งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน น.พ.บัณฑิต ศรไพศาล นำเสนอการประชุมวิชาการประจำปี 2551 ของสมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย วันที่ 22 สิงหาคม 2551

2 กรอบการนำเสนอ ปัญหาสุขภาพจิต กับ การใช้สุรา แนวโน้ม การป้องกัน
ระดับผู้ป่วย ระดับครอบครัวและผู้ที่ได้รับผลกระทบ แนวโน้ม การป้องกัน

3 MODEL OF DUAL DIAGNOSIS
Mental Health Problems Psychotic disorders Schizophrenia Bipolar disorder Depression with psychosis Non Psychotic Disorders Anxiety disorder Affective disorder Personality disorder Alcohol Problems Dependence Abuse “At Risk” Use 6 4 5 3 1 2 4 6 Jennn, Kavannagh, Greenaway, et al (1998)

4 HOW FREQUENT OF THE OVERLAP BETWEEN MENTAL ILL HEALTH AND PROBLEM DRINKING?
37 % of those with Alcohol Use Disorders (AUD) have psychiatric disorders 37 % 63 % Reiger, et al. (1990)

5 CO-MORBIDITY OF MENTAL DISORDER WITH ALCOHOL AND OTHER DRUG ABUSE: ECA STUDY
Alcohol use disorders Another mental disorders 37% Anxiety disorders 19% Antisocial PD 14% Mood disorders 13% Schizophrenia 4% 74% 34% Mood disorder 22% Anxiety disorder 18% Reiger, et al. (1990)

6 สถานการณ์ผลกระทบ

7 ความสัมพันธ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลต่อผู้บริโภคโดยตรงและผลกระทบที่เกิดขึ้น
ลักษณะการดื่ม พิษจากแอลกอฮอล์ การเมาสุรา โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ / บาดเจ็บ ปัญหาสังคม ระยะสั้น ระยะยาว ปริมาณการดื่ม การติดสุรา Babor T, Caetano R, Casswell S, et al. 2003

8 ผลกระทบด้านอุบัติเหตุ

9 สถิติการบาดเจ็บ / เสียชีวิต / อัตราการบาดเจ็บ-ตาย
จากอุบัติเหตุจราจรทางบก ช่วงปี จำนวนการบาดเจ็บ / เสียชีวิต (ราย) ที่มา : สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

10 สถิติคดีอุบัติเหตุจราจรทางบกที่เกิดจากการเมาสุรา
ที่มา : ศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

11

12 ผลกระทบด้านสุขภาพ

13 อัตราตายจากโรคตับและตับแข็งเรื้อรัง (อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน) ของประเทศไทย พ.ศ พ.ศ.2546 ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

14 ร้อยละผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามปัจจัยเสี่ยง ประเทศไทย พ. ศ
ร้อยละผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามปัจจัยเสี่ยง ประเทศไทย พ.ศ – 30 กันยายน 2549 ที่มา : ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

15 ผลกระทบด้านความรุนแรงในครอบครัว

16 ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์
ร้อยละของแม่บ้านถูกกระทำรุนแรง * ผลวิจัยเอแบคโพลล์ : ผลสำรวจความรุนแรงในครอบครัว ก.ค.ปี 2547

17 ผลกระทบด้านเด็กและเยาวชน

18 Association of current drinking with health-risk behaviours among high school students in Southern Thailand ACSAN

19 กระทำความผิดระหว่างดื่ม
ความสัมพันธ์ระหว่างฐานความผิดในเด็กและเยาวชน และการกระทำความผิดระหว่างที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ฐานความผิด รวม กระทำความผิดระหว่างดื่ม จำนวน ร้อยละ ชีวิตและร่างกาย 320 100 % 179 55.9 % เพศ 199 92 46.2 % อาวุธ วัตถุระเบิด 99 41 41.4 % ทรัพย์ 499 176 35.3 % ความสงบสุข 24 7 31.3 % ยาเสพติดให้โทษ 359 40 29.2 % อื่นๆ 16 5 11.1 % 1,288 448 34.8 % ที่มา : ผลการวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การกระทำผิดของเด็กและเยาวชนจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

