ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยฟุ้งฟ้า วอชิงตัน ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต กระบวนการพัฒนาการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
2
การค้นคว้าหาความรู้ทางอินเทอร์เน็ต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การค้นคว้าหาความรู้ทางอินเทอร์เน็ต การค้นคว้าหาความรู้จาก อินเทอร์เน็ต เป็นการสืบค้นสารสนเทศ ในลักษณะต่างๆ ที่มีให้บริการบน อินเทอร์เน็ต เช่น บทความ รูปภาพ เพลง
3
สาระการค้นคว้าหาความรู้
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ สาระการค้นคว้าหาความรู้ - แหล่งข้อมูลความรู้ที่สำคัญในอินเทอร์เน็ต บางแหล่งที่เป็น ประโยชน์แก่การเรียน - วิธีการค้นให้ได้ข้อมูลความรู้ตรงตามต้องการ - วิธีการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล ความรู้ในอินเทอร์เน็ต - วิธีการนำข้อมูลความรู้จากอินเทอร์เน็ตไปใช้
4
แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ (Web site) คือ แหล่งที่เก็บ รวบรวมภาพ ข้อมูลเอกสารหรือสื่อ ประสมต่างๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงาน
5
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ ข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (Data) ในระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึงสิ่งที่เป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง เกี่ยวกับคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั้งหมดนี้จะมีจำนวนมากอาจอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวอักษร กราฟฟิก สิ่งเหล่านี้ยังไม่ได้รับการประมวลผลใดๆ จึงเป็น ข้อมูลที่ต้องการได้รับการประมวลผลเพื่อทราบผลลัพธ์ หรือต้องการจัดเก็บให้เป็นระบบระเรียบเพื่อใช้งานต่อไป
6
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ ข้อมูลและสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว มีการรวบรวมข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลว่าข้อมูลนั้นจริงเท็จอย่างไร ใช้วิธีการจัดแบ่งข้อมูล แบ่งเป็นกลุ่มๆ ตามประเภทและจัดเรียงข้อมูลเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานและ สุดท้ายการคำนวณข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สะดวกต่อการใช้งานและเป็นข้อมูลสุดท้ายที่ได้มานั้นดีที่สุด และหลังจากการประมวลผลแล้วนั้นเราก็ต้องจัดเก็บข้อมูล โดยอาจจะใช้การจัดเก็บลงเครื่องหรือสื่อบันทึกต่างๆ เพื่อจะได้ง่ายต่อการเรียกใช้งานอีกด้วย
7
แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ (Web site) มี ๒ ประเภท - เว็บไซต์ของบุคคล - เว็บไซต์ของหน่วยงาน
8
แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ความรู้ที่มีประโยชน์ต่อ การศึกษา ๑. ยู ทูบ (www. YouTube. com) ๒. วิกิพีเดีย ( ๓. เด็กดีดอตคอม (www. Dek-D.com)
9
แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต เด็กดีดอตคอม (www. Dek-D.com) เกิดจากนักเรียน ม.๕ กลุ่มหนึ่งของโรงเรียนสวน กุหลาบ จุดประสงค์ - ปรึกษาหารือ - รวมลิงค์ - การเตรียมสอบ - ช่วยเหลือกันในการ เรียนต่อ - พูดคุยเพื่อนวัยเดียวจากโรงเรียนต่าง ๆ
10
แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต วิกิพีเดีย ( - เกิดจากชาวอเมริกัน ๒ คน จุดประสงค์ :นำเสนอความรู้ แบ่งปันผู้อื่น
11
แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ แหล่งข้อมูลความรู้ในอินเทอร์เน็ต ยู ทูบ (www. YouTube. com) เกิดจากชาวอเมริกัน ๒ คน จุดประสงค์ - แลกเปลี่ยนวีดีทัศน์ที่ถ่ายกันเอง - แต่ไม่อนุญาตแลกเปลี่ยนวีดีทัศน์ ที่มีภาพโป๊และที่มีลิขสิทธิ์
12
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การสืบค้นข้อมูล วิธีค้นให้ได้ ข้อมูลความรู้ ตรงตามความ ต้องการ - ทราบที่ตั้งในอินเทอร์เน็ตของ เว็บไซต์ - ทราบชื่อเว็บไซต์ (web site)
13
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การสืบค้นข้อมูล หากไม่ทราบข้อมูลความรู้ที่ต้องการ อยู่ในเว็บใด สามารถสืบค้นข้อมูลได้จาก การใช้บริการของเว็บไซต์ เพื่อให้บริการ ค้นหา เช่น - Google - Yahoo
14
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การสืบค้นข้อมูล คำค้น (key word) หากให้ข้อมูล มาก เกินไป กรองข้อมูลด้วยเครื่องหมาย + เช่น - ตุรกี + อุยกูร์ + วัฒนธรรม - ตุรกี + อุยกูร์ กรองข้อมูลด้วยการเว้นวรรค
15
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การสืบค้นข้อมูล คำค้น (key word) หากให้ข้อมูลน้อย เกินไป เช่น - พระมหากษัตริย์ OR โลก - สัตว์ OR เลี้ยง - การเพิ่มขอบเขตของข้อมูลให้กว้าง ขึ้น OR
16
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การสืบค้นข้อมูล คำค้น (key word) หากให้ข้อมูลมาก เกินไป ลดขอบเขตของข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง ออกไปด้วย เครื่องหมายยัติภังค์ – เช่น สัตว์ – เลี้ยง
17
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การพิจารณาข้อมูล ข้อควรคำนึงในการพิจารณา ความ น่าเชื่อถือของข้อมูล ความรู้ใน อินเทอร์เน็ต - ข้อมูลได้จากเจ้าของเรื่องนั้นๆ โดยตรง - ตรวจสอบเปรียบเทียบข้อมูลจาก หลายๆ แหล่ง - ความทันสมัยของข้อมูล
18
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การพิจารณาข้อมูล กาลามสูตร ๑๐ ประการ ๑. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามๆ กัน มา ๒. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กัน มา ๓. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ ๔. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตาราหรือ คัมภีร์ ๕. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะตรรกะ
19
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ การพิจารณาข้อมูล ๖. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมาน ๗. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการคิดตรองตามแนว เหตุผล ๘. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีที่ พินิจไว้แล้ว ๙. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะ เป็นไปได้ ๑๐. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา
20
วิธีการใช้ข้อมูลในการทำรายงาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ วิธีการใช้ข้อมูลในการทำรายงาน - สร้างผังมโนภาพ - วางโครงเรื่องของรายงานที่จะทำ - เลือกเนื้อหาสาระ - เขียนรายงานขึ้นใหม่ทั้งหมดตามโครงเรื่อง - จัดทำบรรณนานุกรม
21
วิธีการใช้ข้อมูลในการทำรายงาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ วิธีการใช้ข้อมูลในการทำรายงาน - สร้างผังมโนภาพ - วางโครงเรื่องของรายงานที่จะทำ - เลือกเนื้อหาสาระ - เขียนรายงานขึ้นใหม่ทั้งหมดตามโครงเรื่อง - จัดทำบรรณนานุกรม - ไม่ใช่คัดลอก นำมาวาง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.