งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี2551-2554
Vision : องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของชาวเขา ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงมียุทธศาสตร์ในการดำเนินการเพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ ของศูนย์ฯ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์คือ 1.ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของชาวเขา 2.ยุทธศาสตร์พัฒนาองค์กร

2

3 องค์กรมีสมรรถนะที่เหมาะสม
แผนที่เดินทางยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมชาวไทยภูเขา ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่เหมาะสม มีแกนนำด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผลักดันให้มีการใช้ภูมิปัญญาชนเผ่าในการดูแลสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน สร้างบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย พัฒนาทักษะการประเมินตนเองทางด้านสุขภาพ ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีแผนงาน / โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีทักษะการทำงานเป็นทีม เกิดกิจกรรมสุขภาพร่วมกันในชุมชน ชุมชนสามารถจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชุมชนมีการจัดการการดูแลสุขภาพของตนเอง ชุมชนมีแผนสุขภาพชุมชน ผลักดันให้ชุมชนใช้สินทรัพย์ชุมชน (ABCD) เป็นฐานในการพัฒนา แสวงหาแหล่งทุน ชุมชนมีทักษะในการวิเคราะห์/ประเมินด้านสุขภาพ ชุมชนจัดการสุขภาพตามแผนสุขภาพชุมชน ชุมชนมีการเฝ้าระวังสุขภาพ สร้างเสริมทักษะชุมชนให้ประเมินตนเองด้านสุขภาพ ชุมชนมีการเฝ้าระวังสุขภาพตามบริบทของชนเผ่า ชุมชนมีระบบข้อมูลสุขภาพ ระดับประชาชน (Valuation) อบต. สสจ. สสอ. สอ. รพช. กศน. ศูนย์อนามัย มีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพชุมชน สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมชาวเขา ผลักดันให้ใช้แผนสุขภาพชุมชน โดยใช้แนวคิดสินทรัพย์ชุมชน (ABCD) เป็นฐานในการพัฒนา สร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย บูรณาการงานร่วมกัน อบต. สสจ. สสอ. สอ. รพช. กศน. ศูนย์อนามัย มูลนิธิโครงการหลวง มีความรู้ความเข้าใจนำไปขยายผลในการพัฒนาสุขภาพชุมชน สร้างเครือข่ายวิชาการ พัฒนาองค์ความรู้ สร้างองค์กรต้นแบบ สร้างช่องทางการมีส่วนร่วมพัฒนาองค์ความรู้ และการนำไปใช้ ถ่ายทอดเทคโนโลยี เครือข่ายมีระบบข้อมูลเพื่อการเชื่อมโยง พัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพชาวเขา เร่งรัดให้มีการนำระบบรับฟังสู่การปฏิบัติ เครือข่ายมีการพัฒนาข้อมูลด้านสุขภาพที่ต่อเนื่อง ร่วมสร้างและใช้ระบบข้อมูล อบต. สสจ. สสอ. สอ. รพช. กศน. มูลนิธิโครงการหลวง สนับสนุนในการพัฒนาสุขภาพชุมชน สนับสนุนทรัพยากร สนับสนุนวิชาการ สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดระบบการจัดการ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล (Stakeholder) ระดับภาคี พัฒนา นวัตกรรม องค์ความรู้ สร้างนวัตกรรมและองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชนเผ่า ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวบรวมองค์ความรู้และนวัตกรรม ถ่ายทอดนวัตกรรม องค์ความรู้ พัฒนาช่องทางของการจัดการความรู้ สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนากระบวนการถ่ายทอด เร่งรัดให้มีการนำระบบ M&E สู่การปฏิบัติ สนับสนุนการศึกษาดูงาน ระบบการจัดการและการสนับสนุนทรัพยากรที่ดี สร้างระบบการบริหารความสัมพันธ์เครือข่าย( CRM ) จัดหาทรัพยากรให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน เฝ้าระวังสุขภาพในกลุ่มประชากรเป้าหมาย นิเทศ ติดตามประเมินผล ผลิต สนับสนุนสื่อที่เหมาะสม ต่อเนื่อง สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ สร้างนวัตกรรมต้นแบบด้านสุขภาพ  พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบด้านสุขภาพ ค้นหานวัตกรรมชุมชนด้านสุขภาพ ระดับกระบวนการ (Management) ระบบฐานข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องและทันสมัย พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล พัฒนาระบบข้อมูลเฝ้าระวังที่ทันสมัย ปรับปรุงคลังข้อมูลสุขภาพชาวไทยภูเขาให้ทันสมัย ประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูล สร้างคลังความรู้และนวัตกรรมชนเผ่า องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้ออำนวย ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเนื่อง สร้างแรงจูงใจและให้รางวัล ส่งเสริมการสร้างค่านิยมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน องค์กรมีสมรรถนะที่เหมาะสม ปรับปรุงแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากร สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน พัฒนาทักษะเชิงเทคนิคและการสนับสนุนวิชาการ พัฒนาทักษะการถ่ายทอด ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)


ดาวน์โหลด ppt แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google