ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ฝึกปฏิบัติ กระบวนการแผนพัฒนาหมู่บ้าน
โดย ประหยัด พุดจีบ ฝึกปฏิบัติ กระบวนการแผนพัฒนาหมู่บ้าน โครงการชุมชนเข้มแข็งยั่งยืน จังหวัดสุรินทร์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
2
การวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน/ชุมชน
๑ การวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้ได้ สิ่งดี – สิ่งไม่ดี ในหมู่บ้าน สถานการณ์ดี – สถานการณ์ไม่ดี นอก หมู่บ้าน
3
วิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชน
สิ่งดี ในหมู่บ้าน สิ่งไม่ดี สถานการณ์ดี นอกหมู่บ้าน สถานการณ์ไม่ดี
4
ข้อมูลและสารสนเทศรอบด้าน
วิเคราะห์ข้อมูล จปฐ. กชช๒ค ทุนชุมชน แผนที่ภูมิศาสตร์ ข้อมูลด้านสุขภาพ คำบ่นคนในหมู่บ้าน เวทีประชาคม
5
ข้อคำถามเปิดประเด็นปัญหา
คณะทำงาน กม. บริหารจัดการ ปกครองความสงบ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ชีวิตประจำวัน อาหารการกิน ความปลอดภัย อาชีพ รายรับ-รายจ่าย รักษาสุขภาพ งานประเพณี การพักผ่อน วงจรชีวิตมนุษย์ เกิด เติบโต ศึกษา บวช แต่งงาน ครอบครัว เจ็บป่วย สูงอายุ ตาย
6
ระดมสมอง (Brainstorming)
เน้นปริมาณ งดวิจารณ์ รับความแปลก รวมความคิด
7
สิ่งดี – สิ่งไม่ดี ในหมู่บ้าน
ลุงผึ้ง ทำเกษตรอินทรีย์มา ๑๕ ปี ใช้ควายไถนา มีข้าวกินครบปี มีผัก-ปลาขายตลอดปี มีเงินเก็บ สร้างบ้าน ซื้อที่ดินให้ลูกๆ หมู่บ้านจัดตลาดชุมชน ทุกวันเสาร์ เน้นอาหารปลอดภัย ค่าเช่าถูก มีป่าชุมชนที่สมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารกว่า ๕ แสนบาท/ปี สิ่งไม่ดี ขาดทุนจากทำนา 3,000 บาท/ไร่ ไม่มีระบบชลประทานเพื่อการเกษตร พึ่งน้ำฝน คนติดสุราเรื้อรัง ๑๐ คน ก่อความวุ่นวาย ว่างงาน ภาระของหมู่บ้าน คนสูบบุหรี่ ๔๐ คน เด็กเลียนแบบ คนในครอบครัวเป็นหอบหืด
8
สถานการณ์ดี – ไม่ดี นอกหมู่บ้าน
จังหวัด เพิ่มศักยภาพภาคเกษตร ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ จังหวัด ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน คนสนใจดูแลสุขภาพ เน้นอาหารปลอดภัย กระแสนิยมท่องเที่ยววิถีชีวิต พักโฮมสเตย์ รัฐมีงบประมาณมาให้ชุมชนคิดเองทำเอง สถานการณ์ไม่ดี ราคาผลผลิตทางการเกษตรต่ำ ไม่สามารถควบคุมได้ ราคาปัจจัยการผลิตราคาสูง ไม่แน่นอน ภาวะโลกร้อน น้ำซับหาย แล้งหนัก ท่วมหนัก การค้าเสรี นายทุนใหญ่ลงทุนแข่ง SME ร้านค้าเล็กๆ
9
การจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ปัญหา
๒ การจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้ แนวทางแก้ไขปัญหา
10
จัดหมวดหมู่ปัญหา สิ่งไม่ดี สังเคราะห์ เรียงลำดับ มาก > น้อย
ในหมู่บ้าน สังเคราะห์ (จัดกลุ่ม) เรียงลำดับ มาก > น้อย
11
จัดหมวดหมู่ปัญหา สิ่งไม่ดี ขาดน้ำเพื่อการเกษตร ขาดทุนจากการทำนา
ติดสุราเรื้อรัง ติดบุหรี่ ขาดทุนจากทำนา 3,000 บาท/ไร่ ไม่มีระบบชลประทานเพื่อการเกษตร พึ่งน้ำฝน คนติดสุราเรื้อรัง ๑๐ คน ก่อความวุ่นวาย ว่างงาน ภาระของหมู่บ้าน คนสูบบุหรี่ ๔๐ คน เด็กเลียนแบบ คนในครอบครัวเป็นหอบหืด
12
วิเคราะห์ปัญหา ปัญหา สาเหตุ ๑ สาเหตุ ๒ สาเหตุ ๓ แนวทางแก้ไข ๑.๑
แนวทางแก้ไข ๑.๒ สาเหตุ ๒ แนวทางแก้ไข ๒.๑ แนวทางแก้ไข ๒.๒ แนวทางแก้ไข ๒.๓ สาเหตุ ๓ แนวทางแก้ไข ๓.๑ ปัญหา
13
วิเคราะห์ปัญหา ขายทุนจากการทำนา 3,000 บาท/ไร่ ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ
แนวทางแก้ไข ขายทุนจากการทำนา 3,000 บาท/ไร่ -ฝนแล้ง, น้ำท่วม -ผลผลิตเสียหาย -ปริมาณต่อไร่ลดลง -ความเครียด -ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ -ทำแก้มลิงเก็บน้ำ, ขุดบ่อในนา -เจาะน้ำบาดาล -เปลี่ยนชนิดพืชหรือเลี้ยงสัตว์ -ต้นทุนสูง (ปุ๋ย, ไถ, เก็บเกี่ยว) -เงินลงทุนสูง -กู้ยืมเงินใน-นอกระบบ -ทำปุ๋ยชีวภาพใช้เอง -รวมกลุ่มบริการรถไถ -รวมกลุ่มลงแขก -ขายได้ราคาต่ำ -รายได้น้อย -ความเครียด -แปรรูปก่อนขาย -ขายตรงให้ผู้บริโภค -รวมกลุ่มรับซื้อรอขาย
