งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

2 การวัดและประเมินผลทางการศึกษา ปีการศึกษา 2559
งบประมาณแบบบูรณาการ นักเรียนทุกสังกัด สอบการอ่านออก เขียนได้ ป. 1-4 ข้อสอบกลาง ป. 2, 4-5, ม.1-2 การทดสอบ NT ป. 3

3 ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน
ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถด้านการคิดคำนวณ (Numeracy) ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability)

4 ความสามารถพื้นฐาน

5 3Rs ผลการเรียนรู้ด้านสาระวิชาหลัก (Core Subjects) Reading (การอ่าน),
ภาษาอังกฤษ การอ่านหรือศิลปะการใช้ภาษา ภาษาสากลต่างๆ ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การปกครองและสิทธิหน้าที่พลเมือง 3Rs สมรรถนะพื้นฐาน Reading (การอ่าน), Writing (การเขียน) Arithmetic (คณิตศาสตร์) ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (Student Outcomes)

6 ความสำคัญของการทดสอบความสามารถพื้นฐาน (NT)
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ความสามารถพื้นฐาน Literacy, Numeracy, Reasoning ability พัฒนา คุณภาพตามมาตรฐานและตัวชี้วัด 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ O-NET NT

7 ความสำคัญของการทดสอบความสามารถพื้นฐาน (NT)
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ความสามารถพื้นฐาน Literacy, Numeracy, Reasoning ability NT Fun Find Focus

8 ด้านภาษา (Literacy) 1. บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 2. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ 3. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 4. บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง-ดู/อ่านอย่างง่ายๆ 5. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 6. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่านอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ชั้น ป.3

9 ด้านคิดคำนวณ (Numeracy)
ความคิดรวบยอดด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น ความคิดรวบยอดด้านจำนวนและการดำเนินการ ความคิดรวบยอดด้านการวัด ความคิดรวบยอดด้านพีชคณิต ความคิดรวบยอดด้านเรขาคณิต ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ + ทักษะการคิดคำนวณ ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถคำนวณ (Numeracy) ชั้น ป.3

10 ด้านเหตุผล(Reasoning Ability)
มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมเศรษฐกิจ และการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล ให้ข้อสนับสนุน/โต้แย้งเพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีหลักการและเหตุผล คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อในกรณีที่มีสถานการณ์ที่ต้องการตัดสินใจ/มีปัญหา ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) ชั้น ป.3

11 กลุ่มเป้าหมายในการทดสอบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559
ทุกสังกัดทั่วประเทศ

12 วันพุธที่ 8 มีนาคม 2560 วันสอบ วันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 ประกาศผล

13 ตารางสอบ +18 +27 +18 เด็กพิเศษ
หมายเหตุ กรณีเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา จะเป็นเด็กที่มีความสามารถทางสติปัญญา ต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยและมีข้อจำกัดในการปรับตัว แต่หากเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาที่เรียนร่วมกับเด็กทั่วไป จะมีความสามารถในการเรียนได้ในระดับประถมศึกษาอยู่แล้ว อาจเปิดโอกาสให้เด็กกลุ่มนี้ได้เข้าสอบด้วย โดยอาจเพิ่มเวลาในการทำข้อสอบได้แต่ไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาที่กำหนด

14 โครงสร้างและรูปแบบของข้อสอบ NT

15 โครงสร้างข้อสอบ ด้าน เลือกตอบ เขียนตอบ แสดงวิธีทำ ภาษา (Literacy) 27 3
คำนวณ (Numeracy) 2 1 เหตุผล (Reasoning ability)

16 องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบ LNR (รูปแบบเดียวกับข้อสอบ PISA)
สถานการณ์ โจทย์ข้อคำถาม คำตอบ

17 การแต่งตั้งกรรมการระดับสนามสอบ

18 คณะกรรมการระดับสนามสอบ
คณะกรรมการระดับสนามสอบประกอบด้วย หัวหน้าสนามสอบ คือ ประธานกลุ่มเครือข่าย หรือผู้อำนวยการโรงเรียนที่เป็นสนามสอบหรือผู้ที่ประธานกลุ่มพิจารณาแต่งตั้งตามความเหมาะสม กรรมการกลาง (ถ้ามี) คือ วิชาการของกลุ่มเครือข่าย หรือ วิชาการของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย หรือผู้ที่ประธานกลุ่มพิจารณาแต่งตั้งตามความเหมาะสม กรรมการคุมสอบ ต้องมาจากต่างกลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาอัตรา 2 คนต่อ 1 ห้องสอบ ตามรายละเอียดในจำนวนสนามสอบและกรรมการการสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ปีการศึกษา 2559

