ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยเดือนเพ็ญ สมิท ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การประชุม ซักซ้อมความเข้าใจในการจัดทำเอกสารเพื่อใช้ประกอบการชี้แจงงบประมาณด้านการบริหารจัดการน้ำชลประทาน ของกรมชลประทาน
2
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 การบรรยายแนวทางปฏิบัติ 2.1 แนวทางการดำเนินงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 (รองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา) 2.2 การเตรียมความพร้อมเพื่อดำเนินการตาม(ร่าง) พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 (ผู้อำนวยการกองแผนงาน) ระเบียบวาระที่ 3 ตอบข้อซัก/ถาม
3
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
4
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 2 การบรรยายแนวทางปฏิบัติ 2.1 แนวทางการดำเนินงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 (รองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา)
5
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 เมื่อวันที่ 25 ก.ค.57 ณ กองบัญชาการกองทัพบก พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ในฐานะประธานคณะกรรมการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการน้ำ เป็นประธานการประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าแผนงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 โดยกรมชลประทานและส่วนราชการที่รับผิดชอบงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมชี้แจง ซึ่งมีข้อสั่งการ ดังนี้ 1.ให้ทุกหน่วยงานเร่งดำเนินการตามแผนงานโดยเฉพาะการเตรียมแหล่งน้ำ เพื่อใช้ในการเก็บกักน้ำให้มีปริมาณเพียงพอกับความต้องการในปีนี้และปีหน้า 2.ให้ทุกหน่วยงานต้องมีมาตรการกำกับดูแล ให้เนื้องานมีประสิทธิผล ตรงตามงบประมาณ แผนงาน และความต้องการของประชาชน ส่วนลักษณะการทำงาน และการประเมินผลงานให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ 3.ให้ทุกหน่วยงาน ส่งข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วิสัยทัศน์ กรมชลประทาน น้ำสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง 5
6
ความก้าวหน้าแผนงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ที่ โครงการ งบประมาณ (บาท) ยังไม่เริ่มดำเนินการ ระหว่างการจัดซื้อ จัดจ้าง แล้วเสร็จ 1 ซ่อมแซมฟื้นฟูอาคารชลประทานที่ได้รับความเสียหายเนื่องจากอุทกภัย จำนวน 423 แห่ง 816,480,000 แผนได้รับ ความเห็น ขอบเมื่อ 30 มิ.ย.57 โดยเริ่มดำเนินการจัดซื้อ/จัดจ้างเมื่อ 1 ก.ค. 57 (ได้รับเงินงวดเมื่อ 23 ก.ค.57) ประมาณ ม.ค.58 2 แผนงานเพื่อเตรียมรับอุทกภัย ปี 2557 (ค่ากำจัดวัชพืช) จำนวน 400 รายการ 127,269,400 ประมาณ ก.ย.57 3 แผนงานเพื่อเตรียมรับอุทกภัย ปี 2557 (ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษาอาคารชลประทาน) จำนวน 100 รายการ 92,714,000 4 รายการที่กรมชลประทานต้องดำเนินการโดยใช้งบประมาณเหลือจ่าย จำนวน 13 รายการ 99,405,000 ประมาณ ธ.ค.57 5 ค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ (ค่าธรรมเนียมศาล) 10,200,209 6 ถอนคืนเงินรายได้แผ่นดิน จำนวน 9 รายการ 5,807,916 7 งานปรับปรุง Abutment ฝั่งขวาแม่น้ำแควน้อย จังหวัดพิษณุโลก 2,904,915 อยู่ระหว่างการแก้ไขสัญญา 8 งานปรับระดับพื้นดินรอบที่ทำการและบ้านพัก จังหวัดสระบุรี 3,087,342 9 งานก่อสร้างประตูระบายน้ำหัวงานและอาคารประกอบ โครงการประตูระบายน้ำบ้านวังสะตือ จังหวัดสุโขทัย 15,722,822 ประมาณ มี.