งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการตรวจสุขภาพ กองทุนแม่ของแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการตรวจสุขภาพ กองทุนแม่ของแผ่นดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการตรวจสุขภาพ กองทุนแม่ของแผ่นดิน
ดร. ขนิฏฐา กาญจนรังษีนนท์ ที่ปรึกษาอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

2 บันทึกผลการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ผ่านเว็บไซต์กรมการพัฒนาชุมชน จำนวน ๑๑,๕๘๖ กองทุน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ - จำนวนสมาชิกกองทุนแม่ ๑,๒๔๗,๔๒๙ ครัวเรือน - จำนวนเงินกองทุน ๔๘๓,๐๗๕,๕๕๖ บาท - เงินฝากธนาคาร ๓๒๐,๓๐๖,๐๗๔ บาท

3 อุตรดิตถ์ 497 เชียงใหม่ 323 อุบลราชธานี 260 อุดรธานี 252 ยโสธร 243
นครราชสีมา 241 บุรีรัมย์ 222 ขอนแก่น 221 ปทุมธานี 202 สุรินทร์ จำนวนกองทุน สำหรับจังหวัดที่มีมากกว่า 200 กองทุน

4 ตรัง 101 ลพบุรี 94 บึงกาฬ* 82 ภูเก็ต 60
จำนวนกองทุน สำหรับจังหวัดที่มีต่ำกว่า 200 กองทุน

5 สถานการณ์ กองทุนแม่ของแผ่นดิน

6 เกณฑ์การคิดค่าคะแนน  เกณฑ์การตรวจสุขภาพมีทั้งหมด ๔ ด้าน ๑๙ ตัวชี้วัด ด้านที่ ๑ การบริหารจัดการกองทุนแม่ของแผ่นดิน มี ๕ ตัวชี้วัด ด้านที่ ๒ การบริหารเงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน มี ๔ ตัวชี้วัด ด้านที่ ๓ การดำเนินงานด้านยาเสพติด มี ๖ ตัวชี้วัด ด้านที่ ๔ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกองทุนแม่ของแผ่นดิน มี ๔ ตัวชี้วัด  แต่ละตัวชี้วัดมีค่าคะแนนเท่ากับ ๐ – ๓ คะแนน

7 1. การบริหารจัดการกองทุน
จำนวน กองทุน จำนวนกองทุน ค่าเฉลี่ย 1) การจัดตั้งกก.กองทุน จัดตั้งและทำหน้าที่ทุกคน 6,525 (57.49%) ยังไม่ได้จัดตั้ง 427 (3.76) 2.42 2) การประชาสัมพันธ์สร้างศรัทธากองทุน ปฏิบัติเป็น ตย.และเชิญชวนให้ ปชช.ศรัทธาสมัครเป็นสมาชิก 6,063 (53.42%) ไม่มีการ ประชาสัมพันธ์ 701 (6.18%) 2.24 3) การดูแลครัวเรือนสมาชิกกองทุน ติดตามดูแลใกล้ชิดทุกเดือน 3,270 (28.81%) ไม่มีการติดตาม 1,148 (10.11%) 1.78 4) ระเบียบบริหารจัดการกองทุน มีลายลักษณ์อักษรทำตามเคร่งครัด 5,572 (49.09%) ไม่มีระเบียบ 1,204 (10.61%) 2.03 5) การมีส่วนร่วมของสมาชิก มากกว่า 80% มีส่วนร่วม 3,565 (31.41%) น้อยกว่า 50% มีส่วนร่วม 814 (7.17%) 1.99

