งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สื่อการเรียนการสอน วิชาหลักการจัดการ รหัสวิชา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

2 กระบวนการจัดการ เรื่อง การจัดองค์การ (Organizing)

3 ความหมาย ความสำคัญ ลักษณะ ขององค์การ
ความหมาย ความสำคัญ ลักษณะของการจัด องค์การ หลักการจัดองค์การ โครงสร้างองค์การ

4 ขั้นตอนการจัดองค์การ
โครงสร้างขององค์การ

5 วัตถุประสงค์การเรียนรู้
บอกความหมายขององค์การและการจัดองค์การได้ อธิบายหลักการจัดองค์การได้ บอกขั้นตอนการจัดองค์การได้ อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์การได้

6 หัวข้อที่ต้องศึกษา 1. องค์การ 2 การจัดองค์การ 3 โครงสร้างขององค์การ 4 หลักการจัดองค์การ

7 ความหมายองค์การ ความหมายตามพจนานุกรม “ศูนย์กลางของกิจกรรมที่รวมประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยงาน”

8 ความหมายองค์การ ดร.สุพร ศรีพหล “กลุ่มคนร่วมกันดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน”

9 ความหมายองค์การ ดร.นิพนธ์ ศศิธร “คณะบุคคลที่มารวมตัวกันแล้วแบ่งหน้าที่กันตามความเหมาะสมและสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่นั้นให้เกิดความสำเร็จตามแนวคิดที่กำหนดไว้

10 Amitai Etzioni “หน่วยสังคมหรือกลุ่มบุคคลที่ตั้งขึ้นอย่างจงใจเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายที่แน่นอนอย่างใดอย่างหนึ่ง

11 องค์การ Organization ประกอบด้วยบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
ประกอบด้วยบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แต่ละบุคคลในองค์การมีความเกี่ยวข้องกันในลักษณะใดลักษณะหนึ่งกันอยู่ตลอดเวลา

12 องค์การ Organization ความเกี่ยวข้องหรือความเกี่ยวพันนี้ สามารถจัดลำดับออกมาเป็นโครงร่างได้ กลุ่มบุคคลที่มารวมกันแต่ละคน ต่างก็มีจุดมุ่งหมายของตนเองแตกต่างกันไป

13 ©©องค์การ เป็นโครงสร้างที่ถูกจัดทำขึ้นตามกระบวนการโดยให้บุคคลเข้ามามีส่วนร่วมกันปฏิบัติงานจนงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้

14 ©องค์การเป็นที่รวมของคนกลุ่มใหญ่ที่มีจิตใจแน่แน่วที่จะร่วมมือกันจัดระบบงานต่าง ๆเพื่อให้ให้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมกัน

15 Eriffner & Frank กล่าวถึงองค์การว่า รูปแบบการรวมบุคคลจำนวนมากเข้ามาร่วมมือกันทำงานที่ซับซ้อนให้บรรลุผลสำเร็จ มีความมุ่งหมายร่วมกันตามระเบียบแบบแผนที่วางไว้

16 Barnard กล่าวว่า คือระบบการประสานงานร่วมกันระหว่างบุคคล 2 คนขึ้นไปอย่างแน่วแน่

17 Hicks กล่าวว่า องค์การคือกระบวนการจัดโครงสร้างให้กลุ่มบุคคลทำงานร่วมกันเพื่อวัตถุประสงค์ร่วมกัน

18 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับองค์การ
องค์การทางราชการ Bureaucracy - กระทรวง - ทบวง - กรม - เขต องค์การทางสังคม - ครอบครัว - โรงเรียน - สถาบันศาสนา - สมาคม ฯลฯ บุคคล บุคคล องค์การทางเอกชน - บริษัท - ร้านค้าต่าง ๆ

19 ความหมายของ Org. Katz , Kahn Bernard,Mooney,
Hicks,Urwick - เป็นกระบวนการ จัดโครงสร้าง หรือ การแบ่งงานเป็น ประเภทต่าง ๆ แล้ว มอบหมายความรับ ผิดชอบให้แก่สมาชิก ดำเนินการปฏิบัติให้ บรรลุเป้าหมาย Katz , Kahn - ระบบเปิดที่มีการเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม Bernard,Mooney, Sherwood - บุคคล 2 คนขึ้นไปมาทำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่กำหนดไว้

