งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สาเกตนคร การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สาเกตนคร การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สาเกตนคร การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
นายแพทย์ปิติ ทั้งไพศาล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด 18 ตุลาคม 2559

2 1 2 3 4 5 กรอบนำเสนอ ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ
การแปลงนโยบายสู่แผนปฏิบัติ 4 กลไกการขับเคลื่อน 5 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

3 เขตการปกครอง 20 อำเภอ 192 ตำบล 2,444 หมู่บ้าน 1 อบจ. 1 เทศบาลเมือง
ข้อมูลทั่วไป เขตการปกครอง 20 อำเภอ 192 ตำบล 2,444 หมู่บ้าน 1 อบจ. 1 เทศบาลเมือง 72 เทศบาลตำบล 129 อบต. สำนักงานปกครองจังหวัดร้อยเอ็ด   ณ 9 กันยายน 2559

4 หน่วยบริการสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
M2 F1 F2 F3 1 แห่ง 763 เตียง 1 แห่ง 4 แห่ง 11 แห่ง 3 แห่ง 3 / 227 แห่ง ศสม./รพ.สต. A รพ.ร้อยเอ็ด รพ.โพนทอง รพ.เสลภูมิ รพ.สุวรรณภูมิ รพ.เกษตรวิสัย M 2 ภาพรวมจังหวัด 1,713 เตียง สัดส่วน ต่อ ปชก F 1 F 1 รพ.พนมไพร F 2 รพ.ขนาด 30 เตียง รพ.ทุ่งเขาหลวง (เปิดบริการผู้ป่วยใน มิ.ย.59) รพ.หนองฮี รพ.เชียงขวัญ (ยังไม่มีแผนกผู้ป่วยใน) F 3 ศสม. – ศูนย์ กกต. ,นิเวศน์ ,ดงหวาย รพ.สต. 227 แห่ง หมายเหตุ 1.รพ.ภาครัฐสังกัดกระทรวงกลาโหม แห่ง (30 เตียง) 2.รพ.เอกชน แห่ง (200 เตียง)

5 กลุ่มเครือข่ายบริการตามพื้นที่ ( Zonal )
และการพัฒนาสมรรถนะขีดความสามารถ และระบบส่งต่อ แม่ข่ายโพนทอง 4 อำเภอ ประชากร 255,866 คน แม่ข่ายเมืองร้อยเอ็ด 4 อำเภอ ประชากร 267,077 คน เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,040 เตียง ต่อ ปชก. 1 : 321 แม่ข่ายเสลภูมิ 4 อำเภอ ประชากร 287,719 คน ภาพรวมจังหวัด เตียง ต่อ ปชก. 1 : 763 เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,530 แม่ข่ายสุวรรณภูมิ 4 อำเภอ ประชากร 241,904 คน เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,156 แม่ข่ายเกษตรวิสัย 4 อำเภอ ประชากร 255,480 คน เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,070

6 อัตรา:ประชากร (ร้อยเอ็ด)
บุคลากรสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด บุคลากรสาธารณสุข (สังกัด รพ.) จำนวน อัตรา:ประชากร (ร้อยเอ็ด) (คน) แพทย์ 243 1 : 5,382 ทันตแพทย์ 83 1 : 15,759 เภสัชกร 140 1 : 9,343 พยาบาลวิชาชีพ 1,676 1 : 780 พยาบาลวิชาชีพใน รพ.สต คน (ครบทุกแห่ง) บุคลากรทุกวิชาชีพ -สังกัดโรงพยาบาลทุกแห่ง 5,045 คน -สังกัด สสจ คน -สังกัด สสอ.และ รพ.สต คน

7 สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ
2 สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญ จังหวัดร้อยเอ็ด สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ คนร้อยเอ็ด