19 คณะกรรมการระดับสนามสอบ
คณะกรรมการระดับสนามสอบประกอบด้วย กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ (ในกรณีที่ตรวจข้อสอบที่สนามสอบ) ต้องทำการตรวจข้อสอบเขียนตอบที่สนามสอบ ซึ่งต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้านภาษา คำนวณ และด้านเหตุผล โดยต้องทำการตรวจข้อสอบเขียนตอบทั้ง 3 ด้าน และใช้กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ 2 คน ต่อ 1 กระดาษคำตอบ โดยให้คะแนนฉันทามติร่วมกันนอกจากนี้กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ ต้องเป็นคนละคนกับกรรมการคุมสอบ นักการภารโรง เป็นนักการภารโรงของโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ หรือโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย กรรมการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการอำนวยการระดับสนามสอบสามารถพิจารณาแต่งตั้งกรรมการเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม

20 เอกสารในระดับสนามสอบ

21 เอกสารระดับสนามสอบ คู่มือการบริหารจัดการสอบ NT ข้อสอบและกระดาษคำตอบ
เอกสารธุรการประจำสนามสอบ

22 คู่มือการบริหารจัดการสอบ NT

23 คู่มือการบริหารจัดการสอบ NT

24 ข้อสอบและกระดาษคำตอบ

25 ข้อสอบและกระดาษคำตอบ
สนามสอบต้องมารับข้อสอบและกระดาษคำตอบจากศูนย์สอบใน เช้าวันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 05.30น น. โดยข้อสอบและกระดาษคำตอบในแต่ละสนามสอบจะถูกบรรจุลงในกล่อง โดยภายในกล่องจะมีซองข้อสอบและกระดาษคำตอบของ แต่ละห้องสอบมัดรวมกันไว้ ซึ่งในแต่ละมัดจะมี 3 ซองจำแนกตามวิชาที่สอบ (ซองละ 1 วิชา) ดังภาพ ห้องสอบที่ 1 ห้องสอบที่ 2

26 โดยในซองแบบทดสอบและกระดาษคำตอบแต่ละซอง (แต่ละวิชา) ด้านหลังปิดปากด้วยกาว และปิดทับด้วย Security Sealเพื่อป้องกันการเปิดก่อนถึงกำหนด ภายในซองประกอบไปด้วยแบบทดสอบและซองกระดาษคำตอบของวิชานั้น ยกเว้นซองแบบทดสอบวิชาคำนวณ จะไม่มีซองกระดาษคำตอบ เนื่องจากกระดาษคำตอบอยู่ในแผ่นเดียวกับกระดาษคำตอบวิชาภาษา โดยในแต่ละซองจำนวนแบบทดสอบและกระดาษคำตอบตามจำนวนของนักเรียนที่สอบในห้องสอบนั้น ๆ ดังภาพ

27 โดยแบบทดสอบที่ใช้ในการทดสอบครั้งนี้ พิมพ์ด้วยกระดาษปรู๊ฟ มีการปิดปากเพื่อป้องกันการเปิดอ่านด้วยกระดาษกาวแบบบาง (สามารถฉีกได้ง่าย) โดยแยกเป็น วิชา นอกจากนี้แบบทดสอบสำรองจะถูกส่งไปยังสนามสอบจำนวนร้อยละ 3 ของแบบทดสอบทั้งหมด (ทุกสนามสอบต้องมีอย่างน้อย 1 ฉบับ) โดยจะถูกบรรจุอยู่กล่องแรกของแต่ละสนามสอบ

28 ในซองกระดาษคำตอบของแต่ละวิชายังไม่มีการปิดผนึก (จะปิดผนึกเฉพาะตอนส่งกระดาษคำตอบมายัง ศูนย์สอบ) ภายในซองบรรจุกระดาษคำตอบพิมพ์ด้วยกระดาษพิเศษอย่างดี (OMR) ประกบด้วยกระดาษแข็งติดใบปะหน้าบอกรายละเอียดวิชาที่สอบ สถานที่สอบ ห้องสอบ จำนวนที่บรรจุ ประกบไว้เพื่อป้องกันการยับ ดังภาพ

29 ตัวอย่าง ใบปะหน้าซองบรรจุกระดาษคำตอบ

30 กระดาษคำตอบ ภาคเช้า ภาคบ่าย ภาคเช้า (สีเขียว) ภาคบ่าย (สีม่วง)
สำรอง (สีส้ม) ภาคเช้า ภาคบ่าย

31 (นักเรียน เป็น ผู้ระบาย)
กระดาษคำตอบ ข้อมูลนักเรียน ข้อสอบเลือกตอบ (นักเรียน เป็น ผู้ระบาย) ข้อสอบเขียนตอบ (ครูผู้ตรวจข้อสอบ เป็น ผู้ระบาย) ผู้ตรวจ 2 คน ตรวจข้อสอบเด็ก 1คน (ตัดสินใจร่วมกัน/ฉันทามติ)

32 ข้อมูลนักเรียนแต่ละคน จะถูกพิมพ์เสร็จเรียบร้อยมาจากโรงพิมพ์
หัวกระดาษคำตอบ ข้อมูลนักเรียนแต่ละคน จะถูกพิมพ์เสร็จเรียบร้อยมาจากโรงพิมพ์