20 ลักษณะของ Org. Org. กลุ่มของบุคคล การจัดการ โครงสร้างของ ความสัมพันธ์
- การติดต่อสื่อสาร - การร่วมมือร่วมใจ - การมีเป้าหมายร่วมกัน - การมีกฏระเบียบ การจัดการ กลุ่มของบุคคล - แบ่งงานกันทำตาม ความสามารถ - กำหนดอำนาจหน้าที่, ความรับผิดชอบ โครงสร้างของ ความสัมพันธ์ Org. ระบบ กระบวนการ สภาพแวดล้อม Input --> Process > Output - แรงงาน - เทคนิค ผลิตภัณฑ์ - ทุน - วิธีการ การบริการ - ข้อมูล - เครื่องมือ - มีการดำเนินงานอย่างมีความต่อเนื่อง, รวดเร็ว,ถูกต้อง,ประหยัด * กำหนดเป้าหมาย * การแบ่งงาน (หลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อน) Feedback

21 เป้าหมายของ Org. (Org.Goal)
เปรียบเหมือนวิถีทาง (Means) ให้ไปถึงจุดหมายปลายทาง (Ends) จุดหมายปลายทางที่กำหนดขึ้นเพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรและกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อทิศทางสุดท้ายที่กำหนดไว้ใน Org. นั้น ๆ

22 วัตถุประสงค์ขององค์การ
สร้างสรรค์สินค้าและบริการ สนองตอบความต้องการของสมาชิกและสังคม ความดำรงอยู่ตลอดไป

23 วัตถุประสงค์ของ Org. (Org. Objective)
การให้บริการ - สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า - อยู่เหนือคู่แข่งขัน ทางเศรษฐกิจ - กำไรสูงสุด ทางด้านสังคม - ช่วยเหลือสังคม สงเคราะห์ - ให้ทุนต่าง ๆ - สร้างโรงเรียน - บำรุงศิลปะ ** ก่อให้เกิดจริยธรรม ทางธุรกิจ (ธุรกิจ) (ราชการ,ธุรกิจ) (ราชการ,ธุรกิจ)

24 ลักษณะขององค์การ องค์การต้องประกอบด้วยกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
บุคคลจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันทั้งโดยตรงและโดยอ้อม

25 ลักษณะขององค์การ 3. การปฏิสัมพันธ์อธิบายได้โดยโครงสร้างว่าใครอยู่ที่ไหน หน้าที่อะไร ขึ้นอยู่กับใคร 4. ทุกคนในองค์การมีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างออกไปแต่เป้าหมายเดียวกัน

26 ลักษณะขององค์การ 5. วัตถุประสงค์ส่วนตัวมีความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ส่วนรวม 6. องค์การเป็นกระบวนการ 7. องค์การเป็นระบบ

27 เหตุผลที่บุคคลต้องเข้าร่วมในองค์การ
เหตุผลทางสังคม+++++องค์การเป็นแหล่งของการสร้างประโยชน์ให้กับบุคคลหรือกลุ่มบุคคล

28 เหตุผลทางวัตถุ การมีองค์การเกิดขึ้นจะช่วยให้บุคคลในองค์การมีพลังความสามารถมากขึ้น ถ้าจะให้บุคคล คน ๆ เดียวจะทำอะไรไม่สำเร็จจึงต้องอาศัยคนช่วย

29 การเพิ่มพลังความสามารถ+++++มนุษย์แต่ละคนมีความสามารถ มีความรู้ที่แตกต่างกันจึงต้องเรียนรู้ให้เกิดพลังความคิด เกิดความสามารถ

30 เหตุผลที่คนต้องเข้าร่วมกับองค์การ (ต่อ)
เหตุผลที่คนต้องเข้าร่วมกับองค์การ (ต่อ) เพิ่มความรวดเร็วในการทำงาน++++งานบางอย่างต้องใช้เวลากับการปฏิบัติงาน งานบางอย่างต้องเร่งรัดให้เสร็จทันกำหนดระยะเวลา

31 เพิ่มความรอบรู้ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ ++++คนในองค์การจะต้องเรียนรู้ ศึกษาสิ่งใหม่ ๆ ให้ทันสมัยและก้าวทันเทคโนโลยีอยู่เสมอ

32 การมีส่วนร่วมของกลุ่มคนในองค์การ
เหตุผลทางสังคม Social Reasons เหตุผลทางวัตถุ Material Reasons ◊ เพิ่มพลังความสามารถ ◊ เพิ่มความรวดเร็วในการทำงาน ◊ เพิ่มความรอบรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ

33 ประเภทของ Org. - Informal Org. องค์การไร้รูปแบบองค์การที่ไม่เป็นทางการ
- Primary Org. องค์การแบบปฐมภูมิ * เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ * มีความคุ้นเคย * มีความเป็นส่วนตัว Ex: ครอบครัว - Secondary Org. องค์การทุติยภูมิ * มีการกำหนดบทบาทและหน้าที่ชัดเจน * มีความสัมพันธ์เป็นเหตุผล Ex: บริษัท , สมาคม , ราชการ - Informal Org. องค์การไร้รูปแบบองค์การที่ไม่เป็นทางการ * ไม่มีระเบียบกฏเกณฑ์ที่แน่นอน * ไม่มีสายการบังคับบัญชา * เกิดขึ้นด้วย ความพอใจ - Formal Org.

34 ชนิดขององค์การ เป็นที่ทราบกันแล้วว่า องค์การ สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวเรา ดังนั้นเราสามารถแยกองค์การเป็นได้หลายลักษณะ ซึ่งพอจะมองเป็น 3 ลักษณะได้แก่

35 ชนิดขององค์การ 1 องค์การทางสังคม ได้แก่ ครอบครัว โรงเรียน มหาวิทยาลัย ศาสนา สมาคม สโมสร ชมรม และกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ

36 ชนิดขององค์การ 2. องค์การทางราชการ ได้แก่ หน่วยงานราชการต่าง ๆ
2. องค์การทางราชการ ได้แก่ หน่วยงานราชการต่าง ๆ 3. องค์การเอกชน ได้แก่ บริษัท ห้างร้านต่าง ๆ

37 ปัญหาขององค์การ THESETS
TECHNOLOGY PROBLEM HUMAN RESOURSE PROBLEM ECONOMIC PROBLEM STRUSTURE PROBLEM ENVIRONMENT PROBLEM TECHNICAL PROBLEM SYSTEM PROBLEM

38 การบริหารจัดการเกี่ยวกับองค์การ
เป้าประสงค์คือ เพื่อให้องค์การมีประสิทธิภาพในการบริหาร ใช้ทรัพยากร แรงงาน คน เงิน วัสดุ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

39 การบริหารจัดการทำได้โดย 1. วิเคราะห์องค์การ 2. วิเคราะห์การปฏิบัติงาน
1. วิเคราะห์องค์การ 2. วิเคราะห์การปฏิบัติงาน

40 3. สรรหาวิธีการต่าง ๆ 4. จัดวางผังที่ทำงานให้มี ความเหมาะสม 5. ปรับปรุงงานหลังจากสรรหาวิธีใหม่ ๆ

41 จบเรื่อง องค์การ เบรกสักครู่
จบเรื่อง องค์การ เบรกสักครู่ เดี๋ยวมาต่อตอนที่ 2 เรื่อง การจัดองค์การ

42 การจัดองค์การ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับงานเข้าด้วยกันเป็นหน่วยงานเพื่อร่วมกันทำงานให้บรรลุเป้าหมาย

43 ความหมายของการจัดองค์การ
Hicks ≥ กระบวนการจัดโครงร่างให้กลุ่มบุคคลทำงาน ร่วมกันเพื่อวัตถุประสงค์ร่วมกัน

44 ความหมายของการจัดองค์การ
Edwin B. Flippo ≥ การจัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับงานเข้าด้วยกันเป็นหน่วยงาน เพื่อร่วมกันทำงานให้บรรลุเป้าหมาย

45 ความหมายของการจัดองค์การ
Louis A. Allen ≥ การทำงานหลังจากวางแผนแล้วจะต้องจัดกลุ่มกิจกรรมที่จำเป็นเพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ กำหนดขอบเขต มอบหมายความรับผิดชอบ และวางความสัมพันธ์

46 ลักษณะของการจัดองค์การ
เป็นกิจกรรมที่กระทำต่อจากการวางแผน มีการจัดกิจกรรมเป็นกลุ่ม

47 ลักษณะของการจัดองค์การ
มีการกำหนดขอบเขตและมอบหมายอำนาจหน้าที่ มีการวางสายสัมพันธ์ไว้อย่างชัดเจน

48 ความสำคัญของการจัดองค์การ
มีความสำคัญต่อองค์การเอง มีความสำคัญต่อผู้บริหาร มีความสำคัญต่อผู้ปฏิบัติงาน

