ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ ดร. กานดา ณ ถลาง
การประชุมอาจารย์ที่ปรึกษานิสิต ชั้นปีที่ 1 และตัวแทนคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2561 วันที่ 9 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ ดร. กานดา ณ ถลาง บัณฑิตวิทยาลัย
2
สิ่งที่นิสิตมาสอบถามที่บัณฑิตวิทยาลัย
นิสิตไม่ทราบข้อบังคับฯ และประกาศฯที่เกี่ยวข้อง นิสิตไม่ทราบปฏิทินการศึกษาฯ และกำหนดการที่เกี่ยวข้อง นิสิตไม่ทราบกระบวนการแต่งตั้งที่เกี่ยวข้องกับการทำปริญญา นิพนธ์/สารนิพนธ์ นิสิตไม่ทราบการตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานฯ นิสิตไม่ทราบช่องทางข่าวสารของบัณฑิตวิทยาลัย อื่นๆ
3
หัวข้อในการประชุม สิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษา และหลักสูตรควรรู้ :
การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา - การลงทะเบียนเรียน - การทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ - การสอบพิเศษ - การจบการศึกษา / พ้นสภาพนิสิต
4
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป : ภาคเรียนแรกที่ เข้าศึกษา
- การลงทะเบียนรายวิชา วางแผน การศึกษาตาม มคอ. 2 อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ - การทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ - การสอบเค้าโครงปริญญานิพนธ์/สาร นิพนธ์ - การสอบปากเปล่าปริญญานิพนธ์/สาร นิพนธ์
5
ระดับประกาศนียบัตร /ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง :
ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก แผน ก (ไม่น้อยกว่า 36 นก.) แผน ข แบบ 1 (เน้นการวิจัย) -ไม่มีรายวิชา -สอบวัดคุณสมบัติ แบบ 2 -มีรายวิชา ก 1 : ไม่มีรายวิชา ปริญญานิพนธ์ 36 นก. สอบประมวลความรู้ มีรายวิชา สารนิพนธ์ 6 หน่วยกิต 1.1 (เข้าวุฒิ ป.โท) ปริญญานิพนธ์ 48 นก 2.1 (เข้าวุฒิ ป.โท) รายวิชา 12 นก. ก 2 : มีรายวิชา ปริญญานิพนธ์ 12 นก. ไม่น้อยกว่า 12 นก. 1.2 (เข้าวุฒิ ป.ตรี) ปริญญานิพนธ์ 72 นก. 2.2 (เข้าวุฒิ ป.ตรี) ปริญญานิพนธ์ 48 นก. รายวิชา 24 นก. ระดับประกาศนียบัตร /ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง : รายวิชารวมกันตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
6
การเรียนในระดับบัณฑิตศึกษา
1.ลงทะเบียนเรียนรายวิชาให้ครบตาม โครงสร้างหลักสูตร 2. ลงทะเบียนสอบพิเศษ 2.1 สอบวัดคุณสมบัติ (ระดับปริญญาเอก) 2.2 สอบประมวลความรู้ (ระดับปริญญาโท) 2.3 สอบสมิทธิภาพทางภาษา (Language Proficiency) 3. ปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ 4. เข้าร่วมกิจกรรม soft skills สำหรับนิสิต ระดับปริญญาเอก
7
การลงทะเบียนและการให้เกรด
ต้องลงทะเบียนให้สอดคล้องและครบถ้วน ตามโครงสร้างของหลักสูตร (มคอ.2) - ภาคเรียนแรกที่เข้าศึกษา หลักสูตรจัด สำรับการลงทะเบียนให้ โดยในภาคถัดไป นิสิตจะต้องเลือกรายวิชาลงทะเบียนเอง - กำหนดวันลงทะเบียน และการขอเพิ่ม- ลดรายวิชาให้เป็นไปตามประกาศของ บัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง ปฏิทินการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา - การลงทะเบียนเรียนรายวิชาจะสมบูรณ์ เมื่อนิสิตได้ชำระค่าลงทะเบียน แต่ถ้าชำระ ภายหลังกำหนด จะต้องถูกปรับตาม ระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
8
การลงทะเบียนและการให้เกรด
ผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตในภาคการศึกษา ใด จะต้องลงทะเบียนรายวิชาในภาค การศึกษานั้น รายวิชาที่หลักสูตรกำหนดว่าต้องเรียน รายวิชาอื่นก่อนหรือบุรพวิชา นิสิตต้อง เรียนและสอบได้รายวิชาหรือบุรพวิชาที่ กำหนดไว้ก่อนจึงจะมีสิทธิลงทะเบียนเรียน ในรายวิชานั้น ให้ลงทะเบียนได้ไม่เกิน 15 หน่วยกิตต่อ ภาคการศึกษา (ไม่นับหน่วยกิตปริญญา นิพนธ์หรือสารนิพนธ์)
9
การลงทะเบียนและการให้เกรด