8 ประชากรจังหวัดร้อยเอ็ด
วัยสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) % วัยทำงาน (15–59ปี) % วัยรุ่น (15–21ปี) % วัยเรียน (5–14ปี) % เด็กปฐมวัย (0 – 5 ปี) % ประชากรกลางปี จำนวน ร้อยละ ชาย 651,893 49.84 หญิง 656,153 50.16 รวม 1,308,046 100 ที่มา: จากสำนักทะเบียนราษฎร์ผ่านสำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล : 30 มิถุนายน

9 อัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่ม
อัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่ม จ.ร้อยเอ็ด ปี อัตรา ต่อ 1,000 ที่มา : ประชากร จำนวนการเกิด การตาย จาก สำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง ( ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2559

10 อัตราตายของประชากร จำแนกตามสาเหตุการตาย 10 อันดับ
จังหวัดร้อยเอ็ด ของปีงบประมาณ มะเร็งทุกชนิด ความดันเลือดสูง และหลอดเลือดในสมอง อุบัติเหตุ ไตอักเสบ ที่มา : ข้อมูลการตาย จากระบบทะเบียนการตาย ของ สนย. ปี 2553 – 2558 ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2559

11 อัตราตายด้วยโรคมะเร็ง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ. ศ
อัตราตายด้วยโรคมะเร็ง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ – 2558 (ต่อแสนประชากร) มะเร็งรวมทุกชนิด มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ที่มา : สำนักโรคไม่ติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข

12 อัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ. ศ
อัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ.2554 – 2558 (ต่อแสนประชากร) หัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดสมอง เบาหวาน หัวใจขาดเลือด ความดันโลหิตสูง ที่มา : สำนักโรคไม่ติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข

13 3 การแปลงนโยบายสู่แผนปฏิบัติ

14 วิสัยทัศน์ “ประชาชนชาวร้อยเอ็ดมีสุขภาพดี ด้วยวิถีแห่งความพอเพียง”
จุดยืนทางยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดร้อยเอ็ด ปี  วิสัยทัศน์ “ประชาชนชาวร้อยเอ็ดมีสุขภาพดี ด้วยวิถีแห่งความพอเพียง” เป้าหมาย : 1.อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ความเชื่อม โยง ตติยภูมิ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ ดำเนิน การ โดยทีมหมอครอบ ครัว SI 1. พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย SI 2 . พัฒนาระบบเฝ้าระวังและจัดการลดโรคและภัยทางสุขภาพ SI 3. พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน SI 4. พัฒนาการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งภาคีเครือข่ายในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน G1 : ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดีตามเกณฑ์ G2 : โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนได้รับการจัดการ ให้ลดลงอย่างมีประสิทธิภาพทุกพื้นที่ G3 : เครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับมีคุณภาพมาตรฐาน G4 : ระบบสุขภาพชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีวัฒนธรรม และความเป็นเจ้าของทางสุขภาพ SI .5 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ G5 : ระบบบริหารจัดการของหน่วยงานสาธารณสุขมีความเป็นเลิศ ทันสมัย บุคลากรสาธารณสุขทั้งระบบมีสมรรถนะสูง มีความสุข มีวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมที่เข้มแข็ง

15 4 กลไกการขับเคลื่อน งานเน้นหนักเชิงนโยบายระดับจังหวัด ปี 2559
การแก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง การป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน 3. การพัฒนาการเด็ก งานเน้นหนักเชิงนโยบายระดับจังหวัด ปี 2560 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 2.การคัดกรองมะเร็ง 3.การควบคุม กำกับงานโดยระบบข้อมูล

16 5 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

17

18 Service Plan Cancer roiet
Early Diagnosis การคัดกรองมะเร็งตับ และมะเร็งท่อทางเดินน้ำดี ด้วย ULTRASOUND ปี 2559 ระดับ เป้าหมาย ตรวจ US ประเทศ 135,000 168,500 124.81% เขต 7 20,000 34,682 (173.41%) จังหวัดร้อยเอ็ด 5,000 17,089 (341.78%) คัดกรองUS ร้อยเอ็ดมากที่สุดของประเทศ ตรวจโดย nurse sonographer และ รังสีแพทย์ ทุกอำเภอ Treatment ผลงานการผ่าตัด CCA อำเภอโพนทอง ข้อมูลจาก ISAN COHORT 1ตค58-30กย59 ข้อมูลจาก ISAN COHORT 1ตค58-30กย59 อำเภอสุวรรณภูมิ

