งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กรม คร./ กรมอนามัย กรมการแพทย์/ กรมการแพทย์แผนไทยฯ ประเด็นการตรวจติดตามแผนงานบูรณาการเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ กรมการแพทย์แผนไทยฯ อย./ กรมวิทย์ฯ/กรม สบส. 2.โครงการเมืองสมุนไพร 3.โครงการพัฒนาสังคมและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน กรมการแพทย์ โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี โครงการเฉพาะกิจ (Rabies) กรม คร./ กรม สบส. อย./ กรมอนามัย

3 1. โครงการรณรงค์กำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
เพื่อรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมทั้งถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา

4 มาตรการพื้นที่เสี่ยง 29 จังหวัด (เขตสุขภาพที่ 1, 6, 7, 8, 9,10)
ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการสิ่งปฏิกูลอย่างถูกหลัก สุขาภิบาลในพื้นที่ อปท ทุกพื้นที่ผ่านเทศบาล และ อบต. ตรวจอุจจาระในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป เมื่อพบผู้ติดพยาธิใบไม้ตับ ให้การรักษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้อมรักษาพยาธิใบไม้ตับในสุนัข/แมวในชุมชน ตรวจอัลตราซาวด์ในประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไป หากพบความผิดปกติส่งต่อ CT/MRI ส่งต่อผู้ป่วยสงสัย CCA เพื่อวินิจฉัยและผ่าตัด ผู้ป่วยระยะท้าย มีหมอครอบครัวดูแลด้วยการแพทย์ผสมผสาน รายงานผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ฐานข้อมูล Isan cohort พื้นที่ดำเนินการ โครงการกำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ การสนับสนุนโดยกรมควบคุมโรค - วัสดุทางการแพทย์และชุดตรวจพยาธิใบไม้ตับ สื่อการสอน พัฒนาบุคลากรในการจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนสำรวจความชุกของ พยาธิใบไม้ตับ และนิเทศติดตามผล

5 ผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน (ไตรมาส 3 : 1 ตุลาคม – 30 มิถุนายน 2561)
1. การคัดกรองพยาธิใบไม้ตับโดยการตรวจอุจจาระ รักษา และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกรายที่ติดเชื้อ ดำเนินการ 397 ตำบล เขตสุขภาพ จำนวนตำบล (ตำบล) คัดกรอง (ราย) ติดเชื้อ (ราย) ร้อยละที่พบว่าติดเชื้อ เขตสุขภาพที่ 1 54 29,292 3,192 10.9 เขตสุขภาพที่ 6 47 44,928 1,822 4.06 เขตสุขภาพที่ 7 46 15,619 1,153 7.38 เขตสุขภาพที่ 8 82 51,354 1,143 2.23 เขตสุขภาพที่ 9 68 36,041 2,048 5.68 เขตสุขภาพที่ 10 100 82,623 5,865 7.10 รวม 397 230,565 12,031 5.22 2. ผลงานตรวจคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดี ดำเนินงานใน 29 จังหวัด รวม 105,732 ราย ผิดปกติจำนวน 43,363 ราย (41.01 %) สงสัย CCA จำนวน 732 ราย (0.69 %) เข้ารับ CT/MRI จำนวน 118 ราย ผลยืนยันเป็น CCA จำนวน 57 ราย คิดเป็น 48.31% ของผู้มาตรวจ CT/MRI และคิดเป็น 0.1 % ของผู้มาตรวจอัลตร้าซาวด์ 3. ผลงานการรักษาด้วยการผ่าตัดจาก 13 รพ. ผ่าตัด 457 ราย (ผ่าตัดให้หายขาด 326 ราย และผ่าตัดเพื่อการประคับประคอง 131 ราย)

6

7 แผนภูมิแสดงร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพ OVCCA รอบ 9 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับ และมะเร็งท่อน้ำดี (เป้าหมาย 613 ตำบล ร้อยละ 100) แผนภูมิแสดงร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพ OVCCA รอบ 9 เดือน (ข้อมูลตั้งแต่เดือน 1 ตุลาคม 60 ถึง 30 มิถุนายน 2561) ร้อยละ (168) 89.90 (89) 82.87 (508) 75.00 (54) 73.75 (59) 74.07 (100) 64.41 (38) ค่าเป้าหมาย เขตสุขภาพ ที่มา/แหล่งข้อมูล :

