งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเปลี่ยนชื่อตำแหน่งในสายงาน (จากชลประทาน เป็นโยธา) สังกัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเปลี่ยนชื่อตำแหน่งในสายงาน (จากชลประทาน เป็นโยธา) สังกัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเปลี่ยนชื่อตำแหน่งในสายงาน (จากชลประทาน เป็นโยธา) สังกัด
กองพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง

2 เหตุผลของการของเปลี่ยนชื่อตำแหน่งในสายงาน
เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบ เนื่องจากลักษณะงานเป็นการควบคุมและดำเนินการโครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง โครงการป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพการชลประทาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการอื่นตามที่ได้รับมอบ มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาความเหมาะสมในการขอเปิดโครงการก่อสร้าง การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง การควบคุมและดำเนินการก่อสร้างโครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง แก้ไขปัญหาการก่อสร้างทางด้านวิศวกรรม ตรวจสอบและกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ให้มีความถูกต้อง ตามรูปแบบรายการ และข้อกำหนดของหลักวิชาชีพวิศวกรรม

3 จำนวนตำแหน่งที่ขอเปลี่ยน 265 ตำแหน่ง สามารถเปลี่ยนได้ 255 ตำแหน่ง และไม่สามารถเปลี่ยนได้ในขณะนี้จำนวน 10 ตำแหน่ง  วิศวกรชลประทานชำนาญการ (ผู้ครองตำแหน่ง มี กว.ภาคี)  นายช่างชลประทานอาวุโส และระดับปฏิบัติงาน/ชำนาญงาน (ผู้ครองตำแหน่งไม่มีคุณวุฒิตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง)

4 ผลที่เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนชื่อตำแหน่งในสายงาน
ประเด็นการพิจารณา สิทธิเหมือนเดิม หมายเหตุ การย้าย จัดกลุ่มตำแหน่ง การเลื่อน

5 คุณสมบัติด้านคุณวุฒิ
นายช่างชลประทาน นายช่างโยธา สาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสำรวจ สาขาวิชาก่อโยธา สาขาวิชาโยธา

6 คุณสมบัติด้านคุณวุฒิ
วิศวกรชลประทาน วิศวกรโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ - ทางวิศวกรรมชลประทาน - ทางวิศวกรรมโยธา - ทางวิศวกรรมเกษตร - ทางวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ - ทางวิศวกรรมโยธา-ทรัพยากรน้ำ - ทางวิศวกรรมโยธา-ชลประทาน - ทางวิศวกรรมแหล่งน้ำ - ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม - ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล - ทางวิศวกรรมโครงสร้าง

7 ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
หลักเกณฑ์คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สาขาวิศวกรรมศาสตร์ 1 สายงานวิศวกรรมโยธา ลักษณะงาน ระดับตำแหน่ง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม งานวางแผน งานตรวจสอบ จัดทำและวิเคราะห์ข้อมูล งานออกแบบและคำนวณ งานวางโครงการก่อสร้าง งานควบคุมการก่อสร้างและหรือโครงการ งานบำรุงรักษา งานวิจัยและพัฒนา งานให้คำปรึกษา K2 – K5 K2 – K3 K4 – K5 K2 - K3 K2 – k3 ไม่ต่ำกว่าประเภทภาคีวิศวกร* ประเภทสามัญวิศวกร ประเภทวุฒิวิศวกร ไม่ต่ำกว่าประเภทภาคีวิศวกร สายงานวิศวกรรมชลประทาน ให้ถือปฏิบัติตามสายงานวิศวกรรมโยธา