19 จังหวัด จำนวน Ultrasound มีความผิดปกติ สงสัย CCA
ร้อยเอ็ด 17,089 5,917 92 (0.5 %) ขอนแก่น 6,890 2,813 119 (1.7%) กาฬสินธุ์ 6,698 1,561 246 (3.7%) มหาสารคาม 4,005 1,952 44 (1.1%) รวม 34,682 12,243 501 (1.4%) ที่มา : ข้อมูลจาก ISAN COHORT ข้อมูล ณ วันที่ 16 ต.ค. 2559

20 โครงการความร่วมมือกับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์
พัฒนาศูนย์มะเร็ง โรงพยาบาลร้อยเอ็ด ศูนย์มะเร็งเฉลิมพระเกียรติจุฬาภรณ์ร้อยเอ็ด ลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) 22 ธันวาคม 2552 แผนเปิดบริการ รังสีรักษาร้อยเอ็ด – กลางปี 2560 ความร่วมมือ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในโครงการความร่วมมือการพัฒนาระบบการป้องกันและควบคุมมะเร็ง ชั้น1 รังสีวิทยา/รังสีรักษา/ร่วมรักษา/เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ชั้น2 OPD 10ห้อง - Unit Scope 6 เตียง - LAB บริการ ชั้น3 OR 3 ห้อง / ICU -13 เตียง / ห้อง Tele conference ชั้น4 Day care 30 เตียง –หน่วยเตรียมยา-ห้องตัดชิ้นเนื้อ ชั้น5 IPD เคมีบำบัด หญิง-ชาย 56 เตียง ชั้น6 IPD มะเร็งสามัญ หญิง-ชาย 56 เตียง ชั้น7 พิเศษ 16 ห้อง ชั้น8 พิเศษ 16 ห้อง ชั้น9 Lab วิจัย / Patho/ ศูนย์วิจัยมะเร็ง / DMU ชั้น10 ห้องประชุม โครงการความร่วมมือกับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ 1 โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ 2 Surveillance and Treatment Programs for HBsAg -Positive 3 โครงการTiger LC กับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ 4 โครงการพัฒนาระบบการเชื่อมต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 5 โครงการศึกษาวิจัยปัญหาสุขภาพระยะยาวฐานประชากรจังหวัดร้อยเอ็ด LINAC *CT SIM งบประมาณ ปี2560 MRI CT

21 ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง
Palliative care ภาคีเครือข่าย ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. อบต. เทศบาล โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ สนับสนุนงบประมาณ อุปกรณ์ ประสานความร่วมมือ สนับสนุนวิชาการ / รับ-ส่งต่อผู้ป่วย สสจ. วัด/พระองค์กรศาสนา กำกับติดตามดูแล ประสานงานเครือข่าย จิตอาสา ผู้นำทางด้านศาสนา OPD/IPD อสม. PCWN ประเมินผู้ป่วย และส่งปรึกษา ช่วยดูแล ค้นหา ผู้ป่วยในชุมชน องค์กรการกุศล โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต Family Care Team สนับสนุนงบ และอุปกรณ์ ติดตามเยี่ยมบ้าน กับสหวิชาชีพ ติดตามเยี่ยมบ้าน กับสหวิชาชีพ มีความร่วมมือ ทางวิชาการ กับแพทย์ จากสิงคโปร์ เป็นสถานฝึกอบรมภาคปฏิบัติ Palliative care nurse ติดตามเยี่ยมบ้านและบริหารยา-อุปกรณ์ร่วมกันในเครือข่ายเขตสุขภาพที่7 ใช้การสื่อสารแบบ LINE กลุ่ม ผู้ป่วยได้รับบริการทั่วถึงและรวดเร็ว มีการจัดเก็บรายงานทั้งเขตโดโปรแกรม Thai palliative care