ค.58 10 ค่าซื้อที่ดิน ค่าทดแทน ค่ารื้อย้ายในการจัดหาที่ดิน ที่มีแผนการใช้จ่ายแล้ว จำนวน 104 รายการ 509,408,167 อยู่ระหว่างตรวจสอบของคณะทำงานเพื่อการจ่ายค่าทดแทนทรัพย์สิน ภายใน ก.ย.57 11 ค่าซื้อที่ดิน ค่าทดแทน ค่ารื้อย้ายในการจัดหาที่ดิน ที่อยู่ระหว่างตรวจสอบแผน 1,258,199,056 รวม 2,941,198,827 วิสัยทัศน์ กรมชลประทาน น้ำสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง 6
7
แผนการตรวจสอบงานระหว่างดำเนินการ
การเลือกพื้นที่เพื่อการตรวจเยี่ยมจำนวน 3 พื้นที่ 2.ซ่อมแซมฟื้นฟูอาคารชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำตะคอง จ.นครราชสีมา จำนวน 15 รายการ วงเงิน 38.5 ล้านบาท 1.ก่อสร้างระบบระบายน้ำและป้องกันอุทกภัยริมคลองรังสิตประยูรศักดิ์ฝั่งใต้ จังหวัดปทุมธานี วงเงิน 39.9 ล้านบาท 3.ซ่อมแซมและบำรุงรักษาอาคารชลประทาน โครงการชลประทานปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี จำนวน 4 รายการ วงเงิน 11.7 ล้านบาท วิสัยทัศน์ กรมชลประทาน น้ำสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง 7
8
การดำเนินงานแผนงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557
1.สำนัก/กอง ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเร่งรัดดำเนินงานให้ดำเนินการแล้วเสร็จตามกรอบระยะเวลาที่ได้วางแผนไว้และถูกต้องตามหลักวิชาการ 2.กำหนดมาตรการกำกับดูแลอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้ดำเนินงานมีประสิทธิผล ตรงตามแผนงาน/งบประมาณ และบรรลุวัตถุประสงค์ของงานนั้นๆ ส่วนลักษณะการทำงาน และการประเมินผลงานให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน 3.จัดเตรียมข้อมูลให้ตรงตามข้อเท็จจริงในพื้นที่ในทุกรายการเพื่อให้ดำเนินการรายงานผล ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงานได้ทันที หากได้รับการสุ่มตรวจจาก คณะทำงานฯที่ได้รับมอบหมายจาก คสช.(รูปแบบรายงานดังตัวอย่างของกองทัพบก) 4.คสช./ครม. จะติดตามการดำเนินงานของทุกหน่วยราชการอย่างใกล้ชิด โดยเน้นนโยบายด้านการป้องกันการทุจริต คอร์รัปชั่น มีการตรวจสอบโดยหน่วยงานภายในพื้นที่ ที่อาจจะไม่มีการแจ้งล่วงหน้าและรายงานต่อ คสช. โดยตรง
9
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน รายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด
10
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน รูปแบบการจัดทำข้อมูล กองทัพบก กรมชลประทาน 1.การชี้แจงกำลังพลก่อนปฏิบัติงาน 1.การชี้แจงแบ่งงาน/ผู้รับผิดชอบก่อนปฏิบัติงาน 2.การทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ 2.ตรวจสอบสภาพพื้นที่/ทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ 3.การปฏิบัติงาน(การบันทึกภาพ) 4.พื้นที่ทิ้งดิน 4.พื้นที่ทิ้งดิน (กรณีต้องมีที่ทิ้งดิน) 5.การตรวจสอบระหว่างการดำเนินงาน 5.การตรวจสอบคุณภาพงานระหว่างการดำเนินงาน 6.การตรวจเยี่ยมโดยผู้บังคับบัญชาชั้นสูง 6.การตรวจเยี่ยมโดยผู้บังคับบัญชาระดับบริหาร เช่น ผอ.คป/ผส.ชป/ผชช./ รองอธิบดีฯ/อธิบดี 7.การปฏิบัติงานกิจการพลเรือน 7.การประชุมกลุ่มผู้ใช้น้ำ/ผู้ใช้ประโยชน์ 8.การส่งมอบพื้นที่ 8.การตรวจรับและส่งมอบงาน 9.การติดตามผลปฏิบัติงาน 9.การรายงานผลการปฏิบัติงาน
11
การรายงานผลการดำเนินงานและติดตามผลงาน ระบบติดตามแผนงานแบบ Online
12
ตัวอย่างการรายงานผลการดำเนินงาน งานกำจัดวัชพืช