สามารถลงทะเบียนแบบไม่นับหน่วยกิตได้ ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึกษา และคณาจารย์ผู้สอนรายวิชา การขอถอนการลงทะเบียนรายวิชาใดๆ ต้องยื่นคำร้องก่อนสอบปลายภาคไม่น้อย กว่า 2 สัปดาห์ โดยได้รับการอนุมัติจาก คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิต สำหรับนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนครบตาม แผนการศึกษาที่กำหนดในหลักสูตร แต่ยัง ไม่สำเร็จการศึกษา
10
การเรียนซ้ำหรือเรียนแทน
สามารถลงทะเบียนเรียนซ้ำรายวิชาบังคับ ในหลักสูตรที่สอบได้ต่ำกว่าค่าระดับขั้น B นิสิตที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยนสะสมต่ำกว่า 3 แต่มากกว่า 2.5 สามารถลงทะเบียนเรียน ซ้ำวิชาที่สอบได้ต่ำกว่าค่าระดับขั้น B การประเมินผลให้นำค่าระดับขั้นใหม่ไปใช้ แทนที่ค่าระดับขั้นเดิมในการคำนวณหาค่า คะแนนเฉลี่ยนของภาคการศึกษานั้น
11
การให้เกรด ประเภทหน่วยกิตการลงทะเบียน
Credit นับหน่วยกิต จะใช้ระบบค่าระดับ ขั้น คือ A, B+ B, C+, C, D+, D, E Non-credit ไม่นับหน่วยกิต จะให้เกรด เป็น S/U Audit ไม่นับหน่วยกิต เข้าเรียน > 80% ไม่ต้องสอบ จะให้เกรด AU
12
การให้เกรดเพิ่มเติม P/F (Pass/Fail)
ในกรณี สอบสมิทธิภาพทางภาษา สอบวัด คุณสมบัติ สอบประมวลความรู้ สอบเค้าโครง ฯ สอบปากเปล่าปริญญานิพนธ์ I (Incomplete) ยังไม่ประเมินในภาคนั้นๆ จะ แก้ไขเกรดภายใน 4 สัปดาห์หลังเปิดภาคเรียน ถัดไป ถ้าไม่แก้ไขอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา จะต้องทำเรื่องขอเปลี่ยนเป็นเกรด E และ U IP (In progress) รายวิชาที่มีการดำเนินการ ต่อเนื่องกันเกิน 1 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ต้องไม่ เกิน 2 ภาคการศึกษาถัดไป ถ้าไม่แก้ไข อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะต้องทำเรื่องขอ เปลี่ยนเป็นเกรด E และ U W (Withdraw) ถอนการลงทะเบียนหลัง กำหนดเวลาเพิ่ม-ลดในปฏิทินการศึกษา
13
การให้เกรดเพิ่มเติม ผลการประเมินปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์
1. การประเมินผลแต่ละภาคการศึกษา ให้ประเมินผลโดยใช้สัญลักษณ์ S หรือ U และ เมื่อมีการสอบปากเปล่าปริญญานิพนธ์หรือ สารนิพนธ์ การประเมินผลให้ P หรือ F 2. ระดับคุณภาพของปริญญานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์ในใบแสดงผลการศึกษา เป็น 4 ระดับ คือ ดีมาก (Very Good) ดี (Good) ผ่าน (Pass) ไม่ ผ่าน (Fail)
14
การลาพักการเรียน สามารถยื่นคำร้องขอลาพักการเรียนได้ เฉพาะในช่องที่อยู่ในแผนการเรียนเท่านั้น ช่วงรักษาสภาพนิสิตไม่สามารถลาพักการ เรียนได้ ลาพักการเรียนได้ ครั้งละไม่เกิน 1 ภาค การศึกษา ให้นับระยะเวลาที่ลาพักการเรียนอยู่ใน ระยะเวลาการศึกษาด้วย
15
การเปลี่ยนสภาพนิสิต สามารถเปลี่ยนสาขาหรือระดับการศึกษา ได้ โดยการคัดเลือกจากสาขาวิชาหรือ ระดับการศึกษาที่ต้องการเข้าศึกษา (ตาม ข้อบังคับฯ ข้อ 42)
16
การสอบพิเศษ : สอบสมิทธิภาพทางภาษา
นิสิตทุกหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา จะต้องสอบสมิทธิภาพทางภาษาที่ไม่ใช่ ภาษาอังกฤษของตนอย่างน้อย 1 ภาษา นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง และระดับ ปริญญาโท สามารถยกเว้นให้ไม่ต้องสอบ สมิทธิภาพทางภาษา นิสิตหลักสูตรปริญญาเอกทุกแบบ ไม่มี การยกเว้นให้ไม่ต้องสอบสมิทธิภาพทาง ภาษา และต้องสอบผ่าน เพื่อเป็นผู้มีสิทธิ สอบปากเปล่าปริญญานิพนธ์
17
การสอบพิเศษ : การยกเว้นการสอบภาษา
1. นิสิตสอบภาษาได้แล้วจากสถาบันการศึกษาหรือ หน่วยงานวัดและประเมินผลที่ได้มาตรฐาน (ผล สอบภายใน 2 ปีย้อนหลังนับจากวันที่ขอยกเว้น) คือ ระดับป.บัณฑิต, ป.โท TOEFL : PBT 500, CBT 173, iBT หรือ IELTS: 5.0 2. นิสิตที่กำลังศึกษาหลักสูตรวิชาเอกหรือสาขาวิชา ทางภาษาที่ไม่ใช่ภาษาประจำชาติของตน ซึ่งมี รายวิชาเกี่ยวกับ การอ่าน การใช้ภาษาไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต และมีผลการประเมินผ่านรายวิชานั้น ในค่าระดับขั้นไม่ต่ำกว่า B ขึ้นไป 3. จบการศึกษาจากประเทศที่ใช้ภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษา ของตนเป็นภาษาหลักในการสื่อสารและการศึกษา 4. นิสิตเรียนภาษาอังกฤษที่จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย อย่างน้อย 2 หลักสูตรและสอบผ่านตามประกาศ บัณฑิตวิทยาลัย