49 ความสำคัญของการจัดองค์การ
 แสดงให้เห็นถึงกระแสการไหลของงาน  ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงขอบเขตของงาน  เป็นกรอบที่ช่วยเชื่อมโยงการทุ่มเทความพยายามจากขั้นตอน การวางแผนไปสู่ผลสำเร็จ ในขั้นตอนของการควบคุม  จัดวางช่องทางเพื่อการติดต่อสื่อสารและการตัดสินใจ  ป้องกันการทำงานซ้ำซ้อนและขจัดข้อขัดแย้งในหน้าที่งาน  ช่วยให้กำลังความพยายามมีจุดหมายชัดเจน โดยการจัดกิจกรรมให้สัมพันธ์กับเป้าหมายต่าง ๆ

50 หลัก OSCAR ของ Henry Fayol
หลักการจัดองค์การ หลัก OSCAR ของ Henry Fayol

51 O หมายถึง Objective การกำหนดวัตถุประสงค์
หลักการจัดองค์การ O หมายถึง Objective การกำหนดวัตถุประสงค์

52 S หมายถึง Specialization ความชำนาญงานเฉพาะด้าน
หลักการจัดองค์การ S หมายถึง Specialization ความชำนาญงานเฉพาะด้าน

53 C หมายถึง Co-ordinating การประสานงาน
หลักการจัดองค์การ C หมายถึง Co-ordinating การประสานงาน

54 A หมายถึง Authority อำนาจหน้าที่
หลักการจัดองค์การ A หมายถึง Authority อำนาจหน้าที่

55 R หมายถึง Responsibility ความรับผิดชอบ
หลักการจัดองค์การ R หมายถึง Responsibility ความรับผิดชอบ

56 หลัก DARHC ของ อาจารย์สุวิช แย้มเผื่อน
1. Division of Work หลักการแบ่งงานกันทำ 2. Authority and Responsibility หลักการมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 3. Hierarchy and Span of Control หลักการกำหนดสายการบังคับบัญชาและช่วงการบังคับบัญชา 4. Coordination หลักการประสานงาน การสร้างสายสัมพันธ์

57 1. Division of Work หลักการแบ่งงานกันทำ

58 2. Authority and Responsibility หลักการมอบอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ

59 3. Hierarchy and Span of Control หลักการกำหนดสายการบังคับบัญชาและช่วงการบังคับบัญชา

60 4. Coordination หลักการประสานงาน การสร้างสายสัมพันธ์

61 กำหนดรายละเอียดของงาน
ขั้นตอนการจัดองค์การ กำหนดรายละเอียดของงาน แบ่งงานให้บุคคลในองค์การทำตามความรู้ความสามารถและตามความเหมาะสม การประสานงาน

62 โครงสร้าง/แผนภูมิ องค์การ Organization Structure and Organization Chart
คือรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรกับตำแหน่งต่าง ๆ ในองค์การที่แสดงให้เห็นถึงสายการบังคับบัญชา การแบ่งแผนกงาน

63 แสดงให้เห็นลักษณะการจัดแผนกงานในองค์การ เช่น ประธาน รองปราน ฝ่ายปฏิบัติ ฝ่ายการเงิน ฝ่ายตรวจสอบ เป็นต้น

64 โครงสร้าง/ แผนภูมิ จะช่วยให้เข้าใจการทำงานขององค์การได้ง่ายขึ้น โดยแสดงหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์การและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลำดับชั้นในการบังคับบัญชา การติดต่อสื่อสารและการประสานงานร่วมกัน

65 ประโยชน์ของโครงสร้างองค์การ
ทำให้พนักงานในองค์การทราบว่าตนอยู่ ณ ตำแหน่งใด ทำหน้าที่อะไร ทำให้ทราบว่าสายการบังคับบัญชาและการติดต่อสื่อสารว่าใครเป็นผู้สั่งการ

66 โครงสร้างองค์การ

67 แสดง Line Organization
เจ้าของ ผู้จัดการ ผลิต ตลาด การเงิน แสดง Line Organization

68 แสดง Line and Staff Organization
ผู้จัดการ เจ้าหน้าที่ ฝ่ายวางแผน จัดซื้อ ผลิต ตลาด การเงิน บริหารบุคคล แสดง Line and Staff Organization

69 การจัดแผนกงาน หมายถึง การพิจารณากลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน หลักเกณฑ์สำหรับการแบ่งแผนกงาน (Bases for Departmentation) 1. การจัดแผนกงานโดยเพียงแต่แบ่งงานออกเท่า ๆ กัน 2. การใช้หน้าที่ (function) เป็นหลักเกณฑ์ 3. การใช้ผลิตภัณฑ์ (product) เป็นหลักเกณฑ์ 4. การใช้พื้นที่ (territory) เป็นหลักเกณฑ์ 5. การใช้ลูกค้า (customer) เป็นหลักเกณฑ์

