งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment
นายณพงศ์ธวัช โพธิกิจ ผู้บริหารส่วน ฝ่ายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย วันที่ 30 กันยายน 2559

2 หัวข้อการบรรยาย ภาพรวมการชำระเงินในปัจจุบัน และ แนวทาง การส่งเสริมและพัฒนาระบบการชำระเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment โครงการที่ 1 ระบบพร้อมเพย์ โครงการที่ 2 การขยายการใช้บัตร โครงการที่ 3 ระบบภาษีและเอกสาร ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โครงการที่ 4 e-Payment ภาครัฐ

3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้
1. ภาพรวมการชำระเงินในปัจจุบัน รูปแบบการชำระเงิน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้ ใช้เงินสด เบิกเงินสดจากตู้เอทีเอ็ม สาขาธนาคาร เช็ค บัตรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น บัตรเดบิต บัตรเครดิต ความสะดวก ความปลอดภัย ต้นทุน ไม่มีทางเลือกอื่น

4 แนวทางการส่งเสริมและพัฒนา ระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
ประสิทธิภาพต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ลดต้นทุนรวมและการบริหารเงินสด ความปลอดภัย ความรู้ความเข้าใจของประชาชนและ การเปลี่ยนพฤติกรรม การกำกับดูแลผู้ให้บริการ ค่าธรรมเนียมลดลง การรักษาข้อมูลส่วนบุคคล

5 2. แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment
การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ประชาชน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ การใช้บัตรเดบิต การจ่ายสวัสดิการ และระบบภาษีทาง อิเล็กทรอนิกส์

6 โครงการที่ 1 ระบบพร้อมเพย์ : การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
ประโยชน์ ภาคประชาชน เพิ่มทางเลือกและความสะดวกในการโอนและรับเงินให้ประชาชน ค่าบริการถูกลงกว่าบริการโอนเงินแบบเดิม ภาคธุรกิจ เพิ่มความสะดวกในการทำธุรกิจ (ease of doing business) และให้บริการลูกค้า ภาครัฐ ลดภาระและต้นทุนในการบริหารจัดการและพิมพ์ธนบัตรของประเทศ ดูแลประชาชนด้านสวัสดิการโดยจ่ายเงินผ่านช่องทางพร้อมเพย์

7 โครงการที่ 2 : การขยายการใช้บัตร
วัตถุประสงค์โครงการ การพัฒนาบริการและโครงสร้างพื้นฐานการใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์อย่างครบวงจร เป็นทางเลือกแทนการใช้เงินสด ในภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ กระจายอุปกรณ์รับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ทั่วทั้งประเทศ จำนวนเครื่อง EDC การกระจายตัวของเครื่อง EDC การใช้บัตรซื้อสินค้าแทนเงินสด จำนวน EDC ต่อประชากรของไทย น้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้ว เท่าตัว เครื่อง EDC ในไทยส่วนใหญ่อยู่ในกรุงเทพฯ แม้ไทยจะมีบัตรเดบิต 47 ล้านใบ แต่ยังมีการใช้บัตรซื้อสินค้าแทนเงินสดน้อย จำนวนเครื่อง EDC ต่อประชากร 1 ล้านคน (เครื่อง) สัดส่วนเครื่อง EDC แยกตามภูมิภาค (ร้อยละ) ปริมาณการใช้บัตรเดบิตรูดซื้อสินค้าผ่านเครื่อง EDC (จำนวนครั้ง/ คน/ ปี) 46.9 % 7.9% 24.8% 9.8% 10.7% Source: BIS, Bank Negara Malaysia and Bank of Thailand

8 โครงการที่ 3 ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
บูรณาการระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ ลดภาระการจัดทำและนำส่งเอกสาร อำนวยความสะดวกในการชำระภาษี โครงการที่ 4 e-Payment ภาครัฐ บูรณาการฐานข้อมูลและการจ่ายสวัสดิการภาครัฐ เพื่อให้มี ความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพ การรับจ่ายเงินภาครัฐด้วย e-Payment

9 เป้าหมายและประโยชน์ แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment
ผู้มีรายได้น้อยได้รับสวัสดิการและความช่วยเหลือถูกต้อง รวดเร็ว ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เข้าถึงบริการทางการเงินขั้นพื้นฐาน (ฝากถอนโอนชำระเงิน) ได้สะดวก ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั่วถึง โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล แม้อยู่ในพื้นทีห่างไกลยังสามารถใช้บัตรซื้อสินค้าได้ ไม่ต้องพกเงินสด ชีวิตสะดวก ปลอดภัยไม่ต่างกับคนในเมือง ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ ระบบชำระเงิน e-Payment มีฐานข้อมูลผู้มีรายได้น้อยสามารถให้ ความช่วยเหลือได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ไม่รั่วไหล การรับจ่ายเงินภาครัฐมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ลดโอกาสทุจริต เพิ่มประสิทธิภาพในระบบภาษี รับจ่ายเงินได้สะดวก ต้นทุนต่ำ ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มความสะดวกในการทำธุรกิจ (ease of doing business) และให้บริการลูกค้า ลดภาระการจัดการเอกสารเกี่ยวกับภาษี โดยใช้ระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์

10 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google