18
การสอบพิเศษ : การสอบสมิทธิภาพทางภาษา ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป
การสอบพิเศษ : การสอบสมิทธิภาพทางภาษา ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง แนว ปฏิบัติการสอบพิเศษภาษาอังกฤษ ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 2 กันยายน 2559
19
การสอบพิเศษ : การกำหนดภาษา (เพิ่มเติม) เพื่อใช้สอบสมิทธิภาพทาง ภาษาระดับปริญญาโท
ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง การกำหนด ภาษา (เพิ่มเติม) เพื่อใช้สอบสมิทธิภาพทาง ภาษา (Language Proficiency) ระดับ ปริญญาโท ประกาศ ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2561
20
การสอบพิเศษ สอบวัดคุณสมบัติ(Qualifying Examination) : ระดับปริญญาเอกทุกคน และต้องสอบผ่าน ก่อนเสนอเค้าโครงปริญญานิพนธ์ - แบบ 1 : ศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ภาค การศึกษา - แบบ 2 : ลงทะเบียนรายวิชาครบ และคะแนน เฉลี่ย > 3.00 สอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) : ระดับปริญญาโท) - แผน ก1 : ศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ภาค การศึกษา - แผน ข : ลงทะเบียนรายวิชาครบ และ คะแนนเฉลี่ย > 3.00
21
การสอบพิเศษ สอบวัดคุณสมบัติ(Qualifying Examination) : ระดับปริญญาเอก
สอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) : ระดับปริญญาโท) - นิสิตที่สอบไม่ผ่าน (F) จะต้องสอบแก้ตัว ใหม่ สามารถสอบภายในภาคการศึกษานั้น และมีสิทธิ์สอบเพียง 3 ครั้ง* ถ้า ไม่ผ่าน 3 ครั้ง พ้นสภาพ
22
เกณฑ์ และกฏระเบียบ สำหรับการตรวจสอบผลงานวิจัยสำหรับการขอจบการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา กรณีศึกษา มศว
อ้างอิง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ (นิสิตรหัส 59 ลงมา) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ (นิสิตรหัส 60 เป็นต้นไป) ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง แนวปฏิบัติ เกี่ยวกับการตีพิมพ์ผลงานปริญญานิพนธ์/ สารนิพนธ์เพื่อขอจบการศึกษา ปี การศึกษา 2560 เป็นต้นไป (ฉบับที่ 2)
23
ปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์
แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ (บว.410) แต่งตั้งกรรมการพิจารณาเค้าโครงฯ และ สอบเค้าโครงฯ (บว.411 และ บว. 412) นำเสนอรายงานความก้าวหน้าการทำ ปริญญานิพนธ์ (บว. 420) (กรณีนิสิตรหัส 59 ลงมา) ตีพิมพ์ผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของปริญญา นิพนธ์/สารนิพนธ์ (เป็นผลงานตีพิมพ์ที่ เกิดขึ้นหลังเสนอเค้าโครง) แต่งตั้งกรรมการสอบปากเปล่าฯ (บว.430) และสอบปากเปล่าฯ (บว. 432 ตามกลุ่ม สาขา)
24
ข้อมูลอื่นๆ http://grad.swu.ac.th/
แบบฟอร์มต่างๆ ที่
25
ระยะเวลาการศึกษาฯ ตามข้อบังคับฯ พ.ศ. 2554 และตามข้อบังคับฯ พ.ศ. 2559
ระยะเวลาการศึกษาฯ ตามข้อบังคับฯ พ.ศ และตามข้อบังคับฯ พ.ศ. 2559 ระดับประกาศนียบัตร : ระยะเวลาเรียน 3 ปี(2554) / 2 ปี(2559) ระดับปริญญาโท : ระยะเวลาเรียนไม่เกิน 5 ปี (2554) / 4 ปี (2559) ระดับปริญญาเอก ระยะเวลาเรียน - เข้าวุฒิ ป. ตรี ไม่เกิน 8 ปี (2554) / 7 ปี (2559) - เข้าวุฒิ ป.โท ไม่เกิน 6 ปี (2554) / 5 ปี (2559)
26
(เน้นการศึกษารายวิชา)
ระดับปริญญาโท (ไม่น้อยกว่า 36 นก.) ระดับปริญญาเอก แผน ก (เน้นการวิจัย) แผน ข (เน้นการศึกษารายวิชา) แบบ 1 -ไม่มีรายวิชา -สอบวัดคุณสมบัติ แบบ 2 -มีรายวิชา ก 1 (ไม่มีรายวิชา) ปริญญานิพนธ์ 36 นก. สอบประมวลความรู้ สารนิพนธ์ 6 หน่วยกิต 1.1 (เข้าวุฒิ ป.โท) ปริญญานิพนธ์ 48 นก. 2.1 (เข้าวุฒิ ป.โท) รายวิชา 12 นก. ก 2 (มีรายวิชา) ปริญญานิพนธ์ 12 นก. รายวิชา 24 นก. 1.2 (เข้าวุฒิ ป.ตรี) ปริญญานิพนธ์ 72 นก. 2.2 (เข้าวุฒิ ป.ตรี)