8 2.การบริหารเงินกองทุน จำนวน กองทุน จำนวนกองทุน ค่าเฉลี่ย
6) จำนวนเงินพระราชทานขวัญถุง อยู่ครบเต็มจำนวน 8,990 (79.21%) ไม่มีเงินเหลือแล้ว 444 (3.91%) 2.66 7) การจัดทำบัญชีในการรับ – จ่าย เงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน มี ถูกหลักและเป็นปัจจุบัน 5,324 (46.91%) ไม่มีการจัดทำบัญชี 1,252 (11.03%) 1.98 8) การสมทบเงินทุนด้วยวิธีแห่งศรัทธา สมาชิกบริจาคแรกเข้าและบริจาครายเดือน/ปีเป็นประจำ 2,391 (21.07%) ไม่มีการสมทบ 0.00 1.87 9) การสมทบเงินด้วยวิธีแห่งปัญญา สมทบเป็นประจำทุกปี ไม่น้อยกว่าปีละ 6 ครั้ง 999 (8.80%) ไม่มีการสมทบเงินทุน 3,316 (29.22%) 1.09

9 3.การดำเนินงานด้านยาเสพติด
จำนวน กองทุน จำนวนกองทุน ค่าเฉลี่ย 10) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด ประจำทุกเดือน 2,505 (22.07%) ไม่มี 1,726 (15.21%) 1.50 11) กิจกรรมเพื่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มเสี่ยง ไม่น้อยกว่าปีละ 6 ครั้ง 1,750 (15.42%) 2,128 (18.75%) 1.40 12) รณรงค์ ปชส.ให้เห็นโทษภัยของยาเสพติด มากกว่าปีละ 6 ครั้ง 2,619 (23.07%) 1,676 (14.77%) 1.54 13) การค้นหา/สำรวจ ผู้เสพยาเสพติดเพื่อแก้ไข ทุกเดือน 3,098 (27.30%) ไม่ได้ทำ 1,654 (14.57%) 1.63 14) การช่วยเหลือ, ฟื้นฟูจิตใจผู้เสพที่กลับตัว ช่วยเหลือ ฟื้นฟูและเตรียมชุมชน 3,232 (28.48%) 2,730 (24.05%) 1.55 15) การส่งเสริมอาชีพ หางานให้ผู้กลับตัวทุกคนส่งเสริมอาชีพกลุ่มเสี่ยง 1,686 (14.85%) 4,701 (41.42%) 1.10

10 4.การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกองทุน
จำนวน กองทุน จำนวนกองทุน ค่าเฉลี่ย 16) การเป็นแหล่งศึกษาดูงาน มีคนมาดูงาน ประจำทุกเดือน 351 (3.09%) ไม่มีใครมาดูงาน 8,188 (72.14%) 0.44 17) การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับกองทุนอื่น เป็นเครือข่ายกับกองทุนอื่น มากกว่า 4 กองทุน 2,865 (25.24%) ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย 3,280 (28.90%) 1.38 18) วิทยากรกระบวนการเป็นคนในชุมชน มีคนในชุมชนเป็นวิทยากรและทำหน้าที่ได้เต็มที่ 1,631 (14.37%) ไม่มีใครในชุมชนเป็นวิทยากรกระบวนการ 5,059 (44.57%) 1.11 19) การทบทวน สรุปบทเรียน และพัฒนาการทำงานของหมู่บ้าน ทำอย่างสม่ำเสมอ 2,021 (17.81%) ไม่เคยทำ 2,160 (19.03%) 1.58

11 ผลการวิเคราะห์ในภาพรวม จากประเด็นการตรวจสุขภาพ ๔ ด้าน ๑๙ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ๕ อันดับแรก ที่มีผลการประเมินได้ค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) ลำดับที่ ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์ตัวชี้วัด ค่าเฉลี่ย จำนวนเงินพระราชทานขวัญถุงอยู่ครบเต็มจำนวน ๒.๖๖ มีการจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๒.๔๒ คณะกรรมการมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ในหมู่บ้านและประชาชนทั่วไปมีความศรัทธากองทุนแม่ของแผ่นดิน และเชิญชวนให้ประชาชนสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนแม่ฯ ๒.๒๔ มีระเบียบบริหารจัดการกองทุนแม่ของแผ่นดินที่เป็นของหมู่บ้านเอง ที่เป็นลายลักษณ์อักษรและถือปฏิบัติ ๒.๐๓ สมาชิกมากกว่าร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอน (ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการ ร่วมติดตาม และร่วมรับประโยชน์) ๑.๙๙