70 ผังโครงสร้างองค์การแบบแยกตามหน้าที่
การรวมกลุ่มเป็นโครงสร้างขององค์การ 1. การจัดโครงสร้างองค์การแบบแยกตามหน้าที่ (functional structure) ผู้จัดการใหญ่ การตลาด ผลิต จัดซื้อ การเงินและการบัญชี การบริหารบุคคล ผังโครงสร้างองค์การแบบแยกตามหน้าที่

71 แสดงโครงสร้างแบบที่มีการแบ่งออกเป็นหน่วยต่างหากโดยแบ่งตามผลิตภัณฑ์
2. การจัดโครงสร้างแบบแบ่งส่วนงานออกเป็นหน่วยต่างหาก (divisional structure) ผู้จัดการใหญ่ การผลิต การตลาด บริหารบุคคล การเงิน ผู้จัดการ หน่วยค้าเสาเข็มคอนกรีต หน่วยค้าวัตถุก่อสร้างอื่น ๆ ผลิต ขาย บัญชี แสดงโครงสร้างแบบที่มีการแบ่งออกเป็นหน่วยต่างหากโดยแบ่งตามผลิตภัณฑ์

72 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผู้จัดการใหญ่ การผลิต การตลาด บริหารบุคคล การเงิน ผู้จัดการ ภาคเหนือ ภาคใต้ บุคคล ผลิต ขาย บัญชี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แสดงโครงสร้างองค์การแบบที่มีการแบ่งออกเป็นหน่วยต่างหากโดยแบ่งตามหน้าที่

73 แสดงโครงสร้างองค์การแบบผสม
3. การจัดโครงสร้างแบบผสม การผลิต การตลาด ผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการหน่วยค้าปุ๋ย ผู้จัดการหน่วย ค้าปราบศัตรูพืช ค้าแก๊ส ผลิต บริหารบุคคล การเงินและบัญชี ขาย โรงงานผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอนินทรีย์ สำนักงานขายเขตเหนือ สำนักงานขายเขตกลาง สำนักงานขายเขตใต้ แบ่งตามผลิตภัณฑ์ ตัวแทนขาย แก่สหกรณ์ ให้ร้านค้าปลีก แบ่งตามหน้าที่ แบ่งตาม ลูกค้า แสดงโครงสร้างองค์การแบบผสม

74 แสดงโครงสร้างตามโครงการ
การแบ่งและจัดกลุ่มกิจกรรมโดยเน้นจุดสนใจที่โครงการ (Matrix Organization) ประธานบริษัท ฝ่ายวิจัย ฝ่ายวิศวกร ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ผู้จัดการ โครงการ ก. โครงการ ข. โครงการ ค. นักวิจัย วิศวกร ผู้จัดทำ ตารางการผลิต เจ้าหน้าที่จัดซื้อ ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ตามโครงการ แสดงโครงสร้างตามโครงการ

75 การจัดโครงสร้างองค์การให้เหมาะสมกับสถานการณ์
โครงสร้างของ องค์การที่เหมาะสม ที่สุด ข้อแตกต่างของหน่วยงานย่อยในองค์การ แบบและวิธีการจัดการ ลักษณะของกลุ่มพนักงาน ลักษณะของงานที่เกี่ยวข้อง ความมั่นคงของสภาพแวดล้อม

76 แสดงส่วนของอำนาจหน้าที่ที่แบ่งเรื่อยไปตามขนาดความรับผิดชอบ
อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ มีลักษณะสำคัญ 2 ประการ คือ ก. เป็นสิ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นเจ้านายและลูกน้อง ข. เป็นสิ่งแสดงให้เห็นถึงความสามารถที่ผู้บริหารสูงสุดจะใช้บังคับให้เกิดการประสานได้ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง หัวหน้าผู้ควบคุมงาน คนงาน แสดงส่วนของอำนาจหน้าที่ที่แบ่งเรื่อยไปตามขนาดความรับผิดชอบ

77 แนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่
1. กลุ่มแนวความคิดว่าด้วยอำนาจหน้าที่ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ 2. กลุ่มแนวความคิดว่าด้วยการยอมรับ 3. กลุ่มแนวความคิดว่าด้วยความสามารถ