27
อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์หลัก/ร่วม
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ (นิสิตรหัส 58 ลงมา) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ (นิสิตรหัส 59) : คล้ายกับ ข้อบังคับฯ พ.ศ.2559 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ (นิสิตรหัส 60 เป็นต้นไป)
28
คุณสมบัติอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์หลัก/ร่วม
อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์หลัก (1 คน ทั้งระดับปริญญาโท/เอก) อาจารย์ประจำคุณวุฒิป.เอก หรือ เทียบเท่า หรือไม่ต่ำกว่า รศ. มีประสบการณ์ในการทำวิจัยที่มิใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ร่วม (1 คนในระดับปริญญาโท และ 2 คนในระดับ ปริญญาเอก (ถ้ามี) อาจารย์ประจำหรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก คุณวุฒิป.เอก หรือ เทียบเท่า หรือไม่ต่ำ กว่า รศ. หรือ เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะที่แต่งตั้งโดยสภามหาวิทยาลัย / ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (ข้อ บังคับฯ พ.ศ.2559)
29
การสอบเค้าโครงปริญญานิพนธ์ฯ ตามข้อบังคับฯ พ.ศ. 2554
ข้อ 46.2 นิสิตจะดำเนินการเสนอเค้าโครงปริญญานิพนธ์ เมื่อได้ ลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ภาค การศึกษา แต่ไม่เกินภาคเรียนที่ 5 สำหรับหลักสูตรมหาบัณฑิต และไม่เกินภาคเรียนที่ 7 สำหรับหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต โดย กำหนดให้มีการรายงานความก้าวหน้า (Progress Report) ทุก ภาคการศึกษา หากมิได้ดำเนินการรายงานความก้าวหน้า นิสิตอาจ ถูกระงับการลงทะเบียนหรือการรักษาสภาพนิสิตในภาคการศึกษา ถัดไป จากการพิจารณาของคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย
30
การสอบเค้าโครงปริญญานิพนธ์ฯ ตามข้อบังคับฯ พ.ศ. 2559
นิสิตจะดำเนินการเสนอเค้าโครงปริญญานิพนธ์ เมื่อได้ลงทะเบียน เรียนในมหาวิทยาลัยมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา -ไม่เกินภาคเรียนที่ 5 สำหรับหลักสูตรปริญญาโท - ไม่เกินภาคเรียนที่ 7 สำหรับหลักสูตรปริญญาเอก แบบ 2 - ไม่เกินภาคเรียนที่ 5 สำหรับหลักสูตรปริญญาเอก แบบ 1 “โดยต้องผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ ก่อนเสนอเค้าโครงปริญญา นิพนธ์ฯ”
31
คุณสมบัติกรรมการพิจารณาเค้าโครงปริญญานิพนธ์
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ และ พ.ศ. 2559 ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน ที่ประกอบด้วย 1. อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 2. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 3. กรรมการบริหารหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 2 คน กรณีข้อบังคับฯ พ.ศ. 2554 ไม่น้อยกว่า 3 คน กรณีข้อบังคับฯ พ.ศ. 2559
32
การเสนอเค้าโครงฯ ระดับปริญญาโท, ระดับปริญญาเอก แผน ก แผน ข แบบ 1 แบบ 2
ก 1 ระยะเวลาอนุมัติเค้าโครงฯถึงวันสิ้นสุดระยะเวลาการศึกษา คือ 9 เดือน ระยะเวลาอนุมัติเค้าโครงฯถึงวันสิ้นสุดระยะเวลาการศึกษา คือ 3 เดือน 1.1 เข้าวุฒิ ป.โท ระยะเวลาอนุมัติเค้าโครงฯถึงวันสิ้นสุดระยะเวลาการศึกษา คือ 12 เดือน 2.1 เข้าวุฒิ ป.โท ก 2 ระยะเวลาอนุมัติเค้าโครงฯถึงวันสิ้นสุดระยะเวลาการศึกษา คือ 6 เดือน 1.2 เข้าวุฒิ ป.ตรี 2.2 เข้าวุฒิ ป.ตรี
33
การรายงานความก้าวหน้า
ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง การรายงานความก้าวหน้าการทำปริญญา นิพนธ์ ณ วันที่ 12 เมษายน 2555 “..กำหนดให้นิสิตทุกปีการศึกษาที่ได้ทำการเสนอเค้าโครงปริญญา นิพนธ์แล้ว ให้ส่งรายงานความก้าวหน้า (Progress Report) ในการ ทำปริญญานิพนธ์เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษาจนกว่าจะจบ การศึกษา โดยให้ดำเนินการเสนอมายังบัณฑิตวิทยาลัยตามแบบฟอร์ม บว 420 ก่อนการลงทะเบียนของภาคการศึกษาถัดไป..”