22 พัฒนาศักยภาพบุคลากร เขตสุขภาพที่ 7
เขตสุขภาพที่ 7 กระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมนานาชาติ 3-5 สิงหาคม 2559 “การควบคุมโรคมะเร็ง เพื่อความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ทุกนโยบายใส่ใจโรคมะเร็ง” พัฒนาศักยภาพบุคลากร เขตสุขภาพที่ 7 มีความร่วมมือทางวิชาการกับ Khoo teck puat hospital The International Agency for Research on Cancer (IARC) ,WHO มีการศึกษาวิจัยมะเร็งลำไส้ มะเร็งตับในผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี ร่วมกับ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์และศูนย์วิจัยความเป็นธรรมทางสุขภาพ MOU ความร่วมมือกับสถาบันมะเร็งแห่งชาติ 29 เมษายน 2559 อบรมการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง ที่ได้รับยาเคมีบำบัด 38 คน Nurse sonographer 3 รุ่น รวม 29 คน ร่วมกับสถาบันมะเร็ง แห่งชาติ ร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์

23 แผนพัฒนามะเร็งเต้านม
แผนพัฒนาปี 2560 แผนงาน กิจกรรม เป้าหมาย ด้านมะเร็งตับ และท่อน้ำดี primary prevention OV CCA - อบรมNurse sonographer - มีคลินิก US Nurse sonographer เปิดบริการห้องผ่าตัดศูนย์มะเร็ง เตรียมเปิดคลินิกคัดกรองความเสี่ยง มะเร็ง - 6 ตำบล 6 อำเภอ ตามเป้าหมายร่วมกับโครงการ พระราชกุศลฯ - พยาบาลNurse sonographer ครอบคลุมทุกอำเภอ - เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง us - ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัด - คัดกรองกลุ่มเสี่ยง เข้าสู่การตรวจวินิจฉัย รักษา ในระยะต้นๆ ด้านรังสีรักษา - เตรียมเปิดบริการรังสีรักษา - ลดการส่งต่อออกนอกเขตบริการ (refer out นอกเขต) - รับการส่งต่อจากจังหวัดมหาสารคาม กาฬสินธุ์ - รับการส่งต่อจากเขตใกล้เคียง จังหวัดยโสธร ฯลฯ ด้านเคมีบำบัด พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล M2 โรงพยาบาลโพนทอง ในการให้ยาเคมี บำบัด โดย delivery service จัดอบรมพยาบาลให้ยาเคมีบำบัด หลักสูตร10วัน ร่วมกับสถาบันมะเร็ง ลดระยะเวลารอคอยการให้ยาเคมีบำบัด เข้าถึงบริการใกล้บ้าน ใกล้ใจ ลดการส่งต่อ refer in ในจังหวัด พยาบาล 40 คน เพื่อเตรียมความพร้อมเปิดบริการศูนย์ มะเร็งและพัฒนาศักยภาพบุคลากร ใน M1- M2 เขตสุขภาพที่ 7 แผนพัฒนามะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ คัดกรองมะเล็งลำไส้ Colonoscope คัดกรองมะเร็งเต้านม BSC คุณภาพ เตรียมเปิดUnit scope ศูนย์มะเร็ง ค้นหาผู้ป่วยมะเร็งในระยะต้น เพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรอง palliative care - พัฒนาศักยภาพบุคลากร แผนจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ - มีการใช้ Opioid ในการจัดการอาการ ≥80% - มีอุปกรณ์เครื่องมือให้บริการที่เพียงพอ

24

25 HEALTHY PUBLIC POLICIES
CANCER CONTROL IN ALL POLICIES PUBLIC HEALTH POLICIES HEALTHY PUBLIC POLICIES ขอบคุณ Roi Et Provincial Public Health Office


ดาวน์โหลด ppt สาเกตนคร การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google