78 การพิจารณากำหนดอำนาจหน้าที่ให้เป็นที่ยอมรับ
1. การพิจารณาจากปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม 2. การกำหนดให้มีอำนาจหน้าที่โดยใช้วิธีการให้รางวัลและการลงโทษ 3. การเสริมสร้างความสามารถส่วนตัวบุคคลและความเป็นผู้นำที่ดี 4. การใช้ประโยชน์จากการพยายามหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา 5. การใช้อำนาจหน้าที่ให้ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม

79 การพิจารณากำหนดขนาดของการมอบหมายงาน
1. สภาพการณ์ของบรรยากาศขององค์การ 2. ลักษณะของกิจกรรมที่ทำ 3. ขึ้นอยู่กับผู้บริหารแต่ละคน

80 การควบคุมงานที่ได้มอบหมายไปแล้ว
1. จะต้องมิใช่เป็นการมอบหมายงานในลักษณะที่ขาดลอยไป 2. การใช้วิธีนำด้วยการปรึกษาในเบื้องต้นก่อนการมอบหมายงาน 3. การใช้วิธีการปรึกษาเป็นครั้งคราวและตั้งคำถามในระหว่างกระบวนการ 4. ให้มีการเสนอรายงานเป็นครั้งคราว 5. การสั่งให้ทำรายงานในขึ้นสุดท้าย

81 ประโยชน์ของการมอบหมายงาน
1. ช่วยลดภาระของผู้บริหารระดับสูง 2. ช่วยในการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา 3. เป็นการสร้างขวัญที่ดีให้แก่คนงาน

82 แสดงเปรียบเทียบการกระจายอำนาจอย่างเต็มที่และการรวมอำนาจอย่างเต็มที่
การกระจายอำนาจ (decentralization) การรวมอำนาจ (centralization) มีการมอบหมายหน้าที่ อำนาจ และอำนาจหน้าที่ไปยังระดับต่ำขององค์การเป็นอันมาก มีการสงวนและคงไว้ซึ่งหน้าที่ อำนาจ และอำนาจหน้าที่ไว้ที่ตัวผู้บริหารสูงสุดเกือบทั้งหมด แสดงเปรียบเทียบการกระจายอำนาจอย่างเต็มที่และการรวมอำนาจอย่างเต็มที่

83 การกระจายอำนาจ หมายถึง
การรวมอำนาจ หมายถึง การสงวนหรือรักษาอำนาจไว้ที่ส่วนกลางขององค์การอย่างมีระบบและสม่ำเสมอ จะแสดงให้เห็นว่าการตัดสินใจส่วนใหญ่ที่เกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ นั้นมิได้กระทำโดยปฏิบัติจริง ๆ แต่จะขึ้นอยู่กับผู้บังคับบัญชาที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าขึ้นไปเป็นผู้ตัดสินใจเอง การกระจายอำนาจ หมายถึง ความพยายามที่จะมอบหมายอำนาจหน้าที่ทั้งหมด ไปยังผู้บริหารในระดับต่าง ๆ ที่อยู่รองลงมาให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

84 ปัจจัยที่กำหนดขนาดของการกระจายอำนาจ
1. ความสำคัญของปัญหาที่จะต้องทำการตัดสินใจ 6. จำนวนของผู้บริหารที่มีอยู่ 2. ความต้องการที่จะให้เป็นแบบอย่างเดียวกันทางด้านนโยบาย 7. เทคนิคการควบคุม 8. การกระจายการปฏิบัติงาน 3. ขนาดขององค์การ 4. ประวัติความเป็นมาของธุรกิจ 9. อัตราการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ 5. ปรัชญาของฝ่ายบริหาร 10. อิทธิพลจากสภาพแวดล้อมภายนอก

85 สรุป การกระจายอำนาจนั้นมักจะเกิดขึ้นเมื่อมอบหมายงานได้ดำเนินไปอย่างมากและกระทำตลอดทั่วทั้งองค์การ การกระจายอำนาจมักจะเกิดขึ้นควบคู่กับการจัดโครงสร้างที่มีการแบ่งออกเป็นหน่วยต่างหาก การกระจายอำนาจมีประโยชน์สำคัญคือ อำนวยให้ธุรกิจสามารถแบ่งควบคุมงาน โดยการจัดให้มี “ศูนย์กำไร” และช่วยให้การตัดสินใจดีขึ้นกว่าเดิมด้วยการอนุญาตให้ตัดสินใจในระดับต่ำที่รอง ๆ ลงไป

86 THE END


ดาวน์โหลด ppt ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google