34
คุณสมบัติกรรมการสอบปากเปล่าปริญญานิพนธ์
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ และ พ.ศ ระดับปริญญาโท 1. อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 2. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 3. กรรมการบริหารหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 1 คน ซึ่งเคยเข้าประชุมพิจารณา เค้าโครงปริญญานิพนธ์ของนิสิต 4. ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1 คน (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกต้องเป็นประธาน กรณีข้อบังคับฯ พ.ศ. 2559)
35
คุณสมบัติกรรมการสอบปากเปล่าปริญญานิพนธ์
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ ระดับปริญญาเอก (ไม่น้อยกว่า 3 คน) 1. อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 2. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี) 3. กรรมการบริหารหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 1 คน ซึ่งเคยเข้าประชุมพิจารณาเค้า โครงปริญญานิพนธ์ของนิสิต 4. ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ ระดับปริญญาเอก (ไม่น้อยกว่า 5 คน) 3. กรรมการบริหารหลักสูตร ซึ่งเคยเข้าประชุมพิจารณาเค้าโครงปริญญานิพนธ์ ของนิสิต 4. ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เป็นประธานฯ
36
เกณฑ์การประเมิน thesis สำหรับนิสิตทุกรหัสในปีการศึกษา 2560 เป็นต้นไป
40
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษา
ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง แนวปฏิบัติ เกี่ยวกับการตีพิมพ์ผลงานปริญญานิพนธ์/ สารนิพนธ์เพื่อขอจบการศึกษา ปีการศึกษา เป็นต้นไป (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 5 เมษายน 2560 “สำหรับนิสิตทุกรหัสที่ยื่นขออนุมัติผล งานวิจัยฯ ตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาในปี การศึกษา 2560 เป็นต้นไป”
41
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
42
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับปริญญาเอก
43
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับปริญญาเอก
44
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับปริญญาเอก
45
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับปริญญาโท
46
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับปริญญาโท
47
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับปริญญาโท
48
การตีพิมพ์เพื่อขอจบการศึกษาระดับปริญญาโท
49
บว 691/ บว 692
51
การจบการศึกษา คุณสมบัติทั่วไป 1. มีเวลาเรียนที่มหาวิทยาลัยนี้ไม่น้อย กว่า 1 ปีการศึกษา และมีระยะเวลา การศึกษาตามหลักสูตร 2. สอบได้จำนวนหน่วยกิตครบตาม หลักสูตร 3. ค่าคะแนนเฉลี่ยของรายวิชาไม่น้อย กว่า สอบสมิทธิภาพทางภาษาผ่านหรือ ได้รับการยกเว้น คุณสมบัติเฉพาะระดับปริญญาเอก เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะ (Soft Skills) ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
52
Soft Skills แบ่งเป็น 3 หมวด คือ 1. Personal soft skills 2. Professional soft skills 3. Social soft skills
53
แนวทางการดำเนินการกิจกรรมเสริมทักษะ (soft skills) สำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก
ทักษะที่นิสิตสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ ให้ ครอบคลุมทั้ง 3 ทักษะ และมีชั่วโมงกิจกรรมไม่น้อย กว่า 10 ชั่วโมง กิจกรรมที่นิสิตเข้าร่วมจะถูกระบุในใบทรานสคริป นิสิตจะต้องลงทะเบียนกิจกรรม และเข้าร่วมกิจกรรม ให้ครบตามข้อกำหนดในแต่ละกิจกรรม กิจกรรมเสริมทักษะต่างๆ บัณฑิตวิทยาลัยจะมีการ ประกาศให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้หากคณะ/หลักสูตรมี การจัดกิจกรรมเสริมทักษะที่สอดคล้องในแต่ละ ทักษะข้างต้น สามารถเสนอรายละเอียดกิจกรรมมา พิจารณารับรองในที่ประชุมคณะกรรมการการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาได้ เพื่อประกาศให้นิสิตรับทราบ ก่อนนิสิตจะเข้าร่วมกิจกรรม
54
การพ้นสภาพนิสิต สำเร็จการศึกษา หรือลาออก
ถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัย ในกรณีดังนี้ - ไม่ลงทะเบียนเรียนภาคแรก - เมื่อพ้นกำหนดเวลา 1 ภาคการศึกษาแล้ว ไม่ ชำระเงินเพื่อรักษาสภาพนิสิต - คะแนนเฉลี่ยภาคแรกต่ำกว่า 2.50 (นิสิตทดลอง เรียน ภาคแรกต่ำกว่า 3.00) - คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง แต่ไม่ สามารถทำคะแนนเฉลี่ยสะสมได้ตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป ภายใน 1 ภาคการศึกษาถัดไป - นิสิตหลักสูตรปริญญาเอกที่มีสถานะผ่านแบบมี เงื่อนไข และสอบภาษาอังกฤษไม่ผ่านเมื่อสิ้นสุด ภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา
55
การพ้นสภาพนิสิต - สอบประมวลความรู้ หรือสอบวัดคุณสมบัติ 3 ครั้ง ไม่ผ่าน