8 คำนิยามลักษณะงานวิศวกรรมโยธา
1.งานวางแผน หมายถึง การศึกษาและพิจารณาเพื่อกำหนด หรือ เสนอแนะเกี่ยวกับโครงการด้านวิศวกรรมโยธา ซึ่งต้องใช้ความร ความสามารถและประสบการณ์ทางด้านวิศวกรรมโยธาและความรู้ทางด้าน อื่น ๆ เช่น เศรษฐศาสตร์ ความมั่นคง เป็นต้น 2.งานตรวจสอบ จัดทำ และวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง การตรวจสอบ การ จัดทำหรือรวบรวมข้อมูล การสำรวจ การศึกษา การวิเคราะห์ การทดลอง การทดสอบ เพื่อประโยชน์ในงานวิศวกรรมโยธา 3.งานออกแบบและคำนวณ หมายถึง การใช้ความรู้ในสาขาวิศวกรรมโยธา เพื่อกำหนดรูปแบบและรายการเพื่อให้ได้มาซึ่งความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย เหมาะสมกับความต้องการสิ่งแวดล้อมและประหยัด 4.งานวางโครงการก่อสร้าง หมายถึง การกำหนดขั้นตอนและรายละเอียดในการ ดำเนินงานก่อสร้าง การบำรุงรักษา หรืองานวิศวกรรมโยธาอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตาม รูปแบบ รายการกำหนดเวลา อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและประหยัด

9 คำนิยามลักษณะงานวิศวกรรมโยธา (ต่อ)
5.งานควบคุมการก่อสร้างและหรือโครงการ หมายถึง การอำนวยการหรือ ควบคุมและรับผิดชอบให้การดำเนินงานก่อสร้าง หรือโครงการเป็นไปตามหลัก วิชาการ รูปแบบ รายการข้อกำหนดและกำหนดเวลา รวมถึงการแก้ไขปัญหาในการ ดำเนินงาน 6.งานบำรุงรักษา หมายถึง การซ่อมบำรุง หรือปรับปรุงแก้ไขตามหลักวิชาการ การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการบำรุงรักษา หรือการหาสาเหตุและแก้ไขปัญหา เพื่อป้องกันความเสียหาย หรือรักษาสภาพให้มีอายุการใช้งานนานเท่าที่ควรหรือเสริมสร้าง ความสะดวกและปลอดภัย 7.งานวิจัยและพัฒนา หมายถึง การค้นคว้า ปรากฏการณ์ หรือข้อปัญหาตามหลักวิชา ด้วยวิธีการอย่างมีระบบ โดยยึดถือข้อเท็จจริงเป็นพื้นฐานด้วยวิธีการทดลอง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ สังเกตหรือวิธีการอื่นใดก็ตาม เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ใหม่ กฎ ทฤษฎี หรือ วิธีการใหม่ และเพื่อพิสูจน์ทราบ และขยายข้อความรู้ หรือทฤษฎีทางวิศวกรรมโยธา 8.งานให้คำปรึกษา หมายถึง การให้คำปรึกษาทางวิชาชีพหรือวิชาการระดับสูงด้านใด ด้านหนึ่งหรือหลายด้านที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจเป็นการให้ข้อเสนอแนะในด้านการ วางแผน การวางโครงการ การควบคุม การตรวจสอบ การวิเคราะห์วิจัย การให้บริการทาง วิชาการ หรือการให้ข้อแนะนำในด้านอื่น ๆ ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถและความชำนาญ งานเทียบได้ระดับเดียวกัน

10 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล
เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษลงมา และการรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ตามประกาศ อ.ก.พ.กรมชลประทาน ลว. 14 พฤศจิกายน 2557 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

11 หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผู้ขอรับการคัดเลือก (3 ด้าน)
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ ให้มีการพิจารณาคัดเลือกตัวบุคคลก่อน และเลื่อนได้ไม่เกิน 1 ระดับ คุณสมบัติของบุคคล หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผู้ขอรับการคัดเลือก (3 ด้าน) คุณลักษณะของบุคคล ผลงาน ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

12 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
คุณสมบัติ ของบุคคล 1.1 วุฒิการศึกษา ต้องตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หรือได้รับการยกเว้นจาก ก.พ. 1.2 มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ของสายงานต่าง ๆ หรือได้รับยกเว้นจาก ก.พ. ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