14
การกำหนดอนาคตของหมู่บ้าน
๓ การกำหนดอนาคตของหมู่บ้าน เพื่อให้ได้ ความฝันในอีก ๔ ปี พร้อมเส้นทางไป
15
การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน
ความฝัน เส้นทางสู่ฝัน ๑ เส้นทาง สู่ฝัน ๒ สู่ฝัน ๓ สู่ฝัน ๔ สู่ฝัน ๕
16
การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน
เส้นทางสู่ฝัน ๑ แนวทาง ๑ แนวทาง ๒ แนวทาง ๓
17
การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน
ศูนย์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สังคมพึ่งพาตนเองได้ในทุกด้าน มีสวัสดิการของคนทุกวัย ภายใต้การจัดการชุมชนอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมอาชีพตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาการบริหารจัดการชุมชน
18
การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน
ความฝัน ๒๕๕๗ ศูนย์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สังคมพึ่งพาตนเองได้ในทุกด้าน มีสวัสดิการของคนทุกวัย ภายใต้การจัดการชุมชนอย่างเป็นระบบ ความฝัน ๒๕๖๔ สังคมอุดมปัญญา พัฒนาคุณภาพชีวิต จิตใจดีงามและเข้มแข็ง ต้นแบบแห่งหมู่บ้านจัดการตนเอง
19
การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน
สังคมอุดมปัญญา พัฒนาคุณภาพชีวิต จิตใจดีงามและเข้มแข็ง ต้นแบบแห่งหมู่บ้านจัดการตนเอง พัฒนาคนและภูมิปัญญา พัฒนาเศรษฐกิจตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการ พัฒนาการบริหารจัดการชุมชน
20
จัดกลุ่มแนวทางแก้ไขปัญหา
เส้นทางสู่ฝัน ๑ เส้นทางสู่ฝัน ๒ เส้นทางสู่ฝัน ? เส้นทางสู่ฝัน ๓
21
การกำหนดแผนงาน/โครงการ
๔ การกำหนดแผนงาน/โครงการ เพื่อให้ได้ แผนงาน/โครงการในระยะ ๔ ปี
22
การกำหนดแผนงานโครงการ
แนวทาง แก้ไข สิ่งดีในหมู่บ้าน สถานการณ์ไม่ดีนอกหมู่บ้าน สถานการณ์ดีนอกหมู่บ้าน แผนงาน โครงการ
23
การกำหนดแผนงานโครงการ
ที่ ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตโครงการ) งบประมาณและที่มา ผู้รับผิดชอบ ประเภท ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ สงกรานต์สืบสานประเพณีไทย -ขอขมากรรมผู้ใหญ่-ขอพร -เล่นน้ำสงกรานต์ในชุมชน -สรงน้ำพระประธานฯ -กิจกรรม ๑ วัน -คนเข้าร่วม ๑๐๐ คน ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) กลุ่มเยาวชน ทำเอง ผู้เสนอโครงการ, รับผิดชอบดำเนินงาน = คณะทำงานของ กม. ทำเอง, ทำร่วม, ทำให้
24
การกำหนดแผนงานโครงการ
ตารางสรุปแผนงานโครงการ ปี พ.ศ. ทำเอง ทำร่วม ทำให้ รวม จำนวน งบประมาณ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔
25
การขับเคลื่อนแผนพัฒนาหมู่บ้าน สู่การนำไปใช้ (แผนฯ มีชีวิต)
โครงการชุมชนเข้มแข็งยั่งยืน จังหวัดสุรินทร์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
26
แผนฯ มีชีวิต สร้างการยอมรับทั้งหมู่บ้าน (ทำร่าง-แจก-รับรอง-ประกาศใช้)
กำหนด กติกา ร่วมกัน ทำโครงการในแผนฯ เท่านั้น เมื่อมีงบประมาณ ทำโครงการในแผนฯ เท่านั้น จัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปี และติดประกาศ เข้าร่วมเวทีบูรณาการแผนฯ ทุกระดับ เสนอแผนฯ ต่อหน่วยงาน จัดทำแบบติดตามประเมินผลแผนพัฒนาหมู่บ้าน สรุปรายงานประจำปี เพิ่มเติม ปรับปรุงได้ตลอด โดยประชาคมรับรอง จัดเวทีทบทวนแผนปีละครั้ง เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์
27
การเลือกโครงการสู่บูรณาการ
เฉพาะโครงการที่ทำไม่ได้ เกินกำลัง โครงการที่เชื่อมโยงกับพื้นที่อื่น ต้องใช้ความร่วมมือ โครงการที่สอดคล้องยุทธศาสตร์แต่ละระดับ/ภารกิจเฉพาะหน่วยงาน สอดคล้องห้วงเวลากระบวนการแผนแต่ละระดับ
28
แหล่งข้อมูล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.