8 มาตรการพื้นที่ มาตรการพื้นที่
โครงการรณรงค์กำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ปลามีพยาธิ น้อยกว่าร้อยละ 1 อัตราตายมะเร็งท่อน้ำดี ลดลงร้อยละ 50 คนเป็นพยาธิ น้อยกว่า 6 แสนคน มาตรการพื้นที่ สถานการณ์โรค ปี 2561 ติดพยาธิใบไม้ตับ ร้อยละ 14-20 ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี รับการคัดกรอง-ผ่าตัด รอดชีวิต 7 ใน 10 ราย สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ในเด็กนักเรียนและเยาวชน รณรงค์อาหารปลอดภัย ปลาปลอดพยาธิ อย่างต่อเนื่อง ผลักดันให้ อปท. ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น เรื่อง การจัดการสิ่งปฏิกูล และบังคับใช้ กฎหมายสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ อปท. มีระบบจัดการสิ่งปฏิกูล มาตรการพื้นที่ อัตราชุกโรคพยาธิใบไม้ตับ ปี 61 ร้อยละ 5.9 (ข้อมูล ณ 17 ส.ค. 61) เมื่อเปรียบเทียบกับปี 60 ร้อยละ 12 ปัญหาที่สำคัญของจังหวัด ร้อยละ 34.5 ของจังหวัดในพื้นที่เป้าหมาย ไม่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล

9 2.โครงการเมืองสมุนไพร (6 ภาครัฐ ยกเว้นภาคกลาง)
Herbal City

10 เป้าหมายระยะ 5 ปี (2560 – 2564) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้รับการวิจัยและ
พัฒนา จำนวน 20 รายการ/จังหวัด มีระบบฐานข้อมูลกลางของข้อมูล สมุนไพรบูรณาการข้อมูลทุกภาค มีงานวิจัยและพัฒนา พันธุ์ต้นกล้าสมุนไพร ที่มีคุณภาพ 20 ชนิด/ จังหวัด มีพื้นที่เกษตร GAP/GACP/Organic 5,000 ไร่/จังหวัด มีการจัด Zoning พื้นที่ปลูกสมุนไพร ประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่มี คุณภาพและมาตรฐานมากขึ้น มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นทุกปี มูลค่าการตลาดของผลิตภัณฑ์ สมุนไพรรวมเพิ่มขึ้น มีโรงงานแปรรูปและผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรของภาครัฐหรือเอกชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GMP ทุกจังหวัดในเมืองสมุนไพร มีร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์ สมุนไพร/Outlet ในทุก จังหวัดเมืองสมุนไพร มีแผนการตลาดและ ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ สมุนไพรของประเทศ

11 กลไกในการขับเคลื่อนเมืองสมุนไพร
คณะกรรมการ นโยบายสมุนไพรแห่งชาติ Demand Raw Material R&D and Technology Manufactory Regulation Marketability นายกรัฐมนตรี ประธาน คณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนเมืองสมุนไพร ปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานร่วม ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธานร่วม คณะทำงาน ขับเคลื่อนโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก ประธาน คณะกรรมการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรระดับจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เลขานุการ Herbal City Platform

12 ตัวชี้วัดและเป้าหมายดำเนินการ
1. จำนวนเมืองสมุนไพร อย่างน้อยเขตสุขภาพละ 1 จังหวัด 2. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

13 ตัวชี้วัดและเป้าหมายดำเนินการ
จำนวนเมืองสมุนไพร อย่างน้อยเขตสุขภาพ(12เขต)ละ 1 จังหวัด 4 จังหวัดนำร่อง เขต 1 เชียงราย เขต 6 ปราจีนบุรี เขต 8 สกลนคร เขต 11 สุราษฎร์ธานี 9 จังหวัดส่วนขยาย เขต 2 พิษณุโลก เขต 3 อุทัยธานี เขต 4 สระบุรี เขต 5 นครปฐม เขต 6 จันทบุรี เขต 7 มหาสารคาม เขต 9 สุรินทร์ เขต 10 อำนาจเจริญ เขต 12 สงขลา

14 ความก้าวหน้าการพัฒนา Wellness City แบบครบวงจรนำร่องจังหวัดปราจีนบุรี
1. โครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ เน้น Green technology ที่ทันสมัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมบนความเรียบง่าย 2. ความสะอาดทั้งพื้นที่สาธารณะร้านค้าและบ้านเรือนของประชาชน 3. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 4. บริการทางการแพทย์ที่พัฒนาจากภูมิปัญญาไทย และตอบสนองต่อปัญหาทางสุขภาพ และความต้องการของผู้รับบริการ 5. ผลิตภัณฑ์ทางสุขภาพที่พัฒนาจากภูมิปัญญาไทย และตอบสนองต่อปัญหาทางสุขภาพ 6. การศึกษาวิจัยที่รองรับการบริการและผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง 7. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่เชื่อมโยงในทุกกิจกรรม 8. ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่มีความเข้มแข็ง มีความรู้และทัศนคติที่ดีต่อการ พัฒนา Wellness city