13 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
คุณสมบัติ ของบุคคล 1.3 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ระดับ วุฒิการศึกษา ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ป.ตรี (4 ปี) หรือเทียบเท่า 6 ปี 4 ปี ป.ตรี (5 ปี) หรือเทียบเท่า 5 ปี ป.โท หรือเทียบเท่า ป.เอก หรือเทียบเท่า 2 ปี ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

14 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
คุณสมบัติ ของบุคคล 1.4 ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ระดับ วุฒิการศึกษา ชำนาญการ รับเงินประจำ ตำแหน่ง ชำนาญการพิเศษ ป.ตรี (4 ปี) หรือเทียบเท่า 6 ปี 7 ปี 8 ปี ป.ตรี (5 ปี) หรือเทียบเท่า 5 ปี ป.โท หรือเทียบเท่า 4 ปี ป.เอก หรือเทียบเท่า 2 ปี 3 ปี ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

15 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
คุณสมบัติ ของบุคคล ทั้งนี้ (1) บุคคลดังกล่าวจะต้องดำรงตำแหน่ง ในสายงานที่จะแต่งตั้งหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ ในสายงานที่จะแต่งตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

16 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
(2) กรณีที่ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งตาม ข้อ (1) ไม่ครบ 1 ปี อาจนำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง หรือระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งมานับรวมให้ ครบ 1 ปี ได้ คุณสมบัติ ของบุคคล กรณีไม่ครบ 1 ปี นับเฉพาะ “ขณะนำเวลาดังกล่าวมานับ ผู้นั้นต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง และข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง” ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

17 (3) การพิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่ง ในสายงานที่จะแต่งตั้ง คุณสมบัติ ของบุคคล ระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงที่มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะ ของตำแหน่ง ข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ให้พิจารณา โดยให้พิจารณาตามลักษณะงานที่ปฏิบัติงานจริง และประโยชน์ที่ราชการจะได้รับ ให้นับเป็นระยะเวลาขั้นต่ำได้ตามข้อเท็จจริง ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

18 เว้นแต่ ตำแหน่ง ประเภททั่วไป นับได้ครึ่งหนึ่ง คุณสมบัติ ของบุคคล
การนับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของ สายงานตำแหน่งประเภททั่วไป หรือสายงานที่เทียบเท่า กรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น ให้นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาการปฏิบัติงานที่นำมานับ คุณสมบัติ ของบุคคล เว้นแต่ ตำแหน่ง ประเภททั่วไป นับได้ครึ่งหนึ่ง o ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

19 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
(4) การนับระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง คุณสมบัติ ของบุคคล คำสั่งรักษาราชการแทน/รักษาการในตำแหน่ง หรือ คำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวอย่างชัดเจน และ มีการปฏิบัติงานจริง ต้องมี ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

20 คุณสมบัติ ของบุคคล ให้ คกก. คัดเลือก เป็นผู้ พิจารณา
(5) การพิจารณานับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งตาม ข้อ (2) – (4) คุณสมบัติ ของบุคคล (5.1) การนับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง ประเภทวิชาการ หรือ กรณีเป็นข้าราชการ ตามกฎหมายอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการ ที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง มีแนวทางดำเนินการ กรณี ให้ คกก คัดเลือก เป็นผู้ พิจารณา 2 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

21 ตำแหน่งที่อยู่ ในกลุ่มเดียวกัน นับได้เต็มเวลา
(5.1) การนับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งประเภทวิชาการ หรือ กรณีเป็นข้าราชการ ตามกฎหมายอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับ สายงานที่จะแต่งตั้ง มีแนวทางดำเนินการ กรณี 2 ตำแหน่งที่ไม่อยู่ ในกลุ่มเดียวกัน 5.1.2 5.1.1 ตำแหน่งที่อยู่ ในกลุ่มเดียวกัน นับได้เต็มเวลา o ลักษณะงานเหมือนหรือคล้ายคลึงกับลักษณะงานของ ตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง เกินครึ่งขึ้นไป นับได้เต็มเวลา ลักษณะงานเหมือนหรือคล้ายกคลึงกับลักษณะงานของ ตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ไม่ถึงครึ่งขึ้นไป นับได้ครึ่งหนึ่ง ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