- อนุมัติเค้าโครงไม่เป็นไปตามกำหนด - สอบประมวลความรู้ หรือสอบวัดคุณสมบัติ 3 ครั้ง ไม่ผ่าน - สอบเค้าโครงปริญญานิพนธ์ 3 ครั้งไม่ผ่าน - สอบสมิทธิภาพทางภาษาไม่ผ่านถึงวัน สิ้นสุดระยะเวลาการศึกษา - ไม่สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลา กำหนด - ได้ผลการประเมินคุณภาพปริญญานิพนธ์/ สารนิพนธ์ ไม่ผ่าน - ทุจริตเกี่ยวกับการศึกษาหรือการสอบ - มีพฤติกรรมเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง - ทำผิดระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่าง ร้ายแรง
56
การขอคืนสภาพนิสิต สภาวิชาการมีอำนาจอนุมัติในการคืนสภาพนิสิตให้แก่ผู้ที่พ้นสภาพนิสิต แต่ ไม่เกิน 2 ปีการศึกษานับจากวันที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามอนุมัติ และยัง มีระยะเวลาการศึกษาเหลือ
57
การขอขยายเวลาการศึกษาฯ
ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑ์การขอขยายเวลาของนิสิต ระดับบัณฑิตศึกษา ลงวันที่ 1 เมษายน 2558
58
เน้นย้ำ : การลงทะเบียนเรียน
หลักสูตรจัดสำรับ นิสิตลงทะเบียนเรียนตามแผนการเรียน ในช่วงการ ลงทะเบียนตามปฏิทินการศึกษาฯ การเพิ่ม-ลด ถอนรายวิชา การชำระค่าธรรมเนียมการศึกษา
59
การสอบสมิทธิภาพทางภาษา EPG600 ระดับปริญญาเอก
1. การลงทะเบียนสอบสมิทธิภาพทางภาษา ระดับบัณฑิตศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 1/2560 เป็นต้นไป 2. รูปแบบการสอบสมิทธิภาพทางภาษาระดับปริญญาเอก 3. รูปแบบการประกาศผลสอบ 4. ประกาศที่เกี่ยวข้อง
60
ที่มาการเปลี่ยนแปลง ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง นโยบายการยกระดับมาตรฐาน ภาษาอังกฤษในสถาบันอุดมศึกษา ลงวันที่ 28 เมษายน 2559 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ (ตุลาคม 2559) มติที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
61
การสอบสมิทธิภาพทางภาษาระดับบัณฑิตศึกษา
รหัสรายวิชา ระดับการศึกษา เดิม ใหม่ (ปีการศึกษา 1/2560 เป็นต้นไป) ระดับปริญญาโท อกท600 : การอ่าน ENM600 : Reading Ability อกบ600: สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา EPG600 : English Proficiency for Graduated program ระดับปริญญาเอก อกอ900 : การสอบภาษาต่างประเทศ END900 : Foreign Language
62
การลงทะเบียนรายวิชาสมิทธิภาพทางภาษา ระดับบัณฑิตศึกษา
1. นิสิตปกติ ในภาคเรียนที่ 1 ของปีการศึกษาที่ 1 ที่เข้าศึกษา - บัณฑิตวิทยาลัยลงรายวิชาให้โดยอัตโนมัติ 2. นิสิตปกติ ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 1 ที่เข้าศึกษา - นิสิตต้องลงทะเบียนด้วยตนเองที่ ตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง ปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
63
การลงทะเบียนรายวิชาสมิทธิภาพทางภาษา ระดับบัณฑิตศึกษา
อกบ600: สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษระดับ บัณฑิตศึกษา EPG600 : English Proficiency for Graduated program ระดับปริญญาโท (ในเวลาราชการ) : M01 ระดับปริญญาโท (นอกเวลาราชการ) : S01 ระดับปริญญาเอก (ใน/นอกเวลาราชการ) : D01 หมายเหตุ การเพิ่ม-ลดรายวิชาดำเนินการตามปฏิทินการศึกษา ในระบบ
64
รูปแบบการสอบสมิทธิภาพทางภาษาระดับบัณฑิตศึกษา
ระดับปริญญาโท (รูปแบบเดิม) รูปแบบการสอบข้อเขียน มีทั้งปรนัย และอัตนัย ระยะเวลา 3 ชั่วโมง กำหนดการสอบตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย ระดับปริญญาเอก รูปแบบการสอบข้อเขียน การทดสอบสมรรถนะด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน กำหนดการสอบ ตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
65
รูปแบบการสอบสมิทธิภาพทางภาษาระดับปริญญาเอก
ด้านการฟัง รายบุคคล ทดสอบสมรรถนะด้านการฟัง ระยะเวลาสอบ 30 นาที ด้านการพูด รายบุคคล ทดสอบสมรรถนะด้านการฟัง ระยะเวลาสอบ 15 นาที ด้านการอ่าน ทดสอบสมรรถนะด้านการอ่าน ระยะเวลาสอบ 60 นาที ด้านการเขียน ทดสอบสมรรถนะด้านการเขียน ระยะเวลาสอบ 60 นาที
66
ทักษะด้านการฟัง การสอบรายบุคคล
ผู้เข้าสอบจะได้รับชมคลิปการสนทนา/บรรยาย เป็นภาษาอังกฤษ และให้ ตอบคำถามปรนัย/อัตนัย (กระดาษคำตอบ) คลิปละประมาณ 2-4 นาที จำนวน 4 คลิป และให้ตีความ/ตอบ คำถามจากบทสนทนา/บรรยาย จำนวน 20 ข้อ ระยะเวลาการสอบทั้งสิ้น 30 นาที
67
ทักษะด้านการพูด การสอบรายบุคคล
ผู้เข้าสอบจะต้องเข้าทดสอบสมรรถนะ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน กับผู้สัมภาษณ์ จำนวน 2 คน (อาจารย์ชาวต่างประเทศ และอาจารย์ผู้สอนคนไทยที่ใช้ ภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี) ระยะเวลาการสอบทั้งสิ้น 15 นาที
68
รายละเอียดการทดสอบสมรรถนะด้านการพูด
Speaking Part 1 1. You introduce yourself (in short) and your research topic 2. The examiners will ask you some questions in your research topic. Speaking Part 2 1. The examiners will give you task cards, you draw a card which shows a topic you have to talk about. 2. You will have one to two minutes to talk about that topic. 3. The examiners will ask you some questions on the topic selected.