15 การดำเนินงาน โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
เปิด ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรและภูมิปัญญาพื้นบ้าน วันที่ 10 กันยายน 2561 เป้าหมาย - เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -การฝึกอบรมด้านสุขภาพให้กับประชาชนและผู้ประกอบการ

16

17 ห้างสรรพสินค้า อิลลุ่ม (Illum)
การพิจารณาพื้นที่ในการจัดตั้ง Product Outlet และการคัดเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีศักยภาพเพื่อนำมาพัฒนาวางจำหน่ายใน Product Outlet ในประเทศและต่างประเทศ Product Outlet Product Outlet แนวทางการดำเนินงาน ในประเทศ Business Matching ระหว่างผู้ประกอบการและเจ้าของสถานที่ มอบ Logo กลาง Tax Refund ประชาสัมพันธ์ ขยายผล ผลิตภัณฑ์ของรพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร Premium Product (กรมการแพทย์แผนไทยฯ) Prime Minister Herbal Award (กรมการแพทย์แผนไทยฯ) Thailand Trust Mark (พณ.) Farm Outlet (พณ.) OTOP 4-5 ดาว : OTOP Premium / OTOP Classic (มท.) Quality Award / ฐานข้อมูลการจดแจ้ง (อย.) ห้างสรรพสินค้า อิลลุ่ม (Illum) ต่างประเทศ แนวทางการดำเนินงาน 1. คัดเลือกผู้ประกอบการชาวไทย 2. ให้ผู้ประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน EU /กลุ่มนอร์ดิกโดยใช้ระบบพี่เลี้ยง 3. ให้ผู้ประกอบการทำ Business Matching กับ Agent ของทางห้าง ILLUM 4. Agent จะนำตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ เสนอให้ห้าง ILLUM เพื่อคัดเลือก

18 คาดว่าในปี 2561 > / = 27,599 ล้านบาท
Product Outlet เป้าหมายใน ปี 2561 >> รายได้เพิ่มขึ้นจากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism) ร้อยละ 10 ของประเทศไทย ฐานเดิม ปี = 25,090 ล้านบาท คาดว่าในปี 2561 > / = 27,599 ล้านบาท ข้อมูล : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

19 ผลงานปี 2561(วันที่ 30 สิงหาคม 2561)
ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ปี (ร้อยละ) เป้าหมายร้อยละ 20 ที่มา : ฐานข้อมูล Health Data Center สืบค้นเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561

20 ผลงานปี 2561(วันที่ 30 สิงหาคม 2561)
ข้อมูลมูลค่ายาแผนปัจจุบัน และ ยาสมุนไพร เฉพาะ 13 จังหวัด เมืองสมุนไพร ร้อยละมูลค่ายาสมุนไพรต่อยาแผนปัจจุบัน ร้อยละมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี 59 เทียบ ร้อยละ 16 60 เทียบ ร้อยละ 19 มูลค่ายาแผนปัจจุบัน และ ยาสมุนไพร ปี ปี ปี 2561 ที่มา : ฐานข้อมูล Health Data Center สืบค้นเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561 มูลค่าการใช้ยาแผนปัจจุบันมีแนวโน้มลดลง

21 การเติบโตของมูลค่าการตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี
แนวโน้มมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรในประเทศ อาหารและเครื่องดื่ม (หน่วย: พัน ลบ.) อาหารเสริม(หน่วย: หมื่น ลบ.) อัตราโต 9% อัตราโต 11.5% ยาสมุนไพร (หน่วย: พัน ลบ.) เครื่องสำอาง (หน่วย: แสน ลบ.) อัตราโต 11% อัตราโต 7% การเติบโตของมูลค่าการตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ที่มา : ผลการสำรวจ จากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (กันยายน 2560)

22 แผนงาน/โครงการสนับสนุนการดำเนินการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในระบบบริการ 300 ลบ./ โครงการ 3 ต./App. Samunprai First/ ตลาดกลางวัตถุดิบสมุนไพรออนไลน์ Small Success: จัดอบรมการจัดทำแผนธุรกิจ (business Plan)/ การสำรวจมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพร การลงพื้นที่เพื่อตรวจ ติดตาม รับฟัง ปัญหาการดำเนินงานเมืองสมุนไพร จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเมืองสมุนไพร จัดทำระบบรายงานผ่านระบบ HealthKPI ร่วมกับ สป.

