งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
ปิยะวัติ บุญ-หลง สถาบันคลังสมองของชาติ

2 วิชาการ 4 ประเภท ของมหาวิทยาลัย(Boyer, 1990)
การค้นพบใหม่ (Discovery) การประยุกต์ (Application) การเรียนการสอน (Teaching & Learning) การบูรณาการ (Integration) วิชาการ (Scholarship)

3 หลักคิด “วิชาการเพื่อสังคม”
วิจัย บริการ 1.“ผล” ต่อสังคม “โจทย์” จากสังคม การเรียนการสอน 2. “ผล” ต่อวงการวิชาการ กระบวนการมีส่วนร่วม

4 ความแตกต่างจาก “วิชาการแบบเดิม”
Basic Research Applied Research Translational Research Product or process “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้”

5 “วิชาการเพื่อสังคม” “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้” Publ. Publ.
Solutions การเรียนการสอน Basic Research Applied Research “Problem solving” โจทย์ในพื้นที่ “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้”

6 “ทำนามให้เที่ยง” “วิชาการเพื่อสังคม” “วิชาการรับใช้สังคม”
การทำงานทางวิชาการที่มีโจทย์มาจากสังคม ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม และเกิดประโยชน์ต่อสังคม “วิชาการรับใช้สังคม” ผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ “University Engagement” เป็นพันธกิจที่มหาวิทยาลัยพึงมีกับสังคม (ผ่านการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ)

7 คนที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยแบบเดิม : งานวิชาการรับใช้สังคม : นักวิจัย
หน่วยงานต้นสังกัด แหล่งทุน งานวิชาการรับใช้สังคม : Stakeholders ในพื้นที่

8 “Stakeholders”  การกำหนดโจทย์
“โครงการเพิ่มรายได้ของเกษตรกร ผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์” ผู้บริโภค ธกส. ตลาด กลุ่มอื่นๆ ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ กลุ่มผู้ผลิต เกษตรกร นักวิชาการ? ผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ “โครงการเครือข่ายเกษตรกรและผู้บริโภคเกษตรอินทรีย์”

9 บทบาทของนักวิชาการ วิจัยแบบเดิม :
หาคำตอบก่อน แล้วถ่ายทอดสู่ชุมชนเพื่อใช้แก้ปัญหา วิชาการรับใช้สังคม ร่วมกับชุมชนในการทบทวนสถานการณ์ เลือกโจทย์ และพัฒนาโจทย์ พัฒนาคำตอบ ทดลองทำร่วมกับชุมชน และปรับคำตอบให้เหมาะสมกับชุมชน ถอดบทเรียน วิเคราะห์/สังเคราะห์สู่วงการวิชาการ

10 บทบาทของชุมชน ในสายตาของนักวิชาการ
วิจัยแบบเดิม : เป็นแหล่งข้อมูล/กลุ่มเป้าหมาย เป็นที่ทดสอบหรือลองใช้ทฤษฎี วิธีการ เครื่องมือ เป็นพื้นที่ถ่ายทอดเทคโนโลยี วิชาการรับใช้สังคม : ชุมชนเป็นพื้นที่เรียนรู้และสร้างความรู้ร่วมกัน ต่างฝ่ายต่างมีความรู้ที่จะมา contribute ต่างฝ่ายต่างมีปัญหา?

11 วิธีหาคำตอบแบบต่างๆ ชุมชน มหาวิทยาลัย Knowledge Transfer D A A’ E
“Academic R” “Participatory R โดยนักวิชาการ” “Participatory R โดยชุมชน” “Empowerment”

12 ทำไมจึงต้องทำ/ควรทำงานนี้ ?
วิจัยแบบเดิม : สร้างความรู้สู่สากล /contribute สู่องค์ความรู้ของมนุษยชาติ -> “knowledge agenda” นำกลับเข้าสู่การเรียนการสอน วิชาการรับใช้สังคม : ช่วยเหลือผู้ที่เสียเปรียบในสังคม เพิ่มคุณค่าความเป็นมนุษย์ ลดความเหลื่อมล้ำ  “social agenda” สร้างความภูมิใจ ความหมายให้กับชีวิตของผู้ทำ  “values agenda”?

13 จุดเริ่มต้น : “ทุนเดิม”
งานวิจัยแบบเดิม : ทบทวนวรรณกรรม => มองหา “ความใหม่” งานวิชาการเพื่อสังคม : ทบทวนประสบการณ์ของชุมชน + ความรู้ภายนอก => มองหา“คำตอบ”

14 “เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม
“เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้วิชาการ โจทย์ของชุมชน ร่วมปฏิบัติการ สรุปผล

15 “เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม
“เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่พัฒนาเพิ่มขึ้น ความรู้เชิงวิชาการ ที่ปรับให้เหมาะสมกับบริบท โจทย์ของชุมชน ทดลองปฏิบัติการ ทบทวนผล