69
หัวข้อด้านการพูด A career you want to have in future.
Role model, inspiration and motivation Fast food Sports and leisure Learning English
70
รายละเอียดการทดสอบสมรรถนะด้านการพูด
Speaking Part 3 You will be asked to express your opinion on topics related to the one you spoke about in Part 2
71
ทักษะด้านการอ่าน การสอบอัตนัย และ/หรือ ปรนัย
ผู้เข้าสอบสามารถเลือกสอบทักษะด้านการอ่าน ตามความสนใจเพียง 1 ด้านเท่านั้น (ตั้งแต่วันลงทะเบียนขอเข้าสอบในระบบที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด) โดยแบ่งเป็น 3 รูปแบบ คือ 1)ด้านศิลปะ 2)ด้านวิทยาศาสตร์ 3)ด้านทั่วไป จำนวน 30 ข้อ จะมีเรื่องที่ต้องอ่านจำนวน 3 เรื่อง โดยจะเป็น abstract 1 เรื่องใน 3 เรื่องในด้านนั้นๆ ระยะเวลาการสอบทั้งสิ้น 60 นาที
72
ทักษะด้านการเขียน การสอบอัตนัย
ผู้เข้าทดสอบต้องเขียนอธิบายตามหัวข้อที่ได้รับ จำนวน 100 – 150 คำ ระยะเวลาการสอบทั้งสิ้น 60 นาที
73
หัวข้อการเขียน Resume with a cover letter Complaining email
Response to an Advertising – Persuasive writing
74
ขั้นตอนการสอบของผู้ลงทะเบียน EPG600
บัณฑิตวิทยาลัยประกาศรายชื่อผู้ลงทะเบียน รายวิชา ENG600 หลังจากช่วงเพิ่ม-ลด บัณฑิตวิทยาลัย แจ้งกำหนดการระบุวันสอบแต่ ละทักษะ และประกาศให้ลงทะเบียนในระบบ e- training เพื่อให้นิสิตเลือกวัน/เวลาสอบตาม ระยะเวลาที่กำหนด ที่ บัณฑิตวิทยาลัยประกาศรายชื่อ วัน เวลาและ ห้องสอบ บัณฑิตวิทยาลัยประกาศผลการสอบสมิทธิภาพ ทางภาษา
75
การระบุการสอบสมรรถนะแต่ละด้าน
นิสิตสามารถเลือกสอบได้ทั้ง 4 ทักษะ หรือ หรือเลือกบางทักษะที่มี ความพร้อมในแต่ละภาคเรียน ทั้งนี้ ระบบจะไม่อนุญาตให้นิสิตลงสอบในแต่ละด้านที่มีเวลาการสอบ ตรงกัน
76
รูปแบบการประกาศผล บัณฑิตวิทยาลัย จะประกาศผลสอบ เป็น P ในกรณีดังนี้
1. นิสิตที่สอบครั้งที่ 1-2 และมีผลการ สอบผ่านทั้ง 4 ทักษะ 2. นิสิตที่สอบครั้งที่ 3 เป็นต้นไป และมี - ผลการอนุมัติการพัฒนาด้าน ภาษาอังกฤษ ไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง โดย บัณฑิตวิทยาลัย -ผลการสอบผ่านทั้ง 4 ทักษะ
77
รูปแบบการประกาศผล บัณฑิตวิทยาลัย จะประกาศผลสอบ เป็น F ในกรณีดังนี้
1. นิสิตที่สอบผ่านไม่ครบ ทั้ง 4 ทักษะ (ฟัง พูด อ่าน เขียน) 2. นิสิตที่สอบผ่านทั้ง 4 ทักษะ แต่ไม่ได้ รับการอนุมัติการพัฒนาด้านภาษาอังกฤษ ไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง โดยบัณฑิตวิทยาลัย กรณีนิสิตสอบผ่านในทักษะใดทักษะหนึ่ง บัณฑิตวิทยาลัย จะบันทึกข้อมูลการสอบ ผ่านในทักษะนั้นไว้ และนิสิตไม่ต้องลงสอบ ทักษะด้านนั้นซ้ำอีกในการสอบครั้งถัดไป แต่ต้องลงทะเบียนรายวิชา และระบุการ สอบในระบบ e-training ในทักษะที่ยังมีผล การประเมินไม่ผ่าน
78
การส่งเรื่องอนุมัติการพัฒนาภาษาอังกฤษ
ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง แนว ปฏิบัติการสอบพิเศษภาษาอังกฤษ ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป ลงวันที่ 2 กันยายน 2559 กำหนดให้ “นิสิตที่สอบพิเศษภาษาอังกฤษ (สอบ สมิทธิภาพทางภาษา) ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป ต้องมีการเรียนรู้-อบรม เพื่อพัฒนาด้าน ภาษาอังกฤษฯ ไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง” ทั้งนี้ กรณีนิสิตจะใช้ชั่วโมงการพัฒนา ตนเองในภาคเรียนการศึกษานั้นมาใช้ซ้ำ อีกมิได้ในภาคการศึกษาถัดไป