23 อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
สนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่อง กำหนด KPI ร่วม พัฒนาระบบรายงานกลางของ กระทรวงให้ตอบสนองต่อความต้องการของส่วนกลางและไม่เป็นภาระของพื้นที่ระบบรายงานข้อมูล

24 สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์
DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

25 ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
ดำเนินการจัดหาครุภัณฑ์การแพทย์ จำนวนทั้งสิ้น 22 รายการ 3 โครงการ 4 กิจกรรม 1. โครงการพัฒนาสังคม สิ่งแวดล้อมและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน ยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุข จำนวน 1 รายการ 2. โครงการพัฒนาสังคมและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อความมั่นคงในชีวิต จำนวน 5 รายการ การพัฒนาศักยภาพและการเข้าถึงบริการของประชาชน จำนวน 13 รายการ 3. โครงการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตภาคเหนือ พัฒนาระบบดูแลและยกระดับการให้บริการสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 3 รายการ กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

26 ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
โครงการ/ผลผลิต กิจกรรม ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1. โครงการพัฒนาสังคม สิ่งแวดล้อมและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน 1.1 ยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุข (โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี) ร้อยละผู้ป่วยผ่านเกณฑ์ระยะ เวลารอคอยรังสีรักษาไม่เกิน 6 สัปดาห์ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 60 ผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาเพื่อรักษาโรคมะเร็ง 5 โรค (มะเร็งตับและท่อน้ำดี, มะเร็งหลอดคอ หลอดลมใหญ่และปอด, มะเร็งเต้านม, มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก, มะเร็งปากมดลูก) จำนวน 93 ราย เป็นผู้ป่วยที่แพทย์วางแผนการรักษาด้วยรังสีรักษา และได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาไม่เกิน 6 สัปดาห์ จำนวน 58 ราย คิดเป็นร้อยละ 62.4 ทำให้ผู้ป่วยลดระยะเวลารอคอยการรักษาและเข้าถึงบริการได้มากขึ้น กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

27 ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
โครงการ/ผลผลิต กิจกรรม ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2. โครงการพัฒนาสังคมและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน 2.1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อความมั่นคงในชีวิต (โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี) ระดับความสำเร็จในการพัฒนาศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง (Center of excellence) ระดับ 5 ระดับความสำเร็จอยู่ในระดับ 5 โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลองค์การเพื่อระบุประเด็นการพัฒนาตาม 7 องค์ประกอบของการเป็นศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง 2. นำผลการวิเคราะห์มาจัดทำแผนการพัฒนาศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง 3. ดำเนินตามแผน และติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 4. สรุปผลการดำเนิน งานตามแผนการพัฒนาศูนย์การเฉพาะทาง 2.2 การพัฒนาศักยภาพและการเข้าถึงบริการของประชาชน (โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)) ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพด้านสายตาได้รับการดูแลรักษาครบวงจร ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุ 60 ขึ้นไปมารับบริการได้รับการตรวจรักษา ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 (ไตรมาส จำนวน 19,930 ราย, 20,419 ราย, 15,135 ราย และ 11,930 ราย ตามลำดับ รวมทั้งสิ้น 67,414 ราย) กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

28 ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
โครงการ/ผลผลิต กิจกรรม ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 3. โครงการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตภาคเหนือ 3.1 พัฒนาระบบดูแลและยกระดับการให้บริการสุขภาพผู้สูงอายุ (โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง) ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 100 ประชากรได้รับบริการด้วยเครื่องตรวจ mammogram จำนวน 378 ราย จากผู้มารับบริการตรวจเต้านม จำนวน 378 ราย คิดเป็น ร้อยละ 100 ประชาชนได้รับโอกาสในการเข้าถึงเทคโนโลยีการตรวจ วินิยฉัยและรักษามะเร็งเต้านม ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงด้านรังสีวิทยาจากการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านการรักษาโรคมะเร็งสตรี (มะเร็งเต้านม) กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