33 ใช้กล่องกากบาทให้หมด
กระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ (ที่ระบายคะแนนเขียนตอบแล้ว) บรรจุใส่ซองกระดาษคำตอบส่งกลับ โดยแยกเป็น 2 ซอง คือ กระดาษคำตอบภาคเช้า 1 ซอง และกระดาษคำตอบภาคบ่าย 1 ซอง โดยนำซองทั้งสองมามัดรวมกันในแต่ละห้องสอบ แล้วบรรจุลงในกล่องกระดาษคำตอบขากลับ(กากบาท) (ที่ สพฐ. ส่งมาให้) ส่งมายัง สพฐ. ดังภาพ (ห้องที่ 2) (ห้องที่ 1) (ภาคเช้า) (ภาคบ่าย) ห้ามทำยางรัดหาย ใช้กล่องกากบาทให้หมด

34 ห้ามใส่ในกล่องกากบาท
กระดาษคำตอบเขียนตอบในแต่ละห้องสอบที่ตรวจแล้วเมื่อระบายคะแนนในกระดาษคำตอบเลือกตอบเสร็จแล้ว ให้บรรจุลงในซองบรรจุกระดาษคำตอบข้อสอบเขียนตอบที่ สพฐ. ส่งมาให้ (1 ซองบรรจุกระดาษคำตอบเขียนตอบ 3 วิชา) แล้วเก็บรักษาไว้ที่ศูนย์สอบเพื่อการตรวจสอบภายหลัง ดังภาพ ห้ามใส่ในกล่องกากบาท

35 ตัวอย่าง ใบปะหน้าซองบรรจุกระดาษคำตอบเขียนตอบ

36 เอกสารธุรการประจำสนามสอบ
1) ใบรายชื่อติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ (ติดด้านล่างของอาคารที่เป็นห้องสอบ) 2) ใบรายชื่อติดหน้าห้องสอบแต่ละห้องสอบ (2 ใบ ติดประตูหน้าห้องและหลังห้อง) 3) แบบ สพฐ.2 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบในแต่ละห้องสอบ 4) แบบ สพฐ.3 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ กรณีพิเศษ (Walk in) 5) แบบ สพฐ.5 แบบฟอร์มสำหรับผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ 6) แบบ สพฐ.6 แบบคำขอแก้ไขข้อมูล สนามสอบละ 2 ใบ 7) แบบ NT1 บัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบระหว่างหัวหน้าสนามสอบ/ กรรมการกลางกับกรรมการคุมสอบ 8) แบบ NT2 บัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบ และเอกสารอื่นๆจากสนามสอบ ถึงศูนย์สอบ

37 ตัวอย่างใบรายชื่อติดบอร์ดประชาสัมพันธ์และห้องสอบ

38 ตัวอย่าง แบบ สพฐ.2 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบในแต่ละห้องสอบ

39 ตัวอย่าง แบบ สพฐ.3 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in)

40 ตัวอย่าง แบบ สพฐ.5 สำหรับผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ

41 ตัวอย่าง แบบ NT1 บัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบระหว่าง หัวหน้าสนามสอบ/ กรรมการกลางกับกรรมการคุมสอบ

42 ตัวอย่างแบบ NT2 บัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบ และเอกสารอื่นๆจากสนามสอบถึงศูนย์สอบ

43 การบริหารจัดการห้องสอบ

44 การจัดสนามสอบและห้องสอบ
ศูนย์สอบต้องกําหนดสนามสอบ โดยระบุจํานวนห้องสอบ และรายละเอียดข้อมูลห้องสอบ ผ่านระบบ NTAccess ทั้งนี้ ใช้อัตราจํานวนผู้เข้าสอบ 35 คน ต่อห้อง ยกเว้นห้องสอบสุดท้ายของสนามสอบสามารถจัดห้องสอบได้ไม่เกิน 40 คน โดยในการจัดห้องสอบจะจัดนักเรียนเข้าห้องสอบทีละโรงเรียนเรียงตามตัวอักษรของโรงเรียน และการเรียงลำดับเลขที่นั่งของนักเรียนในแต่ละโรงเรียนจะจัดเรียงตามที่โรงเรียนส่งข้อมูลเข้าโปรแกรม NT Access ซึ่งการจัดนักเรียนเข้าห้องสอบถ้าเรียงลำดับนักเรียนจนถึงคนที่ 35 จะต้องจัดตั้งแต่คนที่ 36 เป็นต้นไปเข้าสอบในห้องสอบถัดไป

45 ตัวอย่าง ถ้าโรงเรียนกบินทร์วิทยาเป็นสนามสอบ มีโรงเรียนมาเข้าสอบ 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนกบินทร์วิทยา มีนักเรียน 20 คน โรงเรียนนารีศึกษา มีนักเรียน 10 คน และโรงเรียนชนาธิปวิทยา มีจำนวนนักเรียน 20 คน การจัดห้องสอบจะเป็นดังต่อไปนี้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 101 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 ห้องสอบที่ 1 221 ห้องสอบที่ 2 กบินทร์วิทยา ชนาธิปวิทยา นารีศึกษา