22 นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาที่นำมานับ
(5.2) การนับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป หรือที่เทียบเท่ากรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น มานับรวมเป็นระยะเวลา ขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับการดำรงตำแหน่ง ในสายงานที่จะแต่งตั้ง นับระยะเวลาปฏิบัติงานในช่วงที่มีคุณสมบัติ เฉพาะสำหรับตำแหน่ง หรือข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ในสายงานที่จะแต่งตั้ง o นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาที่นำมานับ ให้นับ กลุ่มวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

23 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
ประเมินโดยผู้บังคับบัญชาที่ควบคุมดูแล การปฏิบัติงานโดยตรง และผู้อำนวยการสำนัก/กอง มีความเห็นสอดคล้องว่าผ่าน คุณลักษณะของบุคคล ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 รายการประเมิน คะแนน (เต็ม 100) ความรับผิดชอบ 20 ความคิดริเริ่ม การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ 15 ความประพฤติ ความสามารถในการสื่อความหมาย การพัฒนาตนเอง ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

24 ผลงาน ผู้ที่จะเข้ารับการคัดเลือกต้องเสนอผลงาน
ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3 ปี ชื่อผลงานที่จะส่งประเมิน พร้อมทั้ง เค้าโครงผลงาน สัดส่วนของผลงาน ผู้ร่วมจัดทำผลงาน (ถ้ามี) จำนวนไม่เกิน 3 เรื่อง ข้อเสนอแนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น จำนวน 1 เรื่อง ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

25 เกณฑ์การประเมินเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ารับการประเมินผลงาน (100 คะแนน)
คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70จึงจะผ่าน คุณสมบัติของบุคคล 10 คะแนน คุณลักษณะของบุคคล 30 คะแนน ผลงาน 60 คะแนน ผลงานย้อนหลัง 3 ปี (10 คะแนน) ข้อเสนอแนวคิดฯ (20 คะแนน) ชื่อผลงาน เค้าโครงผลงาน (30 คะแนน) ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

26 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
หากผู้ได้รับการคัดเลือกไม่ส่งผลงานภายในกำหนดโดยไม่มีเหตุผล อันสมควรจะถือว่าหมดสิทธิ์ในการ เข้ารับการประเมินผลงาน และจะดำเนินการรับสมัครเพื่อคัดเลือกบุคคลใหม่ การพิจารณาว่ามีเหตุผล อันควรหรือไม่ เป็นอำนาจของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคล เป็นผู้พิจารณา การส่งผลงาน กำหนดให้ผู้ได้รับ การคัดเลือกต้องส่งผลงานให้ ฝ่ายเลขานุการของแต่ละสาขาภายในระยะเวลา 2 เดือน นับแต่วันประกาศ ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

27 ผลงานที่จะส่งประเมิน
ต่ำกว่าระดับที่ขอประเมิน ไม่เกิน 1 ระดับ @ ผลสำเร็จของงานที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามปกติในตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ประเมิน โดยไม่จำเป็นต้องจัดทำผลงาน ขึ้นใหม่ @ ข้อเสนอแนวความคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ไม่เกิน 5 ปี (ยกเว้น) สายงานวิศวกรรมโยธา และสายงานวิศวกรรมชลประทาน ด้านพัฒนาแหล่งน้ำขนาดใหญ่ และขนาดกลาง สามารถส่งผลงาน เกินกว่า 5 ปี ได้ไม่เกิน 1 เรื่อง ไม่เกิน 3 เรื่อง (จำนวนผลงาน ที่จัดส่งขึ้นอยู่กับคุณภาพของผลงานตามเกณฑ์การตัดสินคุณภาพของผลงานที่กำหนดตามหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลงาน) ระยะเวลาย้อนหลัง ลักษณะ จำนวน ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