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพระพิมล วันที่ 30 กรกฎาคม 2557 งานกำจัดวัชพืชคลองทวีวัฒนา ยาว กิโลเมตร ปริมาณวัชพืช 16,125 ตัน ดำเนินการโดย ฝ่ายขุดเรือและเรือกำจัดวัชพืชที่ 02 ศูนย์ปฏิบัติการเครื่องจักรกลที่ 2 เริ่มดำเนินการ 9 มิถุนายน 2557 ถึง 30 กรกฎาคม ผลงาน 65% ผู้ถือหนังสือพิมพ์ นายวีระพงศ์ หะวานนท์ เจ้าหน้าที่พนักงานการเกตษรชำนาญงาน ก่อนดำเนินการ หลังดำเนินการ
13
การติดตามผลการปฏิบัติงานของ คสช.
รายละเอียดจังหวัดในพื้นที่ ทภ.3 รายละเอียดจังหวัดในพื้นที่ ทภ.2 รายละเอียดจังหวัดในพื้นที่ ทภ.1 รายละเอียดจังหวัดในพื้นที่ ทภ.4
14
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 2 การบรรยายแนวทางปฏิบัติ 2.2 การเตรียมความพร้อมเพื่อดำเนินการตาม(ร่าง) พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 (ผู้อำนวยการกองแผนงาน)
15
ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 พิจารณา ขั้นกรรมาธิการฯ
6 ส.ค.57 พิจารณา วาระที่ 1 สนช. 6 ส.ค.-5ก.ย.57 พิจารณา ขั้นกรรมาธิการฯ 9 ก.ย.57 พิจารณา วาระที่ 2-3 สนช.
16
สรุปกรอบเสนอคำขอตั้งงบประมาณปี 2558 (จำแนกตามผลผลิต/กิจกรรม)
กรอบวงเงิน (ล้านบาท : ทศนิยม 4 ตำแหน่ง) สัดส่วน 1.การจัดการน้ำชลประทาน 17, 40.07% 2.การจัดหาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 13, 30.86% 3.การสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1, 2.60% 4.การป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ 6, 14.11% 5.โครงการขนาดใหญ่ 5, 12.36% รวม 43, 100.00% 04/04/62
17
การเตรียมความพร้อมเพื่อดำเนินการ
ตาม(ร่าง) พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 1.ทุกรายการที่ได้รับการบรรจุใน (ร่าง) พรบ.งบประมาณ รายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 ถือว่าเป็นรายการที่มีความ พร้อมในทุกๆด้าน มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการน้ำ ของประเทศ 2.สำนัก/กอง เร่งรัดดำเนินการในรายการตาม(ร่าง) พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 ให้ถูกต้องตาม ระเบียบ มีความพร้อมสามารถเริ่มดำเนินงานได้ทันทีที่ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 3.ปรับปรุงข้อมูลให้ตรงตามรายการใน(ร่าง) พรบ. ให้ ถูกต้องตามหลักวิชาการ สอดคล้องกับข้อเท็จจริงใน พื้นที่ พร้อมทั้งจัดทำรายละเอียด จัดส่งให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อใช้ประกอบการชี้แจงต่อ ครม./คสช.และ สนช.ในวาระต่างๆ และเตรียมพร้อมเพื่อเข้าร่วมชี้แจง หากได้รับการร้องขอ
18
การเตรียมความพร้อมเพื่อดำเนินการ
ตาม(ร่าง) พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 4.ลงตรวจสอบพื้นที่จริง ในทุกรายการที่จะดำเนินงาน โดยหากมีพบประเด็นปัญหา ให้รีบรายงาน หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องรับทราบและเร่งรัดแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยหาก รายการใดพบปัญหาภายหลังการจัดสรรงบประมาณอัน เป็นเหตุให้ไม่สามารถดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ รายการนั้นๆ โดยไม่มีเหตุอันควร จะถือเป็นความรับผิด ของผู้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 5.พิจารณาปรับลดเนื้องานที่เกินความจำเป็น โดย คสช. มอบนโยบายมุ่งเน้นการใช้งบประมาณอย่างประหยัด ให้ เกิดความคุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย 6.ผู้บริหารของแต่ละสำนัก/กอง กำหนดมาตรการกำกับดูแล อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้ดำเนินงานมีประสิทธิผล ตรงตาม แผนงาน/งบประมาณ และตรงตามความต้องการของ ประชาชน ส่วนลักษณะการทำงาน และการประเมินผล งานให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบ ได้
