเบิก
1. ค่าอาหาร – เครื่องดื่ม 2. ภาษีบริการที่โรงแรม เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 4,500 บาท/วัน/คน ร้านค้าเรียกเก็บ 3. ค่าทำความสะอาดเสื้อผ้า (เกิน 7 วัน) เท่าที่จ่ายไม่เกิน 500 บาท/วัน 1, 2 และ 3 คำนวณเบิกจ่ายแต่ละวัน เศษที่เหลือนำมาสมทบเบิกจ่ายวันต่อไปไม่ได้ 4. ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด เหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท/วัน/คน
54
ค่าเช่าที่พัก หลักเกณฑ์ ข้อห้าม จำเป็นต้องพักแรม จ่ายจริง
ซี 8 ลงมา พัก 2 คนต่อห้อง ข้อห้าม พักในยานพาหนะ ทางราชการจัดที่พักให้ พักบ้านตนเอง / คู่สมรส / ญาติพี่น้อง
55
เหตุไม่เหมาะสมจะพักร่วมกัน
1. ต่างเพศ มิได้เป็นคู่สมรส 2. หัวหน้าคณะระดับ 8 3. หัวหน้า สนง. หรือหน่วยงาน ระดับ 7-8 ไม่ต้องพักรวม กับระดับอื่น 4. มีสิทธิการเบิกต่างอัตรากัน 5. ข้อกำหนดพิเศษของทหาร / ตำรวจ
56
เหตุจำเป็น 1. เป็นโรคติดต่ออันตราย ต่อผู้พักรวมด้วย 2. สมัครใจแยกพัก
เพียงฝ่ายเดียว
57
อัตราค่าเช่าโรงแรม บาท : วัน ระดับ ประเภท ก ประเภท ข ประเภท ค เดี่ยว
คู่ 8 ลงมา 9 ขึ้นไป 7,500 10,000 5,250 5,000 7,000 3,500 3,100 4,500 2,170
58
กรณีเบิกค่าเช่าที่พักจ่ายจริง
1. การตามเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์ หรือไปปฏิบัติภารกิจร่วมกับหัวหน้าคณะ ที่ดำรงตำแหน่งตามบัญชีหมายเลข 5 2. เดินทางไปปฏิบัติภารกิจร่วมกับหัวหน้าคณะผู้ดำรงตำแหน่งระดับ 9 ขึ้นไปหรือเทียบเท่า ทั้งนี้ ไม่เกินสิทธิของหัวหน้าคณะนั้น 3. เดินทางไปประชุมระหว่างประเทศ เจรจาธุรกิจ หรือปฏิบัติหน้าที่อื่น ซึ่งหน่วยงานหรือประเทศที่เชิญ กำหนดให้พักแรมในที่ที่จัดเตรียมไว้ไห้ ซึ่งมิใช่กรณีที่ส่วนราชการหรือผู้เดินทางร้องขอให้หน่วยงานหรือประเทศ ที่เชิญกำหนดที่พักหรือเตรียมที่พักตามความต้องการของส่วนราชการหรือ ผู้เดินทาง 4. เดินทางไปประเทศที่สถานการณ์ไม่ปลอดภัย ยากจน ทุรกันดาร หรือ อยู่ในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวหรือสถานที่พักแรมที่มีอัตราค่าเช่าตามสิทธิ ถูกสำรองหมด
59
กรณีลากิจ / ลาพักผ่อน ก่อนเริ่มปฏิบัติราชการและจำต้องพักแรม ในท้องที่ปฏิบัติราชการก่อน วันเริ่มปฏิบัติราชการ ให้เบิกค่าเช่าที่พัก ก่อนได้ไม่เกิน 1 วัน
60
ค่าพาหนะ นิยามพาหนะประจำทาง ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ
ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทาง นิยามพาหนะประจำทาง บริการทั่วไปประจำ เส้นทางแน่นอน ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน
61
ค่าพาหนะภายในต่างประเทศ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง
กรณีต้องเดินทางล่วงหน้าหรือไม่สามารถกลับท้องที่ตั้งสำนักงานปกติ เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ เพราะลากิจ / ลาพักผ่อน ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริงตามเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการ กรณีเดินทางนอกเส้นทางในระหว่างการลา ให้เบิกค่าพาหนะไม่เกินเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการ
62
เครื่องบิน ชั้นหนึ่ง สำหรับ หัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล
ประธานศาลฎีกา และรอง ประธานรัฐสภา และรอง ประธานวุฒิสภา และรอง ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรอง/รัฐมนตรี ระดับ 10 ขึ้นไป ชั้นธุรกิจ สำหรับระดับ 9 ชั้นประหยัด สำหรับระดับ 8 ลงมา
63
ค่าเครื่องแต่งตัว ผู้มีสิทธิ ผู้ได้รับอนุมัติให้เดินทาง หลักเกณฑ์