12 ผลการวิเคราะห์ในภาพรวม จากประเด็นการตรวจสุขภาพ ๔ ด้าน ๑๙ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ๕ อันดับแรก ที่มีผลการประเมินได้ค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) ลำดับที่ ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์ตัวชี้วัด ค่าเฉลี่ย ๑๖ การเข้ามาศึกษาดูงานขององค์กรหรือหมู่บ้านอื่นๆ ๐.๔๔ มีการสมทบเงินด้วยวิธีแห่งปัญญา (เช่นการจัดงาน กิจกรรม, การขอรับการสนับสนุนจากกองทุนอื่นๆ จาก อบต., NGOs, โครงการของรัฐ) เป็นประจำ ๑.๐๙ ๑๕ มีการส่งเสริมอาชีพ เพิ่มทักษะด้านอาชีพ หรือหางานให้ทำสำหรับกลุ่มเสี่ยง ผู้เสพหรือผู้ค้าที่กลับตัวและผ่านการบำบัดแล้ว ๑.๑๐ ๑๘ มีวิทยากรกระบวนการกองทุนแม่ของแผ่นดินที่เป็นคนในชุมชน ๑.๑๑ ๑๗ การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกองทุนแม่ฯของหมู่บ้านอื่นๆ (มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์, ปรึกษาหารือ, ให้ความร่วมมือ หรือทำกิจกรรมร่วมกัน ๑.๓๘

13 1,655 กองทุน มีคะแนนสุขภาพไม่ถึง 1 คะแนน
55 กองทุน มีคะแนนสุขภาพเต็ม 3 คะแนน 1,655 กองทุน มีคะแนนสุขภาพไม่ถึง 1 คะแนน 4345 กองทุน มีคะแนนสุขภาพไม่ถึงครึ่งของคะแนนเต็ม 222 กองทุน มีแต่สมาชิกจ่ายเงินสมทบกองทุนวันแรกเข้าเท่านั้น แล้วไม่มีอะไรสักอย่าง รวมทั้งไม่มีเงินเหลือแล้วอีกด้วย

14 ลำดับจังหวัดตามระดับสุขภาพของกองทุน
1 ตรัง 2.079 2 ฉะเชิงเทรา 1.987 3 เพชรบูรณ์ 1.970 4 ศรีสะเกษ 1.965 5 เชียงใหม่ 1.926 6 น่าน 1.923 7 อุทัยธานี 1.919 8 แพร่ 1.915 9 พะเยา 1.904 10 อุดรธานี 1.897 11 กาฬสินธุ์ 12 นครศรีธรรมราช 1.890 13 ราชบุรี 1.887 14 สุรินทร์ 1.876 15 เลย 1.874 62 ปทุมธานี 1.559 63 สุพรรณบุรี 1.556 64 ปัตตานี 1.552 65 สตูล 1.514 66 กระบี่ 1.483 67 พังงา 68 สมุทรปราการ 1.480 69 ตาก 1.428 70 พิจิตร 1.425 71 นนทบุรี 72 ชลบุรี 73 ยะลา 1.411 74 สมุทรสาคร 1.282 75 บึงกาฬ* 1.183 76 ภูเก็ต 1.067 ลำดับจังหวัดตามระดับสุขภาพของกองทุน