46 ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ(Walk in)
1) ให้ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษเข้านั่งสอบต่อจากคนสุดท้ายของห้องสอบสุดท้ายในสนามสอบนั้น 2) ให้ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษใช้แบบทดสอบพร้อมกระดาษคําตอบสํารองในการสอบ สําหรับเลขที่นั่งสอบให้ใช้เลขที่นั่งสอบต่อจากเลขที่สุดท้ายของห้องสอบสุดท้ายในสนามสอบนั้นๆ 3) ให้เซนต์ชื่อเข้าสอบในแบบ สพฐ.3 4) กระดาษคำตอบ(ทั้งเลือกตอบและเขียนตอบ)ให้บรรจุในซองของห้องสอบสุดท้ายหรือในห้องที่นักเรียนเข้าสอบ เด็กเข้าสอบกรณีพิเศษ ร.ร.มีหนังสือยืนยัน ความเป็นนักเรียนถึงหัวหน้าสนามสอบ

47 ตัวอย่าง แบบ สพฐ.3 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in)

48 การบริหารจัดการสอบ (เพิ่มเติม)
1. กรณีที่เด็กขาดสอบให้ครูผู้คุมสอบระบายในช่องขาดสอบของกระดาษ คำตอบของเด็ก และแนบกระดาษคำตอบของนักเรียนที่ขาดสอบเรียงลำดับตามปกติมาพร้อมกับผู้เข้าสอบอื่นๆ 2. กรณีผู้เข้าสอบต้องการเปลี่ยนข้อมูลสถานะเด็กปกติหรือเด็กพิเศษ ให้กรอกแบบฟอร์ม สพฐ.6 (ในช่องอื่นๆ) และแนบเอกสาร 3. แบบทดสอบ(โจทย์คำถาม)ทั้งหมด เมื่อสอบเสร็จแล้วให้ไว้ที่สถานศึกษาที่เป็นสนามสอบ เพื่อเผยแพร่(แจกจ่าย)ให้แก่สถานศึกษาที่เข้าสอบในสนามสอบ (หลังจากวันที่ 13 มีนาคม 2560 เป็นต้นไป) 4. กระดาษคำตอบข้อสอบแบบเขียนตอบเมื่อกรอกคะแนนเสร็จแล้ว ให้เก็บรักษาไว้ที่ศูนย์สอบ 5. กระดาษคำตอบของนักเรียนที่ชำรุด จะต้องแนบคืน สพฐ. 6. กระดาษคำตอบสำรอง(ที่ไม่ได้ใช้) ไม่ต้องส่งคืนมายัง สพฐ.

49 กรณี เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต 1 แจ้งให้ โรงเรียนส่งเอกสารเด็กพิเศษ ที่มีชื่อตามระบบ NT Access ส่งเอกสารมา ที่เขตพื้นที่ ภายใน 20 กุมภาพันธ์ 2560 หมายเหตุ ให้เก็บหลักฐานต่างๆไว้ที่ศูนย์สอบ เพื่อรับ การตรวจสอบจากสาธารณชน

50 กรณี เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ไม่มีชื่อตามระบบ NT Access ส่งเอกสาร ให้กับกรรมการคุมสอบ หน้าห้องสอบก่อนดำเนินการสอบครึ่งชั่วโมง เอกสารประกอบด้วย -สำเนาหนังสือรับรองแพทย์ (ผอ.ร.ร.รับรองสำเนา) -แบบ สพฐ.6 -สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หมายเหตุ ให้เก็บหลักฐานต่างๆไว้ที่ศูนย์สอบ เพื่อรับ การตรวจสอบจากสาธารณชน

51 การตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบ

52 การตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบ
รูปแบบการตรวจข้อสอบอัตนัยมี 2 รูปแบบ ให้คณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบเป็นผู้พิจารณาเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับสภาพบริบทของศูนย์สอบและสนามสอบของตนเอง ดังนี้ รูปแบบที่ 1 ตรวจข้อสอบที่สนามสอบ (ตรวจในวันที่ 8 มีนาคม 60) โดยมีกรรมการตรวจข้อสอบ 2 คนต่อหนึ่งฉบับ (ต้องเป็นคนละคนกับผู้คุมสอบ) โดยจำนวนผู้ตรวจข้อสอบในแต่ละสนามสอบให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ รูปแบบที่ 2 ตรวจข้อสอบในสถานที่ที่ศูนย์สอบกำหนด (ตรวจในวันที่ 8 – 9 มีนาคม 60) โดยมีกรรมการตรวจข้อสอบ 2 คนต่อหนึ่งฉบับ โดยจำนวนผู้ตรวจข้อสอบให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ

53 การส่งเฉลยข้อสอบเขียนตอบ
สพฐ. จะทำการส่งเฉลยข้อสอบเขียนตอบ ผ่านทางระบบ NT Access ใน วันที่ 8 มีนาคม 2560 โดยจะส่งเฉลยทีละวิชาภายหลังการสอบในแต่ละวิชานั้นเสร็จสิ้น วิธีการรับเฉลยของสนามสอบหรือศูนย์สอบ ให้สนามสอบและศูนย์สอบใช้รหัสผู้ใช้ (Username) และรหัสผ่าน (Password) เข้าทางระบบ NT Access แล้วDownload เฉลยข้อสอบเขียนตอบแต่ละวิชา เพื่อส่งให้กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบต่อไป

