งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของประเทศไทย (Safety Thailand)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของประเทศไทย (Safety Thailand)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของประเทศไทย (Safety Thailand)
สำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย

2 Safety Thailand

3 พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม 2559 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล

4 การดำเนินการใน 3 มิติ ระยะสั้น (มิถุนายน – พฤศจิกายน 2559) ระยะยาว
การสร้างการรับรู้ และสร้างจิตสำนึก การกำกับดูแล การสร้างการมีส่วนร่วม ในรูปแบบประชารัฐ บูรณาการความร่วมมือ ด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยของประเทศไทย 3 ด้าน ได้แก่ ความปลอดภัยในการทำงานก่อสร้าง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับอัคคีภัย ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี กำหนดยุทธศาสตร์ ด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยของประเทศไทย เพื่อ… “ลดการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และโรคจากการทำงาน ” สร้างเสริมความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตของคนทำงาน ให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืน ระยะสั้น (มิถุนายน – พฤศจิกายน 2559) ระยะยาว ตัวชี้วัด : “อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานลดลง” และ “การสัมผัสอันตรายของกลุ่มเป้าหมายลดลง”

5 การดำเนินงานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2559
การดำเนินงานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2559 ด้านความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับอัคคีภัย ด้านความปลอดภัย ในการทำงานกับสารเคมี ด้านความปลอดภัย (อื่นๆ) โครงการส่งเสริมและพัฒนาความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม (คู่มือตรวจสอบระบบไฟฟ้า ในโรงงาน SMEs) โครงการพัฒนาการดำเนินการด้านความปลอดภัยถังเก็บสารเคมี งานสัมมนาวิชาการ “อุตสาหกรรมปลอดภัย ก้าวไกลและยั่งยืน” โครงการจัดทำระบบบริหารจัดการความปลอดภัยสู่โรงงาน แบบตรวจสอบประเมินตนเอง (Self-Checklist)

6 การดำเนินงานในปีงบประมาณ 2560
กระทรวงอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม ส่งเสริม โครงการ/กิจกรรม (จัดทำคู่มือ,อบรม, ให้ความรู้) กำกับดูแล ตรวจโรงงานด้านความปลอดภัย (ระบบไฟฟ้า, อุปกรณ์ป้องกัน, การจัดเก็บสารเคมี) สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ประสาน ความร่วมมือ

7 การดำเนินการ ปีงบประมาณ 2560
ต.ค. 59 – ธ.ค. 59 กระทรวงแรงงาน (เลขานุการคณะทำงาน) สปภ. ประสานการดำเนินการรวบรวมและประมวลผลการดำเนินการในภาพรวมของ อก. สตป. สปอ. และ สปภ. กรอ. ประสานการดำเนินการรวบรวมและประมวลผลการดำเนินการ สอจ. และ สรข. 1-5 สกอ. ตรวจสอบ กำกับดูแล ด้านความปลอดภัยตามแบบตรวจ (Checklist) จัดทำแนวทาง / คู่มือ /หลักเกณฑ์ / แบบตรวจความปลอดภัยด้านอัคคีภัย และ สารเคมี มี.ค. 60 มี.ค. 60 – ก.ย. 60 ก.ย. 60 ก.ย

8 มุ่งเน้นในเรื่องความปลอดภัยด้านอัคคีภัย และด้านสารเคมี
แนวทางการใช้ แบบตรวจความปลอดภัยภายใต้โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand Checklist) มุ่งเน้นในเรื่องความปลอดภัยด้านอัคคีภัย และด้านสารเคมี เป็นการตรวจสอบความปลอดภัยเชิงกายภาพเบื้องต้น เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย พื้นที่การจัดเก็บ และอันตรายจากสารเคมี ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการตระหนักถึงการป้องกันอันตรายที่จะส่งผลให้เกิดอัคคีภัยและอันตรายจากสารเคมี กลุ่มเป้าหมายแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ 1. กลุ่มโรงงานที่มักเกิดเหตุอัคคีภัย ระเบิด และสารเคมีรั่วไหล เช่น โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ สิ่งทอ เส้นใยจากพืช ฟอกย้อมผ้า การแปรรูปไม้ พลาสติก โฟม กระดาษ ยาง เคมีภัณฑ์ ปิโตรเคมี สารเคมี สารอันตราย สี ทินเนอร์ กากหรือขยะอุตสาหกรรม และอาหาร 2. กลุ่มโรงงานที่ต้องจัดทำรายงานประเมินความเสี่ยงตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดำเนินงาน จำนวน 12 ประเภท

9

10

11 การดำเนินการ ปีงบประมาณ 2561
กิจกรรมยกระดับผู้ประกอบการ SMEs กิจกรรมจัดประชุม/ อบรมและเผยแพร่ความรู้ ผู้ประกอบการ SMEsจำนวน 500 ราย คู่มือ/แนวทางปฏิบัติด้านความปลอดภัย Checklist ISO 45001/ มาตรฐานสากล หลักเกณฑ์หรือมาตรฐานความปลอดภัยสากลเบื้องต้นที่สำหรับ SMEs กิจกรรมจัดทำหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานความปลอดภัย ผู้ประกอบการ SMEs 100 ราย Coaching Verified Revise ประชุมสัมมนาประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน 500 คน สรุปผลการดำเนินโครงการ เผยแพร่ผลการดำเนินโครงการ จำนวน 500 คน จัดฝึกอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ กรอ.และ สอจ. เพื่อให้ความรู้จำนวน 7 ครั้ง จัดสัมมนาเจ้าหน้าที่ กรอ.และ สอจ. เพื่อสรุปผล จำนวน 7 ครั้ง เจ้าหน้าที่ กรอ./สอจ. จำนวน 175 ราย กิจกรรมพัฒนาบุคลากรของรัฐ