29 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
โครงการ/ผลผลิต กิจกรรม รายการ งบที่ได้รับจัดสรร ผลการเบิกจ่าย คงเหลือ 1. โครงการพัฒนาสังคม สิ่งแวดล้อมและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน 1.1 ยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุข ครุภัณฑ์การแพทย์ จำนวน 1 รายการ (เครื่องเร่งอนุภาคที่ผลิตเฉพาะโฟตอนพลังงานมากกว่า 6 MV หรือผลิตลำรังสีอิเลคตรอน ร่วมด้วยพร้อมชุดอุปกรณ์ฉายรังสีแบบแปรความเข้มลำรังสี) 99,000,000 98,600,000 400,000 2. โครงการพัฒนาสังคมและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน 2.1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อความมั่นคงในชีวิต 2.2 การพัฒนาศักยภาพและการเข้าถึงบริการของประชาชน ครุภัณฑ์การแพทย์ จำนวน 5 รายการ (เครื่องวางแผนการรักษาด้วยรังสีพร้อมเครื่องนัดหมายและทวนสอบข้อมูลผู้ป่วยโรคมะเร็ง, กล้องส่องตรวจระบบทางเดินหายใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงชนิดวิดีทัศน์แบบ Convex เป็นต้น) 64,900,000 63,060,000 1,840,000 ครุภัณฑ์การแพทย์ จำนวน 13 รายการ (เครื่องผ่าตัดจอตาพร้อมเลเซอร์สำหรับจอตา เครื่องวิเคราะห์โรคต้อหินและถ่ายภาพจอประสาทตาโดยใช้เลเซอร์สแกน และกล้องถ่ายภาพลูกตาส่วนหน้าความละเอียดสูงพร้อมวัดความยาวลูกตาแบบอัตโนมัติ เป็นต้น) 65,470,000 65,258,000 212,000 3. โครงการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตภาคเหนือ 3.1 พัฒนาระบบดูแลและยกระดับการให้บริการสุขภาพผู้สูงอายุ ครุภัณฑ์การแพทย์ จำนวน 3 รายการ (เครื่องเอกซเรย์เต้านมระบบดิจิตอล 2 และ 3 มิติ, ระบบตรวจสอบความถูกต้องของการฉายรังสีให้แก่ผู้ป่วย และเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงชนิดสี จำนวน 3 หัวตรวจ) 29,250,000 27,800,000 1,450,000 รวม 258,620,000 254,718,000 3,902,000 กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน กรมการแพทย์ DEPARTMENT OF MEDICAL SERVICES

30 สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศ. ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในคน สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค เนื่องด้วยพระปณิธานของศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่มีต่อพสกนิกรชาวไทยและสรรพชีวิตในข้อทรงห่วงใยปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ รวมถึงพระวิสัยทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพโลกหนึ่งเดียว โดยมีประสงค์ให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศไทย ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) ที่กำหนดให้ทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียนกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปภายในปี พ.ศ.2563 ประเทศไทยในฐานะประเทศภาคีสมาชิกต้องดำเนินการตามเป้าหมายดังกล่าว ภายใต้ภารกิจร่วมของทุกหน่วยงาน โดยมีเป้าประสงค์ร่วมกัน คือ ไม่มีคนและสัตว์เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าแบบยั่งยืน

31 11 ราย 15 ราย

32

33 สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า วันที่ 1 มกราคม-12 สิงหาคม 2561
ผลตรวจยืนยันในสัตว์ 1 มค-12 สค 2561 จำนวน 1,189 ตัวอย่าง แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค เสียชีวิต 15 ราย 14 ราย ไม่ได้ไปพบแพทย์เพื่อการรับวัคซีน 1 ราย ไปคลินิก-ได้รับการแนะนำให้ไป รพ. แต่ไม่ได้ไป แพร่พันธุ์ได้มาก-รวดเร็ว การทำหมันได้น้อย ฉีดวัคซีนไม่ครอบคลุม บ่างพื้นที่มีปัญหา Cold chain ยังพบสุนัขบ้าต่อเนื่อง RIG = 510,492,995 Vaccine = 945,406,020 ประมาณ = 1,455,899,015 1,600 ล้านบาท คาดว่าสิ้นปี 2561 จะใช้งบของสถานบริการ มากกว่า แหล่งข้อมูล : สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์ แหล่งข้อมูล : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

34

35 ปัญหา การมีข้อบัญญัติท้องถิ่นและการบังคับใช้
การบูรณาการความร่วมมือกับเครือข่ายยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ประชาชนขาดความรับผิดชอบในการเลี้ยง ไม่คุมกำเนิด ไม่พาไปฉีดวัคซีน มีการปล่อยสัตว์ ทำให้มีสัตว์จรจัดเพิ่มขึ้น

36 การดำเนินงานในลำดับถัดไป
ใช้มาตรการทางกฎหมาย จัดทำ (ร่าง) คำแนะนำของคณะกรรมการ สธ. เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงและการปล่อยสัตว์ เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า และเหตุรำคาญ จัดทำตัวอย่าง (ร่าง) ข้อบัญญัติท้องถิ่น เรื่อง การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสุนัข และแมว เพิ่มมาตรการเชิงรุก การให้วัคซีน ควบคุมจำนวนสุนัข ความรอบรู้ประชาชนเรื่องโรคพิษสุนัขบ้า

37 Thank you


ดาวน์โหลด ppt 1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google