54 การเก็บรวบรวมกระดาษคำตอบ
รูปแบบที่ 1 ตรวจข้อสอบเขียนตอบที่สนามสอบ (ตรวจในวันที่ 8 มีนาคม 60) ศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต1 กำหนดให้ เริ่มตรวจวิชาแรก น. เป็นต้นไป (โดยกรรมการตรวจข้อสอบอัตนัยประสานเจ้าหน้าที่ธุรการ/ครู ผู้ดูแลระบบ NT Access ดาวน์โหลด และปริ้นเกณฑ์การให้คะแนนและเฉลยให้ กรรมการศึกษาล่วงหน้า (เฉลยวิชาแรกส่งมาทางระบบ10.00น.)

55 การเก็บรวบรวมกระดาษคำตอบ
รูปแบบที่ 1 ตรวจข้อสอบเขียนตอบที่สนามสอบ 1. กรรมการคุมสอบจัดเก็บกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ (ที่ยังไม่ได้ระบายคะแนน เขียนตอบ) และกระดาษคำตอบเขียนตอบ โดยเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ในซองบรรจุกระดาษคําตอบเลือกตอบเพื่อส่งกลับ และซองกระดาษคำตอบข้อสอบเขียนตอบพร้อมใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ ยังไม่ต้องปิดผนึก ส่งต่อไปยังกรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ 2. กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบตรวจข้อสอบและระบายคะแนนลงในกระดาษคำตอบเลือกตอบ แล้วบรรจุกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ โดยเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ในซองบรรจุกระดาษคําตอบเพื่อส่งกลับ และซองกระดาษคำตอบข้อสอบเขียนตอบ พร้อมใบเซ็นชื่อ ผู้เข้าสอบ ปิดผนึกซอง และกรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบเซ็นชื่อกำกับทั้ง 2 คน นำส่งประธานสนามสอบ 3. สนามสอบบรรจุกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบบรรจุใส่ซองกระดาษคำตอบข้อสอบแบบเขียนตอบ ส่งไปศูนย์สอบเพื่อเก็บรักษาไว้สำหรับการขอตรวจสอบคะแนนในภายหลัง

56 การเก็บรวบรวมกระดาษคำตอบ
รูปแบบที่ 1 ตรวจข้อสอบเขียนตอบที่สนามสอบ 4. บรรจุซองกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบลงในกล่อง พร้อมติดใบปะหน้า กล่องกระดาษคําตอบเพื่อส่งกลับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสนามสอบต้องนํามาติดให้ถูกต้อง และระบุจํานวนซองกระดาษคําตอบเพื่อส่งกลับ (แบบเลือกตอบ) ที่บรรจุอยู่ในกล่องให้ถูกต้อง 5. คณะกรรมการสนามสอบนํากล่องสําหรับบรรจุซองกระดาษคําตอบที่ปิดผนึกแล้วส่งศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบ ห้ามทิ้งกล่องสําหรับบรรจุซองกระดาษคําตอบกลับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ที่สนามสอบ 6. สนามสอบต้องกรอกข้อมูลบนใบปะหน้ากล่องให้ครบถ้วน และให้ประธานสนามสอบ ลงนามให้เรียบร้อย พร้อมทั้งส่งมอบให้กับศูนย์สอบตรวจดูความเรียบร้อยของกล่องและลงนามที่ใบปะหน้ากล่อง เพื่อส่งกลับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป

57 เอกสารที่สนามสอบ ส่งคืนศูนย์สอบ
1.กล่องกระดาษคำตอบ(ปรนัย) ตามจำนวนกล่องกากบาทที่ได้รับ 2.ซองบรรจุกระดาษคำตอบ(อัตนัย) ตามจำนวนที่ได้รับ 3.เอกสารทางการเงิน ใบสำคัญรับเงิน,ใบเสร็จรับเงินของโรงเรียนค่าตอบแทนสนามสอบ

58 เอกสารที่สนามสอบ ส่งคืนศูนย์สอบ
4.เอกสารธุรการการจัดสอบ แบบ - สพฐ.2,สพฐ.3,สพฐ.5,สพฐ.6 - แบบ NT1,NT2 บรรจุแยกซองส่งคืน ห้ามใส่ในกล่องกระดาษคำตอบหรือซองกระดาษคำตอบอัตนัย ยกเว้น แบบ สพฐ.2 ฉบับส่งคืน สพฐ.