12 การจัดทำระบบฐานข้อมูลสารเคมีในโรงงาน
กรอ. โดย สปภ. ร่วมกับ ศสร. ได้จัดทำระบบฐานข้อมูลสารเคมีในโรงงาน พร้อมทั้งดำเนินการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลสารเคมีที่มีการผลิต ใช้ เก็บ ในโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ประโยชน์ที่ได้รับ กำกับดูแล ส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยสารเคมี ให้สามารถประกอบกิจการโรงงานได้อย่างปลอดภัย กรณีเกิดโรงงานอุบัติเหตุ สารเคมีรั่วไหล สามารถนำข้อมูลไปใช้สำหรับหาสาเหตุและแนวทางแก้ไขได้ (กรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา) โรงงานเป้าหมายในการสำรวจข้อมูล 24 ประเภทโรงงาน (จำนวน 3,509 โรงงาน)

13 การติดตามข้อมูลสารเคมีในโรงงาน
กรอ. โดย สปภ. ได้สรุปข้อมูลการรายงานสารเคมีของโรงงานกลุ่มเป้าหมายตามมติ การประชุมการบูรณาการการปฏิบัติงานระหว่าง สอจ. และ กรอ. ครั้งที่ 4-1/2558 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 นำเรียน สตป.สปอ. เพื่อขอความร่วมมือประสาน สอจ. แจ้งผู้ประกอบการที่ยังไม่จัดทำรายงานให้จัดส่งข้อมูลมา กรอ. กรอ. โดย สปภ. ได้สรุปการรายงานข้อมูลสารเคมีประจำเดือน เสนอ สตป.สปอ. เพื่อทราบ ระหว่างเดือนเมษายน 2558 – กุมภาพันธ์ 2559 พร้อมทั้งได้รายงานในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการโรงงาน ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมชุณหะวัณ ว่ามีโรงงานตอบกลับแบบสำรวจสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 34 โรงงาน และมีข้อเสนอแนะให้ กรอ. ได้จัดส่งรายชื่อโรงงานให้ สตป.สปอ. เพื่อแจ้ง สอจ. อีกครั้งหนึ่ง

14 *** ปัจจุบัน (ณ เดือนพฤศจิกายน 2559) มีโรงงานที่ตอบแบบสำรวจ เป็นจำนวนทั้งสิ้น 1,351 โรงงาน
จากจำนวนโรงงานที่เข้าข่ายสำรวจข้อมูลสารเคมีในโรงงาน จำนวน 3,509 โรงงาน

15

16

17 แนวทางการดำเนินการระบบฐานข้อมูลสารเคมีในโรงงาน
รง.3 คำขอรับใบอนุญาต/ขยายโรงงาน รง.3/1 คำขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน) ระบบ FAC ระบุข้อมูลสารเคมีที่ใช้ในโรงงาน ชื่อ ปริมาณการใช้และแหล่งที่มาของวัตถุดิบ ชื่อ ผลิตภัณฑ์ ปริมาณการผลิต และการจำหน่าย ระบุ “ชื่อสาร (Cas no.)” เช่น “กรดซัลฟูริก ( )” สารเคมีที่ต้องระบุ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ สารเปอร์ออกไซด์ สารพิษ สารกัดกร่อน และสารชีวภาพ เช่น จุลินทรีย์ที่ใช้ในกระบวนการผลิต

18 ตัวอย่างการลงข้อมูลสารเคมีในโรงงาน
ผู้ประกอบการ รง.3 คำขอรับใบอนุญาต/ขยายโรงงาน รง.3/1 คำขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน เจ้าหน้าที่ สอจ. และ กรอ. ระบบ FAC

19 การรณรงค์ความปลอดภัยในช่วงฤดูแล้ง
จัดทำข้อปฏิบัติในการป้องกันอัคคีภัยในโรงงานช่วงฤดูแล้ง การปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเชื่อมโลหะ การจัดเก็บและการปฏิบัติงานอื่น ๆ คัดเลือกประเภทโรงงานเพื่อดำเนินการแจ้งเตือนผู้ประกอบกิจการโรงงานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยในเบื้องต้น อาทิเช่น โรงงานแป้ง ลำดับที่ 9(2) โรงงานสิ่งทอ ปั่นด้าย ทอผ้า ลำดับที่ 22(1)(2) โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า ลำดับที่ 28(1) โรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ ลำดับที่ 37 โรงงานผลิตภัณฑ์กระดาษ ลำดับที่ 39 และ 40 โรงงานประกอบกิจการสี ทินเนอร์ ลำดับที่ 45 โรงงานผลิตภัณฑ์ยาง ลำดับที่ 42(1)(3) โรงงานผลิตภัณฑ์พลาสติก ลำดับที่ 53(4)(5)(7)

20 สรุปสถิติการเกิดอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรม ปี 2557-2559
(1 ม.ค – 19 พ.ย. 2559) กลุ่มประเภทโรงงานที่เกิดเหตุเป็น 8 กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มโรงงานสิ่งทอ เส้นใยจากพืช ฟอกย้อมผ้า 2. กลุ่มโรงงานการแปรรูปไม้ 3. กลุ่มโรงงานพลาสติก โฟม กระดาษ ยาง 4. กลุ่มโรงงานเคมีภัณฑ์ ปิโตรเคมี สารเคมี สารอันตราย 5. กลุ่มโรงงานสี สารไวไฟ 6. กลุ่มโรงงานกากหรือขยะอุตสาหกรรม 7. กลุ่มโรงงานอาหาร 8. อื่นๆ ทั่วไป ไม่ใช่โรงงาน เช่น โกดังสินค้า


ดาวน์โหลด ppt โครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของประเทศไทย (Safety Thailand)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google