19
การเตรียมความพร้อมเพื่อดำเนินการ
ตาม(ร่าง) พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558 7.พร้อมรับการตรวจสอบในระหว่างดำเนินงานและติดตาม การปฏิบัติงานได้ทันที หากได้รับการสุ่มตรวจจาก คณะทำงานฯที่ได้รับมอบหมายจาก คสช. 8.การดำเนินการในรายการงานใดที่มีผลกระทบต่อ ประชาชนในพื้นที่ไม่ว่าจะด้านใดก็ตาม จะต้องจัดทำ รายงานการมีส่วนร่วมกับประชาชนในพื้นที่เพื่อใช้ ประกอบการรายงานต่อ คสช. 9.รูปแบบการรายงานผลการดำเนินงาน ใช้รูปแบบแบบ รายงานเช่นเดียวกับการรายงานผลการปฏิบัติงานแผนงาน ตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557
20
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย ZONING ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงฯมอบหมายให้กรมชลประทาน โดย โครงการชลประทานจังหวัด เป็นหน่วยงานกลาง ในการแจ้งสถานการณ์น้ำในพื้นที่ให้แก่หัวหน้าส่วน ราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภายใน จังหวัด โดยใช้เทคโนโลยีทางการสื่อสาร เช่น LINE APPPLICATION โดยการตั้งกลุ่ม LINE ขึ้น พร้อมทั้งรายงานสถานการณ์ทุกวัน โครงการ ชลประทานจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภายในจังหวัด
21
การรายงานสถานการณ์น้ำ ให้ ชลประทานจังหวัด รายงานใน Line กลุ่มกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำจังหวัด
สถานการณ์ฝน 2.สถานการณ์ด้านการปลูกพืช 3.สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ และการบริหารจัดการน้ำ ปัจจุบันฝนสะสม ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ถึงปัจจุบัน กี่ มิลลิเมตร สูง หรือ ต่ำ กว่าค่าปกติระยะยาว กี่ มิลลิเมตร หรือ กี่เปอร์เซ็นต์ กรมอุตุนิยมวิทยาคาดหมายฝน ๓ เดือนต่อจากปัจจุบัน สูง หรือ ต่ำกว่า ค่าปกติ กี่มิลลิเมตร หรือ กี่เปอร์เซ็นต์ กรมอุตุนิยมวิทยา คาดการณ์ว่า สถานการณ์ฝนปีน้ำจะ เป็น ปีที่มีฝนมาก หรือ น้อยกว่าค่าปกติ แผนการปลูกพืช จำนวนกี่ไร่ เริ่มและสิ้นสุดเมื่อใด ปัจจุบันปลูกแล้วกี่ไร่ คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์จากแผน คาดว่าจะปลูกเต็ม ๑๐๐% วันที่เท่าไร ปัจจุบัน น้ำในอ่างเก็บน้ำมีปริมาตร กี่ล้านลูกบาศก์เมตร หรือกี่เปอร์เซ็นต์ของน้ำใช้การได้ สถานการณ์การการบริหารจัดการน้ำ การใช้น้ำจากอ่างเก็บน้ำ ณ. ปัจจุบันถึงสิ้นสุดฤดูกาล จะพอเพียง หรือ ขาดแคลน มากน้อยเท่าไร การบริหารจัดการน้ำ ปัจจุบัน ระบายน้ำไปแล้ว กี่เปอร์เซ็นต์จากแผน มากหรือน้อยกว่าแผนกี่เปอร์เซ็นต์คงเหลือจะต้องระบายอีกกี่ล้านลูกบาศก์เมตร และคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์จากแผน คาดการณ์สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำ หลังสิ้นสุดฤดูฝน ณ วันที่ ๑ พฤศจิกายน จะมีปริมาตรน้ำในอ่างเก็บ น้ำ กี่ล้านลูกบาศก์เมตร หรือ กี่ เปอร์เซ็นต์ของปริมาตรน้ำใช้การได้ พอใช้สำหรับกิจกรรมต่างๆ ตลอดฤดู แล้ง หรือไม่ โดยเฉพาะกิจกรรมปลูก พืชฤดูแล้ง จะปลูกข้าวนาปรัง และพืช ใช้น้ำน้อย ได้หรือไม่ มากน้อยเท่าไร
22
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 3 ตอบข้อซักถาม
23
4/4/2019 8:23 PM ขอขอบคุณ © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.