59 การรายงานผลการทดสอบ

60 การรายงานผล 1. ประกาศผลสอบ วันที่ 24 เมษายน 2560 เป็นต้นไป 2. ดูผลสอบของนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. แบบรายงานผลสอบ รายบุคคล รายโรงเรียน รายเขตพื้นที่การศึกษา รายสังกัด ภาพรวมประเทศ

61 ใบรายงานผลการทดสอบ NT (รายบุคคล)
ด้านหน้า ด้านหลัง

62 ใบรายงานผลการทดสอบ NT (รายโรงเรียน)
ด้านหน้า ด้านหลัง

63 ใบรายงานผลการทดสอบ NT (รายโรงเรียน) (ต่อ)

64 การจัดสนามสอบศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต 1

65 สนามสอบศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต 1
65 ห้อง นักเรียน 2,066 คน

66 ลำดับ ชื่อสนามสอบ จำนวนห้อง จำนวน นร. 1 บ้านถิ่น(ถิ่นวิทยาคาร) 20 2 บ้านทุ่งโฮ้ง(อภิวังวิทยาลัย) 72 3 บ้านน้ำชำ(วิชัยชนานุเคราะห์) 34 4 บ้านป่าแดง(วันรัตตวิทยา) 76 5 บ้านแม่หล่าย(ประชานุสรณ์)

67 ลำดับ ชื่อสนามสอบ จำนวนห้อง จำนวน นร. 6 มารดาอุปถัมภ์ 14 460 7
วัดเมธังกราวาส(เทศรัฐราษฎร์นุกูล) 8 258 อนุบาลแพร่ 277 9 บ้านแม่ยางเปี้ยว(แก้วพิสณฑ์ประชานุกูล) 2(พ1) 42 10 บ้านร้องกวาง(จันทิมาคม) 5 155

68 ลำดับ ชื่อสนามสอบ จำนวน นร. 11 3 81 12 2 45 13 1 36 14 64 15 32
จำนวนห้อง จำนวน นร. 11 บ้านห้วยโรงนอก 3 81 12 บ้านอ้อยวิทยาคาร 2 45 13 ราชประชานุเคราะห์ 25 1 36 14 ไทยรัฐวิทยา 31(ทุ่งน้าวพุทธิมาศึกษากร) 64 15 บ้านดอนชัย(ประชาอุทิศ) 32

69 ลำดับ ชื่อสนามสอบ จำนวนห้อง จำนวน นร. 16 บ้านวังฟ่อน(สิทธิราษฎร์บำรุง) 2 52 17 บ้านศรีมูลเรือง(วัลลภราษฎร์รังสรรค์) 1(พ1) 35 18 อนุบาลเทพสุนทรินทร์ 7(พ1) 224 19 บ้านหนองม่วงไข่(ม่วงไข่วิทยาคาร) 66

70 สนามสอบศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต 1
เด็กพิเศษ จำนวน3 สนามสอบ 3 คน เด็กพิเศษ ทำไม่เสร็จ สามารถต่อเวลาให้ 30%

71 ตารางสอบ +18 +27 +18 เด็กพิเศษ
หมายเหตุ กรณีเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา จะเป็นเด็กที่มีความสามารถทางสติปัญญา ต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยและมีข้อจำกัดในการปรับตัว แต่หากเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาที่เรียนร่วมกับเด็กทั่วไป จะมีความสามารถในการเรียนได้ในระดับประถมศึกษาอยู่แล้ว อาจเปิดโอกาสให้เด็กกลุ่มนี้ได้เข้าสอบด้วย โดยอาจเพิ่มเวลาในการทำข้อสอบได้แต่ไม่เกินร้อยละ 30 ของเวลาที่กำหนด

72 สนามสอบ 1.สนามสอบเตรียมห้องสำหรับหัวหน้าสนามสอบ/กรรมการการ
2.สนามเตรียมห้องสำหรับกรรมการตรวจข้อสอบอัตนัย 3.สนามสอบเตรียมห้องสอบ ป้าย/ผังห้องสอบ 4.สนามสอบเตรียมเจ้าหน้าดาวน์โหลดเกณฑ์และเฉลยอัตนัยจากระบบ NT Access

73 สนามสอบ 1.ประชุมทบทวนกรรมการคุมสอบ เวลา 07.45 น.
2.กรรมการตรวจข้อสอบอัตนัยปฏิบัติหน้าที่ น. รับประทานอาหารกลางวันที่สนามสอบ เริ่มตรวจ น.เป็นต้นไป

74 บทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบ

75 การบริหารจัดการสอบ

76 ก่อนสอบ 1.ถึงสนามสอบก่อน 1 ชั่วโมง รายงานตัว/ลงเวลาปฏิบัติหน้าที่
2.เวลา น. ร่วมประชุมฟังคำชี้แจงหัวหน้าสนามสอบ 3.เวลา น. รับซองแบบทดสอบ/ซองกระดาษคำตอบ/ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สพฐ.2) ตรวจสอบการชำรุดหรือการเปิดซองแบบทดสอบก่อนหรือไม่หากพบรายงานหัวหน้าสนามสอบ