16 ข้อจำกัดเท่าที่ผ่านมา : วิชาการ
คำตอบสำหรับชุมชน ข้อค้นพบทางวิชาการ? Basic Research Applied Research “บริการวิชาการ” โจทย์ในพื้นที่ “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อชุมชน”

17 การสร้างผลงานวิชาการรับใช้สังคม
การตั้งโจทย์ -โจทย์ของชุมชน (แก้ปัญหา) -โจทย์ของนักวิชาการ (สงสัย) -โจทย์ของ stakeholders อื่นๆ กระบวนการทำ -อย่างมีส่วนร่วม -ได้รับการยอมรับ การสรุป/เขียน -เพื่อตอบโจทย์ที่ตั้งไว้ -โดยมีหลักฐานยืนยัน (การเปลี่ยนแปลง) -โดยมีหลักคิด/ทฤษฎีอธิบาย (งานวิชาการ)

18 6. ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
จัดทำเป็นเอกสาร ที่ปนระกอบด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้ สถานการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง การมีส่วนร่วมและการยอมรับของกลุ่มเป้าหมาย กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมา แนวทางการติดตามและธำรงรักษา

19 “กระบวนทัศน์” ที่แตกต่าง
วิชาการเพื่อสังคม โจทย์จากสถานการณ์จริง ผู้ใช้มีส่วนร่วมคิดร่วมทำ เวลา-ค่าใช้จ่ายพอเหมาะ ปัญหาถูกคลี่คลาย ต่อยอดด้วยสาขาวิชาอื่นๆ ขยายผลไปสู่ผู้ใช้อื่นๆ วิชาการแบบเดิม ความใหม่ของโจทย์ วิธีการตามแบบแผน เวลา-ค่าใช้จ่ายตามแหล่งทุน ผลทำซ้ำได้ ลงลึกในสาขาวิชาเดิม ถูกอ้างอิงโดยนักวิชาการ

20 Check list การทำงานวิชาการเพื่อสังคม (Transformative worldview, Sweetman, 2010)
โจทย์วิจัยมาจากกระบวนการร่วมกับชุมชนหรือไม่? ชุมชนได้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน (actively engaged) ในการทำหรือไม่? การเก็บข้อมูลและผลของข้อมูลเกิดประโยชน์กับชุมชนอย่างไร? ได้คำนึงถึงความหลากหลายต่างๆในชุมชนหรือไม่? ผลงานวิจัยได้เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชุมชนหรือไม่? ผลงานได้สร้างความเปลี่ยนแปลงเชิงสังคมในชุมชน/นอกชุมชนอย่างไร?

21 ”คุณภาพ”ของผลงานวิชาการที่ดี
มีเป้าหมายชัดเจน (clear goals) –และคู่ควร มีการเตรียมการอย่างเหมาะสม (adequate preparation) –แสดงถึงความเข้าใจในเนื้อหา ใช้วิธีการที่เหมาะสม (appropriate methods) – แสดงถึงความเข้าใจในเครื่องมือทางวิชาการ เกิดผลที่สำคัญ (significant results) – ผลงานนั้นเพิ่มเติมความรู้ให้กับวงการ และผู้อื่นนำไปต่อยอดได้ นำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (effective presentation) มีการทบทวนวิจารณ์ผลงานของตนเอง (reflective critique)

22 การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม
ผศ. รศ. ศ. การสอน ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการลักษณะอื่น ผลงานวิชาการรับใช้สังคม

23 การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม
วิธีดำเนินการ (procedure) ใช้วิธีเดียวกันกับการขอตำแหน่งวิชาการปกติ ไม่ถือว่าเป็นการเปลี่ยนสาขา ตัวผลงาน จัดทำเป็นเอกสาร + สื่อชนิดอื่นๆ เทียบเท่าผลงานวิจัย และผลงานวิชาการในลักษณะอื่น การมีส่วนร่วม ไม่คิดเป็นร้อยละ แต่ให้ระบุบทบาท การเผยแพร่ เผยแพร่อย่างกว้างขวาง โดยประจักษ์ต่อสาธารณะ (ผ่านงานนิทรรศการ การนำเสนอ สื่อมวลชน ฯลฯ)

24 ลักษณะของผลงานทางวิชาการ (ก.พ.อ.)
ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น บทความวิชาการและบทปริทัศน์ ตำรา หนังสือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม

25 1. ผลงานวิจัย เป็นงานศึกษาหรืองานค้นคว้าอย่างมีระบบ ด้วยวิธีวิทยาการวิจัยที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ และมีที่มาและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล คำตอบ หรือข้อสรุปรวม ที่จะนำไปสู่ความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือการใช้ประโยชน์ (ประกอบด้วยโจทย์ การทบทวนวรรณกรรม วิธีการเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผล ฯลฯ) แบ่งเป็น 2 ประเภท บทความวิจัย (“form” ตามวารสาร) รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ต้องมี peer review ต้องมีการเผยแพร่