20 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ

21 ตารางแสดงรายได้ รายจ่ายเพื่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และสัดส่วนการใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเพื่อการดื่มฯ จำแนกตามกลุ่มรายได้ รายได้ (บาท/เดือน) รายจ่ายเพื่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์* สัดส่วนการใชจ่ายเกินตัวเพื่อการดื่มฯ* (สัดส่วนรายจ่ายฯ/รายได้) (ร้อยละ) จำนวนเท่า เมื่อเทียบกับกลุ่มรายได้ 20,001 ขึ้นไป (เท่า) 0 – 2,000 100 10.0 11.1 2,001 – 5,000 200 4.9 5.4 5,001 – 10,000 300 3.8 4.2 10,001 – 20,000 400 2.5 2.8 20,001 ขึ้นไป 415 0.9 1.0 รวม 4.3

22 ภาพรวมผลกระทบ

23 ร้อยละของภาระโรคที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่ศึกษา
Unsafe Sex Tobacco ปัจจัยเสี่ยง ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2547

24 การศึกษาต้นทุนทางเศรษฐกิจ ของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย ปี 2549
779.4 ล. 247.6 ล. 5,263.3 ล. (65.7%) 45,464.6 ล. (30.2%) 98,922.5 ล. (3.5%) (0.5%) (0.2%) - รวม 150,677.4 ล้านบาท คิดเป็น 1.92 % GDP ที่มา: มณรัตน์ และ คณะ HITAP (2551)

25 - คิดเป็น 2 เท่าของ รายได้ภาษีสรรพสามิตในแต่ละปี

26 แนวโน้ม

27 ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อคนต่อปี (ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์) ช่วงปีพ.ศ – 2547(1961 – 2004 ) 0.26 ลอบ./คน/ปี ลอบ./คน/ปี ปี ปี 2547 33 เท่า ใน 43 ปี

28 Thailand World Rank and Amount of Consumption
Year Total Beer Wine Spirit Rank Lpa/ cap. 2001 40 8.47 85 1.31 124 0.04 5 7.13 2000 43 8.40 92 1.25 132 0.03 6 7.12 1999 44 8.31 102 1.13 138 7.16 1998 50 7.71 1.09 146 0.01 9 6.61

29 แนวโน้มโครงสร้างส่วนแบ่งตลาดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ข้อมูลจากการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ระหว่างปี ที่มา: กรมสรรพสามิต เรียบเรียงโดย: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา

30 แม้คนไทย มีอัตราคนดื่มเท่าเดิม แต่มีแนวโน้ม ดื่มประจำ-ดื่มถี่มากขึ้น
แนวโน้มการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระหว่างปี แม้คนไทย มีอัตราคนดื่มเท่าเดิม แต่มีแนวโน้ม ดื่มประจำ-ดื่มถี่มากขึ้น ปี 2539 ปี 2544 ปี 2547 ปี 2549 ความต่าง 10 ปี ไม่ดื่ม 68.5 % 67.4 % 67.3 % 0 % ดื่ม 31.5 % 32.6 % 32.7 % ดื่มนานๆครั้ง 14.6 % 16.2 % 14.9 % 13.1 % -10 % ดื่มประจำ 16.8 % 16.4 % 17.8 % 18.5 % +10 % - ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน 6.2% 5.8 % 6.4 % 7.7 % +24 % - ดื่ม 1-2ครั้ง/สัปดาห์ 5.5 % 5.6 % 6.1 % 6.6 % +20 % - ดื่ม 1-2 ครั้ง/เดือน 5.2 % 5.0 % 5.3 % 4.2 % -19 % ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ

31 แนวโน้มการดื่มฯประจำ ระหว่างปี 2539 – 2549 จำแนกตามเพศ
แนวโน้มการดื่มฯประจำ ระหว่างปี 2539 – จำแนกตามเพศ เพศ พ.ศ.2539 พ.ศ.2549 เปลี่ยนแปลง ชาย 28.3 % 31.5 % + 11 % หญิง 2.3 % 3.0 % + 30 % กลุ่มผู้หญิงมีอัตราการดื่มประจำเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มผู้ชาย

32 แนวโน้มการดื่มฯประจำ ระหว่างปี 2539 – 2549 จำแนกตามกลุ่มอายุ
กลุ่มเยาวชนมีอัตราการดื่มประจำเพิ่มมากที่สุด อายุ พ.ศ.2539 พ.ศ.2549 เปลี่ยนแปลง 11 – 14 ปี 0.0 % 0.3 % N.A. ( ) 15 – 19 ปี 4.7 % 6.8 % + 45 % 20 – 24 ปี 15.0 % 19.3% + 29 % 25 – 29 ปี 20.1 % 21.3 % + 6 % 30 – 34 ปี 22.1 % 23.3 % + 5 % 35 – 39 ปี 22.0 % 21.8 % - 1 % 40 – 44 ปี 20.9 % 24.5 % + 17 % 45 – 49 ปี 21.6 % + 3 % 50 – 54 ปี 18.6 % 20.8 % + 12 % 55 – 59 ปี 16.8 % - 10 % 60+ ปี 11.6 % 10.5 % - 9 % 15 – 19 ปี 4.7 % 6.8 % + 45 % 20 – 24 ปี 15.0 % 19.3% + 29 %

33 สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปี 2550
ดื่มใน 7 วัน ชาย 20.7 12.2 6.2 8.5 10.0 รวม ถ้าเริ่มดื่ม จะกลายเป็นคนดื่มถี่ขึ้น ดื่มใน 7 วัน หญิง 25.6 4.7 1.3 2.0 3.2 ดื่มใน 7 วัน สำรวจโดย คณะกรรมการบริหารเครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด

34 การดื่มหนัก : Binge drinking
การดื่มหนัก = การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากในหนึ่งครั้งของการดื่ม (ดื่มปริมาณมาก = ดื่มเบียร์มากกว่า 3 ขวด หรือเหล้ามากกว่าครึ่งแบน หรือไวน์มากกว่าครึ่งขวด) ปริมาณการดื่มเฉลี่ยต่อวันดื่ม (gm / drinking day) อัตราคนดื่มหนักอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี ในกลุ่มคนดื่มใน 1 ปี %

35 เปรียบเทียบร้อยละการดื่มแอลกอฮอล์ ในเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ที่บาดเจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ ปี พ.ศ ร้อยละ อายุ แหล่งข้อมูล : 26 โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค (ศิริวรรณ สันติเจียรกุล) รวบรวมและจัดทำโดย : กลุ่มป้องกันการบาดเจ็บ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

36 จำนวนผู้ป่วยสุราในรายใหม่ที่อายุน้อยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยในรายใหม่ที่อายุน้อยระว่างปี พ.ศ ระดับโรงพยาบาลสวนปรุง กรม สจ.

37 การป้องกัน

38 Prevention Concept 1 2 3 General group Indicated group Selective group
Promotion Prevention 1 2 3 ปกติ เสี่ยง ป่วย พิการ/ ภาวะแทรกซ้อน General group Indicated group Selective group

39 กรอบแนวคิดอุปสงค์ อุปทาน และผลกระทบ ของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
มาตรการทางภาษี และกฎหมาย มาตรการป้องปรามอันตรายจากการดื่ม Product Promotion Place Price เศรษฐ ศาสตร์ สุขภาพ ทะเลาะวิวาท อุบัติเหตุ อุปทาน มาตรการทางสังคมในชุมชน ผลกระทบ สาเหตุ กลไก ปริมาณ / แบบแผน การดื่ม ลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย อุปสงค์ มาตรการ บำบัดรักษา มาตรการรณรงค์และให้การศึกษา

40 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google