79
การประกาศผลสอบสมิทธิภาพทางภาษา (EPG600)
บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศผลสอบในทักษะแต่ละด้านบนเวบไซต์ของบัณฑิต วิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัยกรอกผลการสอบรายวิชา EPG600 ในระบบ supreme
80
การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย
การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย คอร์สภาษาอังกฤษ 1 (English 1) มีค่าใช้จ่าย จำนวนชั่วโมงเรียนเทียบเท่า 30 ชั่วโมง คอร์สภาษาอังกฤษ 2 (English 2) มีค่าใช้จ่าย Writing an abstract and Academic listening and speaking : มี 15 กลุ่มๆละ 10 คน จำนวนชั่วโมงเรียน 6 ชั่วโมง การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษด้วยการดูหนังผ่านโปรแกรม English Mate มีค่าใช้จ่าย กำหนดให้ดูภาพยนตร์จำนวน 10 เรื่อง และทำแบบทดสอบ เทียบเท่า จำนวนชั่วโมงเรียน 30 ชั่วโมง
81
การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษ
คอร์สภาษาอังกฤษสำหรับผู้สอบผ่านแบบมีเงื่อนไข ระดับ ปริญญาโท และเอก ประจำปีการศึกษา 1/2561 (มีค่าใช้จ่าย) ป.เอก จำนวน 30 ชั่วโมง (4,900 บาท รวมค่าเอกสาร) (พฤ น. หรือ อา น.) ป.โท จำนวน 30 ชั่วโมง (4,500 บาท รวมค่าเอกสาร) (พฤ น. หรือ ส น. หรือ อา น.) ชำระค่าลงทะเบียน วันที่ 9-10 สิงหาคม 2561
82
การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยบัณฑิตวิทยาลัย
การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยบัณฑิตวิทยาลัย งานรับนิสิตใหม่ งานจัดการเรียนการสอน งานทะเบียนและประมวลผล งานปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์/สอบพิเศษ งานพัฒนาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
83
สวัสดิการของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา
การจอดรถ การยืมหนังสือห้องสมุด การใช้ห้อง self access (ชั้น 2 บัณฑิตวิทยาลัย) การใช้คอมพิวเตอร์ บัตรประกันอุบัติเหตุ บัตรประจำตัวนิสิต (ATM)
84
กำหนดการรับบัตรประจำตัวนิสิต 1/2561 รอบที่ 1
สำหรับนิสิตที่ส่งรูปทำบัตรทาง ภายในวันที่ 9 กรกฎาคม 2561 และระบุข้อมูลชื่อ-นามสกุล รหัสนิสิต และ สาขาวิชาเรียบร้อยเท่านั้น 1. ประสานมิตร รับที่ อาคารวิจัยฯ ชั้น 2 วันที่ สิงหาคม เวลา น. 2. องครักษ์ รับที่ อาคารเรียนรวม วันที่ สิงหาคม เวลา น.
85
กำหนดการรับบัตรประจำตัวนิสิต 1/2561 รอบที่ 1
หากนิสิตไม่ได้รับบัตร ตามวันและเวลาข้างต้น สามารถ เข้ามารับบัตรที่ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา มศว ประสาน มิตร ในวันจันทร์ – ศุกร์ โดยจะประกาศช่วงวันที่สามารถ รับบัตรได้อีกครั้ง
86
กำหนดการรับบัตรประจำตัวนิสิต 1/2561 รอบที่ 2
สำหรับนิสิตที่ยังไม่ได้ส่งรูปทำบัตร สามารถส่งรูป พร้อม ระบุชื่อ- นามสกุล รหัสนิสิต สาขาวิชา ได้ถึงวันที่ 18 สิงหาคม 2561 ที่ สามารถรับบัตรฯ รอบที่ 2 ในช่วงปลายเดือนกันยายน (สำหรับนิสิตที่ส่งรูปภายในวันที่ 9 กรกฎาคม – 18 สิงหาคม 2561)
87
ติดต่อ บัณฑิตวิทยาลัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.