คู่สมรสได้รับอนุญาตให้ติดตาม หลักเกณฑ์ เดินทางจากไทยไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ไม่ใช่ประเทศต้องห้ามตามระเบียบ จำเป็นต้องแต่งเครื่องแต่งตัวพิเศษ (ขอหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ)
64
อัตรา เหมาจ่าย เคยได้รับแล้ว จะได้รับอีกเมื่อ
เดินทางครั้งใหม่ ห่างจากครั้งสุดท้าย เกิน 2 ปี นับแต่วันที่เดินทางออกจากไทย ห่างจากไปประจำต่างประเทศครั้งสุดท้าย เกิน 2 ปี นับแต่วันที่เดินทางกลับถึงไทย อัตรา เหมาจ่าย ระดับ 5 ลงมา คนละ 7,500 บาท ระดับ 6 ขึ้นไป คนละ 9,000 บาท
65
ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง
66
ค่ารับรอง เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง (1) ประธานองคมนตรี / องคมนตรี
นายกรัฐมนตรี / รองนายกฯ / รัฐมนตรี ประธาน / รองประธาน สภานิติบัญญัติ ประธาน / รองประธาน ศาลฏีกา ประธานศาลอุทธรณ์
67
ค่ารับรอง (ต่อ) (2) ผู้เดินทางนอกจาก (1) ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงทั้งในกรณีเดินทางเป็นคณะหรือคนเดียว ไม่เกินอัตรา ดังนี้ กรณีเดินทางไม่เกิน 15 วัน ไม่เกิน 67,000 บาท กรณีเดินทางเกิน วัน ไม่เกิน 100,000 บาท
68
ค่ารับรอง (ต่อ) (3) การเดินทางที่จะเบิกค่ารับรองตาม (2) ต้องเป็นกรณี ดังนี้ ไปเข้าร่วมประชุมระหว่างประเทศในฐานะผู้แทนรัฐบาล ผู้แทนรัฐสภา หรือผู้แทนส่วนราชการ แต่ไม่รวมถึง การประชุมหรือการสัมมนาทางวิชาการ ไปเจรจาธุรกิจ เจรจากู้เงินหรือขอความช่วยเหลือ จากต่างประเทศในฐานผู้แทนรัฐบาลไทย ไปปรึกษาหารือหรือเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานของรัฐบาลไทยกับหน่วยงานต่างประเทศ
69
ค่ารับรอง (ต่อ) ไปเยือนต่างประเทศในฐานะทูตสันถวไมตรีหรือในฐานะ
แขกของรัฐบาลต่างประเทศ ไปเยือนร่วมในงานรัฐพิธีตามคำเชิญของรัฐบาลต่างประเทศ ไปจัดงานแสดงสินค้าไทย หรือส่งเสริมสินค้าไทย ในต่างประเทศหรือส่งเสริมการลงทุนของต่างประเทศ ในประเทศไทย หรือส่งเสริมการลงทุนของไทย ในต่างประเทศ ไปเผยแพร่ศิลปะหรือวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ
70
ค่าใช้จ่ายสมทบกรณีได้รับความช่วยเหลือ
ค่าเครื่องบิน ได้รับไป – กลับ : งดเบิก เที่ยวเดียว : เบิกอีกหนึ่งเที่ยวชั้นเดียวกัน แต่ไม่สูงกว่าสิทธิ ค่าที่พัก จัดให้ : งดเบิก ต่ำกว่าสิทธิ : เบิกเพิ่มส่วนที่ขาด / ไม่เกินสิทธิ
71
ค่าใช้จ่ายสมทบกรณีได้รับความช่วยเหลือ (ต่อ)
ค่าเบี้ยเลี้ยง ได้รับต่ำกว่าสิทธิ : เบิกสมทบได้ไม่เกินสิทธิ จัดเลี้ยงอาหารให้ทุกมื้อ : งดเบิก จัดเลี้ยงอาหาร 2 มื้อ : เบิก 1 ใน 3 จัดเลี้ยงอาหาร 1 มื้อ : เบิก 2 ใน 3
72
ค่าใช้จ่ายสมทบกรณีได้รับความช่วยเหลือ (ต่อ)
ค่าเครื่องแต่งตัว / ค่าพาหนะ / ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น สมทบแล้วไม่เกินสิทธิ ค่ารับรอง กรณีดูงาน เบิกตามที่กล่าวข้างต้นได้ แต่ไม่เกินวงเงินที่ได้รับความช่วยเหลือ
73
อัตราแลกเปลี่ยน แลกกับธนาคาร ให้ถืออัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่แลก ทั้งก่อนไปและกลับ โดยแนบหลักฐานการแลกเปลี่ยนกับธนาคาร แลกที่อื่น ให้ถืออัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันทำการ 1 วัน ก่อนวันออกเดินทาง / 1 วันทำการ หลังวันที่เดินทางกลับ กรณีใช้บัตรเครดิต ให้ถืออัตราตามใบแจ้งยอดการใช้บัตร โดยแนบหลักฐานใบแจ้งยอดการใช้บัตร
74
สวัสดีค่ะ สำนักงานคลังจังหวัดอุบลราชธานี 045 –
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.