77 ก่อนสอบ 4.เวลา 08.30-08.45 น. ตรวจสอบความเรียบร้อยภายในห้องสอบ
5.เวลา น. กรรมการคุมสอบรอรับนักเรียนเดินแถวเข้าห้องสอบหน้าประตูเพื่อตรวจหลักฐานผู้เข้าสอบ หลักฐาน 1) บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวนักเรียน(ที่ติดรูปถ่าย) 2) อุปกรณ์ ยางลบ ดินสอ 2B กบเหลาดินสอ เท่านั้น 3) แจ้งนักเรียนนั่งโต๊ะตามรายชื่อและที่นั่งสอบให้ตรงกัน

78 ก่อนสอบ 6.เวลา น. -แจ้งตารางสอบและระเบียบการสอบให้ผู้เข้าสอบทราบ -กรรมการแจกกระดาษคำตอบ (เรียงจากเลขที่นั่งสอบจากน้อยไปหามาก) -แจ้งให้ผู้เข้าสอบตรวจสอบว่ากระดาษคำตอบเป็นของตนเอง -เวลา แจกแบบทดสอบตามลำดับที่นั่งสอบ เรียงจากเลขที่นั่งสอบจากน้อยไปหามาก

79 ก่อนสอบ 7) นักเรียน2คนเซ็นชื่อเป็นสักขีพยาน ยืนยันความเรียบร้อยของซองแบบทดสอบใน แบบสพฐ.2 ทั้ง 2 แผ่น 8) แจ้งผู้เข้าสอบตรวจสอบ 8.1)รายชื่อบนกระดาษคำตอบตรงกันหรือไม่ 8.2) ผู้เข้าสอบลงลายมือชื่อในช่อง “ลายมือชื่อผู้เข้าสอบ”ด้วยดินสอ

80 ตัวอย่าง แบบ สพฐ.2 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบในแต่ละห้องสอบ

81 ตัวอย่าง ถ้าโรงเรียนกบินทร์วิทยาเป็นสนามสอบ มีโรงเรียนมาเข้าสอบ 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนกบินทร์วิทยา มีนักเรียน 20 คน โรงเรียนนารีศึกษา มีนักเรียน 10 คน และโรงเรียนชนาธิปวิทยา มีจำนวนนักเรียน 20 คน การจัดห้องสอบจะเป็นดังต่อไปนี้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 101 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 221 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 ห้องสอบที่ 1 ห้องสอบที่ 2 กบินทร์วิทยา ชนาธิปวิทยา นารีศึกษา

82 ก่อนสอบ 9.หากพบข้อมูลไม่ถูกต้องให้แจ้งแก้ไขข้อมูลโดยใช้แบบฟอร์มคำขอแก้ไขข้อมูล (สพฐ.6) 10.กรรมการคุมสอบคนที่1 ลงลายมือชื่อ ในช่อง “กรรมการคุมสอบ”

83 เข้าห้องช้า 15 นาทีไม่มีสิทธิ์สอบวิชานั้น
ถึงเวลาสอบ แจ้งผู้เข้าสอบเปิดแบบทดสอบได้ แจ้งผู้เข้าสอบ เปิดนับจำนวนหน้าของแบบทดสอบหากผิดพลาดให้แจ้งกรรมการคุมสอบเพื่อเปลี่ยนแบบทดสอบฉบับใหม่ ประกาศให้ผู้เข้าสอบอ่านคำชี้แจงให้เข้าใจและเริ่มทำแบบทดสอบได้ และเน้นย้ำให้ผู้เข้าสอบระบายคำตอบด้วยดินสอ 2B เข้าห้องช้า 15 นาทีไม่มีสิทธิ์สอบวิชานั้น

84 ระหว่างสอบ 1.กรณีผู้เข้าสอบจำเป็นต้องเข้าห้องน้ำให้กรรมการคุมสอบติดตามผู้เข้าสอบและตรวจดูภายในห้องน้ำ ก่อนและหลังจากที่ผู้เข้าสอบใช้ห้องน้ำ 2.การประกาศเวลา ครั้งที่1 เมื่อถึงเวลาสอบ ครั้งที่2 เมื่อการสอบผ่านไป 30 นาที (กรรมการคนที่2 ให้นักเรียนลงลายมือชื่อในแบบ สพฐ.2) ครั้งที่3 ก่อนหมดเวลา 5 นาที ครั้งที่4 เมื่อหมดเวลาสอบ

85 ระหว่างสอบ 3.ห้ามผู้คุมสอบ 3.1แก้ไขแบบทดสอบ/อธิบายเพิ่มเติมจากคำชี้แจง
3.2ห้ามนำข้อสอบ/กระดาษคำตอบออกนอกห้องสอบ 3.3ห้ามจด/บันทึก ทำสำเนา ถ่ายภาพ ข้อความใดๆของแบบทดสอบ ออกนอกห้องสอบ 3.4ห้ามใช้โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด อุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ ทุกชนิด 3.5 ห้ามคุยเสียงดัง เล่น Line Facebook อ่านหนังสือฯลฯ