28 ผลงานที่จะส่งประเมิน
ให้ระบุส่วนที่ แสดงบทบาทของตนเอง ว่าใช้ความรู้ ความสามารถอย่างไร และในส่วนของผู้ร่วมผลงานพร้อมลงลายมือชื่อรับรอง (ถ้ามี) โดยเขียนเป็นร้อยแก้ว และระบุสัดส่วนเป็นร้อยละ พิจารณา เฉพาะผลงาน หรือ ให้ผู้ขอรับ การประเมิน มานำเสนอผลงาน ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการ ตามที่ ก.พ. กำหนด และ ตามแนวทาง ที่ สบค. กำหนดไว้ ผลงานร่วม วิธีการประเมิน รูปแบบ ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

29 หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผู้ขอรับการคัดเลือก
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ ให้มีการพิจารณาคัดเลือกตัวบุคคลที่มีความเหมาะสมก่อน หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผู้ขอรับการคัดเลือก มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หรือได้รับยกเว้นจาก ก.พ. มีคุณสมบัติเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของสายงานต่าง ๆ ดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการ ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

30 หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล
ผู้ที่ดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่ง K2 & K ในระดับเดียวกับตำแหน่งที่จะ แต่งตั้ง และจัดอยู่ ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน ที่ได้จัดกลุ่มตามหนังสือสำนักงาน ก.พ ที่ นร / ลว. 24 เม.ย. 54 อธช. เมื่อผ่าน การคัดเลือก ไม่ต้องประเมินผลงาน ทั้งนี้ ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

31 คณะกรรมการ พิจารณา หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล
กรณีไม่เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ หรือชำนาญการพิเศษ แต่ เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ กรณีดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ หรือชำนาญการพิเศษ แต่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกันตามที่ได้จัดไว้ หรือ กรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น กรณีอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ ให้พิจารณาเป็นราย ๆ ไป ต้องทำเอกสารประกอบการคัดเลือกบุคคล ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

32 การจัดทำผลงาน 1. กรณีไม่เคยดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการ
ระดับชำนาญการ หรือ ชำนาญการพิเศษ แต่เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ จัดทำผลงานเพื่อประเมิน ส่งให้ฝ่ายเลขานุการของ แต่ละสาขา ภายในระยะเวลา 2 เดือน นับแต่วันประกาศ ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

33 การจัดทำผลงาน แต่ถ้าไม่ถึงครึ่งจะต้องจัดทำผลงานเพื่อประเมินภายใน
2. กรณีดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ หรือชำนาญการพิเศษ แต่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกันตามที่ ได้จัดไว้ หรือ กรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น หากคณะกรรมการพิจารณาแล้วเห็นว่าลักษณะงานที่ดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่งอยู่เดิมเป็นลักษณะงานเชิงวิชาการที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง เกินกว่าครึ่งขึ้นไป ไม่ต้องประเมินผลงาน แต่ถ้าไม่ถึงครึ่งจะต้องจัดทำผลงานเพื่อประเมินภายใน 2 เดือน นับแต่วันประกาศ 3. กรณีอื่น ๆ นอกเหนือจาก ที่กำหนดไว้ ให้พิจารณา เป็นราย ๆ ไป ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

34 RID ดำรงตำแหน่ง K2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี มีสิทธิ์ได้รับเงิน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ดำรงตำแหน่ง K2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ในสายงานที่ กฎ ก.พ ว่าด้วยการให้ข้าราชการ พลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง พ.ศ.2551 มีสิทธิ์ได้รับเงิน RID ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีประเมินบุคคลเพื่อเลื่อน K2 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

35 ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล
ส่วนวิชาการและประเมินบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล


ดาวน์โหลด ppt การเปลี่ยนชื่อตำแหน่งในสายงาน (จากชลประทาน เป็นโยธา) สังกัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google