15 ถ้าจัดกลุ่มหมู่บ้านตามระดับสุขภาพจากคะแนนรวม
 เกณฑ์การตรวจสุขภาพมีทั้งหมด ๔ ด้าน ๑๙ ตัวชี้วัด  แต่ละตัวชี้วัดมีค่าคะแนนเท่ากับ ๐ – ๓ คะแนน คะแนนเต็ม ๕๗ คะแนน ระดับสุขภาพของกองทุนแม่ฯ ค่าคะแนนที่ได้ หมายถึง A มากกว่า หรือ เท่ากับ ร้อยละ ๘๐ กองทุนแม่ของแผ่นดินเข้มแข็ง หมู่บ้านชุมชนมีระบบเฝ้าระวังอย่างยั่งยืน สามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ B มากกว่า ร้อยละ ๕๐ แต่ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ กองทุนแม่ของแผ่นดินเข้มแข็ง หมู่บ้านชุมชนมีการเฝ้าระวัง หากได้รับการพัฒนาศักยภาพในบางด้านจะสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้ได้ C น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ กองทุนแม่ของแผ่นดินที่ต้องมีการปรับปรุง

16 ผลการประเมินระดับสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน
1.73

17 แนวทางการพัฒนากองทุนแม่ของแผ่นดิน
ระดับ A จำนวน ๑,๒๕๔ กองทุน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๘๒ ศักยภาพของกองทุนแม่ของแผ่นดิน  มีผลการประเมินที่สูงในทุกๆด้านตัวชี้วัด  เป็นกองทุนแม่ฯ ที่มีความพร้อม และมีความเข้มแข็ง  มีบางส่วนยังขาดความพร้อมในการเป็นแหล่งศึกษาดูงานขององค์กรหรือหมู่บ้านอื่นๆ แนวทางการพัฒนา  เน้นการพัฒนาเพื่อให้เป็นศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ฯ ที่สามารถเป็นต้นแบบให้กับกองทุนแม่ฯ ระดับอื่นๆได้  การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับกองทุนแม่ของแผ่นดินอื่นๆ

18 แนวทางการพัฒนากองทุนแม่ของแผ่นดิน
ระดับ B จำนวน ๕,๙๙๐ กองทุน คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๗๐ ศักยภาพของกองทุนแม่ของแผ่นดิน ส่วนใหญ่มีผลการประเมินค่อนข้างดี แต่มีประเด็นและตัวชี้วัดที่คะแนนต่ำต้องปรับปรุง ได้แก่  การเข้ามาศึกษาดูงานขององค์กรหรือหมู่บ้านอื่น  มีการสมทบเงินด้วยวิธีแห่งปัญญา  มีการส่งเสริมอาชีพ เพิ่มทักษะด้านอาชีพ หรือหางานให้ทำสำหรับ กลุ่มเสี่ยงฯ แนวทางการพัฒนา  การพัฒนาด้านบริหารจัดการเงินกองทุน เช่น แนวทางการสมทบเงิน ด้วยวิธีแห่งปัญญา การพัฒนาระบบบัญชี  การดำเนินงานด้านยาเสพติด เข่น กิจกรรมการรับรองครัวเรือนที่ไม่ เกี่ยวข้องกับยาเสพติด กิจกรรมสำหรับกลุ่มเสี่ยง และกิจกรรมรณรงค์ ให้เห็นโทษภัยของยาเสพติด  การสร้างความเข้มแข็งเพื่อเตรียมความพร้อมเป็นศูนย์เรียนรู้กองทุน แม่ของแผ่นดิน

19 แนวทางการพัฒนากองทุนแม่ของแผ่นดิน
ระดับ C จำนวน ๔,๓๔๖ กองทุน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕๑ ศักยภาพของกองทุนแม่ของแผ่นดิน  มีผลการประเมินต่ำทุกด้าน และทุกตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา  พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน  ควรทบทวนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา หลักการ และวิธีการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินในระดับพื้นฐาน  เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกองทุนแม่ฯไปพร้อมๆกันในทุกด้าน

20 มีคำถามไหมเอ่ย

21


ดาวน์โหลด ppt ผลการตรวจสุขภาพ กองทุนแม่ของแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google