ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนพรัตน์ หงสกุล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ 1. มีความรู้ 2. มีจรรยาบรรณ 3. มีการคัดเลือก 4. มีสมาคมวิชาชีพคอยควบคุม
2
จรรยาบรรณ / จรรยาชีพ มุ่งให้เกิดประโยชน์
1. ทำให้คนที่อยู่ในอาชีพนั้นมีประสิทธิภาพ 2. ให้เกิดความเป็นธรรม 3. ให้ผู้อยู่ในอาชีพมีเกียรติ / ศักดิ์ศรี * คนเก่งแต่ไม่ดี ? * คนดีไม่เก่ง ? * คนเก่งและคนดี ?
3
วัตถุประสงค์ของจรรยาบรรณ มี 10 ประการ
1. เป็นที่ยอมรับของหมู่คณะ (สังฆสุฏฐุตา) 2. เพื่อความผาสุกของหมู่คณะ (สังฆผาสุตา) 3. เพื่อข่มคนดื้อและเป็นเครื่องอ้าง (นิคคหะ) 4. เพื่อพิทักษ์คนดี (ผาสุวิหาร) 5. เพื่อป้องกันปัญหาต่าง ๆ (สังวร)
4
6. เพื่อกำจัดปัญหาในอนาคตที่จะเกิดขึ้น(ปฏิฆาตะ)
7. เพื่อสร้างความเลื่อมใสศรัทธาของผู้บริการ(ปสาทะ 8. ทำให้คนที่ศรัทธาและเลื่อมใสระบบระราชการ อยู่แล้ว มีศรัทธายิ่ง ๆ ขึ้นไป (ภิยโยภาพ) 9. เพื่อความรู้รอกของระบบ (ฐิติ) 10 เพื่อการอนุเคราะห์เรื่องระเบียบวินัย(วินยานุคคหะ
5
สรุปความสัมพันธ์ (จริยธรรม จริยศาสตร์ และจริยศึกษา)
จริยธรรม คือแนวทางของการประพฤติ หรือข้อ ปฏิบัติตนเป็นคนดี เพื่อ ประโยชน์สุขของคนและส่วนรวม มาจาก * ขนบธรรมเนียม * ประเพณี *วัฒนธรรม * ศาสนา * ปรัชญา
6
จริยธรรม เป็นข้อปฏิบัติที่ชักจูงให้คนทำตาม โดย ไม่ต้องตั้งคำถามหาเหตุผลว่าไม่ต้องทำ
(เป็นความจริงสากล ; สัจพจน์) จริยศาสตร์ ทำหน้าที่เสนอ ทฤษฎีแห่งความประ- พฤติตามหลักจริยธรรม ที่ควรปฏิบัติตาม กล่าวอีกนัยหนึ่ง
7
จริยศาสตร์ เสนอ * เหตุผล
จริยศาสตร์ เสนอ * เหตุผล * หลักการ / วิธีการ * ประพฤติปฏิบัติดี แห่งกระบวนการจัดกิจกรรมมุ่งหาจริยธรรม ให้ ปลูกฟังเจตคติ หรือ คุณธรรมลงในจิตใจ (จิต-วิญญาณ)
8
จริยศึกษา มุ่งสร้าง * หาเหตุผล
จริยศึกษา มุ่งสร้าง * หาเหตุผล * เจตคติ * ทักษะ (ปฏิบัติในชีวิตจริง) (การคิด; การใช้เหตุผล) ด้วยปัญญา
9
* จริยศาสตร์ มุ่งเสนอทฤษฎี * จริยธรรม มุ่งชี้วิธีการปฏิบัติ
* จริยศาสตร์ มุ่งเสนอทฤษฎี * จริยธรรม มุ่งชี้วิธีการปฏิบัติ * จริยศึกษา มุ่งให้เกิดทักษะ กล่าวอีกนัยหนึ่ง * จริยศาสตร์ ให้หลักการ * จริยธรรม ให้วิธีการ * จริยศึกษา ให้ความชำนาญ
10
สรุป “จริยธรรม” คือแนวทางของการประพฤติปฏิ บัติตนให้เป็นคนดี เพื่อประโยชน์สุขของตนเอง
และส่วนรวม ศีลธรรม อันเป็นหลักแห่งความประพฤติ อันหนึ่ง มาจากคำสอนทางศาสนา ว่าด้วยความ ประพฤติชอบ ส่วน จริยธรรม หลักแห่งความประพฤติปฏิบัติ
11
อันวางรากฐานอยู่บนหลักคำสอนของศาสนา
ปรัชญา และขนบธรรมเนียมประเพณี จริยธรรมใน ฐานะที่เป็นระบบ ส่วน ศีลธรรม เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ
12
จริยธรรมในเชิงปรัชญา
* จริยธรรม ; จริยศาสตร์ (Ethics) เป็นสาขาหนึ่ง ของปรัชญาที่กล่าวถึงปัญหาด้าน “จริยธรรม” หรือ “ปรัชญาชีวิต” เช่น : มาตรฐานการตัดสินความดี : มาตรฐานการตัดสินความชั่ว
13
: การประพฤติของบุคคลว่าอย่างไรดี : “ “ ชั่ว
: การประพฤติของบุคคลว่าอย่างไรดี : “ “ ชั่ว : “ “ ถูกต้อง : “ “ ผิด : ชีวิตที่ดีมีลักษณะอย่างไร : อะไรคือสิ่งที่หน้าปรนาสูงสุดของชีวิต : อะไรคือจุดหมายปลายทางของชีวิต
14
: ความดีคืออะไร : อาศัยอะไรเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ความดี-ชั่ว
: ความดีคืออะไร : อาศัยอะไรเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ความดี-ชั่ว * เป็นเรื่องจิตใจของแต่ละบุคคลที่ปฏิบัติวิถีชีวิต จริยธรรมในเชิงจิตวิทยา จริยธรรม ศึกษาถึงความดีอันสูงสุดของมนุษย์ * ดี - ชั่ว * ถูก - ผิด * ควร - ไม่ควร
15
จิตวิทยา ศึกษาถึงธรรมชาติที่แท้จริงของจิต
* มนุษย์ * พันธุกรรม * สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จิตวิทยาเป็นพื้นฐานของจริยธรรม ศึกษาเรื่องต่างๆ ร่วมกัน * เจตนา กับความต้องการ
16
* ความคิด * ความตั้งใจ * ความเพลิดเพลิน
* ความคิด * ความตั้งใจ * ความเพลิดเพลิน จจริยธรรมในเชิงศาสนา ความสุขสุงสุดนั้นต้องประกอบด้วยคุณธรรม คำสอนของศาสนา * ศาสนาทวนิยม สอนว่า * ศาสนาอเทวนิยม สอนว่า “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว”
17
ศาสนา : ขึ้นอยู่กับความเชื่อ; สอนความจริงสากล
จริยธรรม : ขึ้นอยู่กับเหตุผล; ความแท้จริงสากล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.