24
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงข้อมูลการรับฟังข้อคิดเห็นจากประชาชนในพื้นที่ ทั้งที่ได้รับผลกระทบ/รับประโยชน์จากการดำเนินการโครงการก่อนการเข้าปฏิบัติงาน กลับสู่หน้าหลัก
25
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงข้อมูลการเตรียมความพร้อมของบุคลากร เครื่องจักรเครื่องมือ ในการเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ กลับสู่หน้าหลัก
26
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงข้อมูลความก้าวหน้าในการเข้าปฏิบัติงานในพื้นที่ ที่แสดงผลการดำเนินงาน ทั้งก่อนปฏิบัติงาน ระหว่างปฏิบัติงาน และหลังการดำเนินงาน กลับสู่หน้าหลัก
27
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ ในกรณีงานขุดลอก ต้องแสดงจุดที่ตั้งของการดำเนินงานขุดลอก และแสดงจุดทิ้งดินลงในแผนที่ Google Map อย่างชัดเจน กลับสู่หน้าหลัก
28
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงรูปแบบการตรวจสอบการดำเนินงานให้ถูกต้องตรงตามรูปแบบรายการที่กำหนดในประมาณการ โดยมีการตรวจสอบทั้งทางปริมาณงานและคุณภาพงานควบคู่กัน ถูกต้องตามหลักวิชาการในแต่ละรูปแบบการดำเนินงาน กลับสู่หน้าหลัก
29
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงข้อมูลการกำกับดูแลจากผู้ที่รับผิดชอบ ดูแลแผนงานนั้นๆตามลำดับชั้นของการบริหารงาน กลับสู่หน้าหลัก
30
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงข้อมูลการสอบถามความคิดเห็น ความพึงพอใจ จากประชาชนในพื้นที่ดำเนินการ กลับสู่หน้าหลัก
31
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงข้อมูลการส่งมอบพื้นที่การดำเนินงานให้แก่ท้องถิ่น กลับสู่หน้าหลัก
32
รูปแบบการจัดทำข้อมูลพื้นที่และตำแหน่งของโครงการ
เพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่ไปตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ แสดงรูปแบบการติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงาน กลับสู่หน้าหลัก
33
(ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ ภาค/จังหวัด ทภ.1 กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ระยอง ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระแก้ว สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง อุทัยธานี กลับสู่หน้าหลัก
34
(ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ ภาค/จังหวัด ทภ.2 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี กลับสู่หน้าหลัก
35
(ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ ภาค/จังหวัด ทภ.3 กำแพงเพชร เชียงใหม่ นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก แพร่ ลำปาง ลำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ กลับสู่หน้าหลัก
36
(ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ปรับแผนครั้งที่ 1 ) แบ่งตามภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ ภาค/จังหวัด ทภ.4 ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง สงขลา สตูล กลับสู่หน้าหลัก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.