86 ก่อนหมดเวลาสอบ 5 นาที -แจ้งให้ผู้เข้าสอบทราบ

87 หมดเวลาสอบ -ประกาศหมดเวลา -แจ้งหยุดทำแบบทดสอบ และตรวจความเรียบร้อย
-วางกระดาษคำตอบบนแบบทดสอบ -ห้ามผู้เข้าสอบลุกจากที่นั่งจนกว่ากรรมการคุมสอบจะอนุญาต - กรรมการคุมสอบตรวจสอบการลงชื่อ-สกุล และเลขที่นั่งสอบของผู้เข้าสอบและตรวจการระบายรหัสชุดข้อสอบและลง ลายมือชื่อบนหัวกระดาษคำตอบให้ครบถ้วนและถูกต้อง

88 หมดเวลาสอบ -กรรมการคนที่1เก็บกระดาษคำตอบ -กรรมการคนที่2เก็บแบบทดสอบ
-เมื่อเก็บกระดาษคำตอบ/แบบทดสอบเรียบร้อยให้แล้วประกาศให้ผู้เข้าสอบลุกออกจากที่นั่ง -กรรมการคุมสอบตรวจนับจำนวนกระดาษข้อสอบใส่ซองให้เรียบร้อยตามตามจำนวนที่ระบุหน้าซองแบบทดสอบ

89 หมดเวลาสอบ -กรรมการคุมสอบตรวจสอบความเรียบร้อยของ แบบสพฐ.2
-กรรมการคุมสอบตรวจนับกระดาษคำตอบเทียบกับแบบ สพฐ.2 และตรวจสอบข้อมูล การระบายรหัสชุดข้อสอบ -ใช้ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สพฐ.2) ที่ระบุ “สำหรับสนามสอบให้หุ้มกระดาษคำตอบ และส่งคืน สพฐ.” การหุ้มกระดาษคำตอบทั้งหมด ใช้กระดาษแข็งปิดด้านบน-ล่าง แล้วบรรจุลงซองกระดาษคำตอบเขียนข้อมูลลงหน้าซองให้เรียบร้อย ไม่ต้องปิดผนึกซอง

90 3. กรณีมีผู้ขาดสอบให้เก็บกระดาษคำตอบของผู้ขาดสอบส่งคืน สทศ
3.กรณีมีผู้ขาดสอบให้เก็บกระดาษคำตอบของผู้ขาดสอบส่งคืน สทศ.โดยเรียงรวมอยู่กับกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบเรียงตามลำดับเลขที่นั่งสอบ 4.กรณีมีการยกเลิกกระดาษคำตอบแบบลงข้อมูลและใช้กระดาษคำตอบสำรอง ให้นำกระดาษที่ถูกยกเลิกของผู้เข้าสอบนั้นเรียงต่อจากการดาษคำตอบสำรองที่ผู้เข้าสอบนั้นใช้

91 นำส่งหัวหน้าสนามสอบ 1.ซองกระดาษคำตอบ ประกอบด้วย
-กระดาษคำตอบที่มีจำนวนครบถ้วน (ผู้เข้าสอบ +ผู้ขาดสอบ) -ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สพฐ.2) ที่ใช้หุ้มกระดาษคำตอบ อีก 1 แผ่น (ระบุ “สนามสอบส่งคืนศูนย์สอบ) ศูนย์สอบเก็บ -ซองแบบทดสอบ จำนวนครบถ้วน ส่งคืนสนามสอบเก็บไว้ ไม่ต้องส่งศูนย์สอบ

92 สิ่งที่กรรมการคุมสอบต้องเตรียม
1.ศึกษาคู่มือ บทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบให้ละเอียด (ที่สนามสอบไม่มีแจก แจกในวันประชุมกรรมการ) 2.วันไปปฏิบัติหน้าที่ เดินทางถึงสนามสอบก่อน อย่างน้อย 1 ชั่วโมง 3.เตรียมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน พร้อมรับรองสำเนา จำนวน 1 ฉบับ เพื่อรับค่าตอบแทน วันละ 200 บาท

93 เอกสารหลักฐานการเงิน
1.ค่าตอบแทนสนามสอบ : ใบเสร็จรับเงิน ของโรงเรียน 2.ค่าตอบแทนตัวแทนศูนย์สอบ/หัวหน้าสนามสอบ: ใบสำคัญรับเงิน/สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 3.ค่าตอบแทนกรรมการกลาง: ใบสำคัญรับเงิน/สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 4.ค่าตอบแทนกรรมการคุมสอบ: ใบสำคัญรับเงิน/สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน

94 ค่าตอบแทนสนามสอบ ค่าอาหาร-อาหารว่างกรรมการ -ตัวแทนศูนย์สอบ
-หัวหน้าสนามสอบ -กรรมการกลาง -กรรมการคุมสอบ -กรรมการตรวจข้อสอบอัตนัย

95 กรรมการรับส่งข้อสอบ ปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการตัวแทนศูนย์สอบ มาเบิกจ่ายในเช้าวันที่ 8 มีนาคม ที่ สพป.แพร่ เขต1 เริ่มปฏิบัติหน้าที่ 05.30น น.


ดาวน์โหลด ppt การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google