26 2. ผลงานวิชาการลักษณะอื่น
งานศิลปะและงานสร้างสรรค์ งานแปล ฯลฯ

27 3. บทความวิชาการและบทความปริทัศน์
ผลงานค้นคว้าที่มีระบบและวัตถุประสงค์ชัดเจน ทำให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเป็นงานที่ประเมินสถานะล่าสุดทางวิชาการ (state of the art) เฉพาะทาง ที่มีการศึกษาค้นคว้า มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ ทั้งทางกว้างและทางลึกอย่างทันสมัย โดยให้ข้อวิพากษ์ที่ชี้ให้เห็นแนวโน้มที่ควรศึกษาและพัฒนาต่อไป เผยแพร่ในวารสารวิชาการ หรือหนังสือรวมบทความวิชาการ (ต้องมี “การบรรณาธิการ”)

28 4. ตำรา งานวิชาการที่ใช้สำหรับการเรียนการสอนทั้งวิชา ซึ่งเกิดจากการนำข้อค้นพบจากการวิจัย จากทฤษฎี และความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ รวบรวมและเรียบเรียง ประกอบด้วยมโนทัศน์หลักที่เป็นแกนกลาง และมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กัน มีเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพตามหลักการเขียนที่ดี ใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐานทางวิชาการ และให้ความรู้ใหม่อันเป็นความรู้ที่สำคัญที่มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่วงการวิชาการนั้นๆ ต้องใช้สอนในรายวิชา

29 5. หนังสือ งานวิชาการที่เกิดจากค้นคว้าศึกษาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างรอบด้านและลึกซึ้ง มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยมโนทัศน์หลักที่เป็นแกนกลาง และมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กัน ใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐานทางวิชาการ ให้ทัศนะของผู้เขียนที่สร้างเสริมความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้นๆ ไม่ต้องใช้สอนในรายวิชา แต่ต้องเผยแพร่ไม่น้อยกว่า 4 เดือน ประเภท หนังสือที่นักวิชาการเขียนทั้งเล่ม หนังสือรวบรวมบทความโดยผู้เขียนคนเดียว (ต้องมีการสังเคราะห์แสดงความเชื่อมโยงระหว่างบท) หนังสือรวบรวมบทความโดยผู้เขียนหลายคน (book chapter)

30 ข้อสังเกต : Form vs. Content
Form : how to tell a story บทความวิจัย – บทความวิชาการ ตำรา – หนังสือ Content : what is in the story ผลงานวิชาการรับใช้สังคม

31 การเผยแพร่ วารสาร Proceedings หนังสือรวมบทความ (ที่มี peer reviewจากต่างสถาบัน)

32 จุดอ่อนที่พบในบทความ
การ review สถานการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง ไม่เฉพาะเจาะจงกับกลุ่มเป้าหมายหรือสถานการณ์พื้นที่ กระบวนการและเครื่องมือที่ใช้ ไม่มีแหตุผลที่มา และไม่มีการวิเคราะห์ว่าเหตุใดจึงประสบความสำเร็จ/ไม่สำเร็จกับกลุ่มเป้าหมายนี้ ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ ไม่ชัดเจนหรือไม่หนักแน่นพอ ผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ยังไม่ชัดเจน ไม่มีหลักฐานข้อมูลยืนยัน มาตรการหรือกลไกที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงนั้นต่อเนื่อง ยังไม่มี (เพื่อนำไปสู่“ความยั่งยืน”)

33 บทบาทของมหาวิทยาลัยในการสนับสนุนผลงานวิชาการรับใช้สังคม
อนุญาตให้ออกไปทำงาน ตรวจสอบการมีอยู่จริงของผลงานวิชาการรับใช้สังคม และรับรองการใช้ประโยชน์ (หากจำเป็น) สนับสนุนการเผยแพร่ผลงาน (นิทรรศการ, การประชุมวิชาการ, events) อาจแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิด้านชุมชนร่วมพิจารณาผลงานได้อีก 2 คน  จัดทำบัญชีรายชื่อ?

34 สถานภาพปัจจุบัน ของผลงานวิชาการเพื่อสังคม/รับใช้สังคม
สถานภาพปัจจุบัน ของผลงานวิชาการเพื่อสังคม/รับใช้สังคม นักวิจัย และทุนวิจัย : มีอยู่บ้างแล้ว นโยบายและการสนับสนุนของมหาวิทยาลัย มีหลายแห่ง การขอตำแหน่งด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม กำลังอยู่ระหว่างการ process ในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตัวอย่างกรณีศึกษา engagement 50 กรณี การประชุมวิชาการ มีจัดโดยมหาวิทยาลัยหลายแห่ง (Engagement Thailand ครั้งที่ 3 : มิถุนายน 2559 ที่ มทส.) บัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ เกณฑ์การประเมินคุณภาพ และการทำความเข้าใจกับผู้ทรงคุณวุฒิ


ดาวน์โหลด ppt ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google