ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยUtami Budiman ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ )
2
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ ) 3 เป้าประสงค์ (Goals) 10 ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ 5 กลยุทธ์สร้างความมั่นใจ 19 กลวิธีรองรับการดำเนินงานตามกลยุทธ์ คงเดิม (info graphic ฉบับปรับปรุงแล้ว)
3
วิสัยทัศน์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ พันธกิจเฉพาะ
“ทุกคนที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย ได้รับความคุ้มครองหลักประกันสุขภาพอย่างถ้วนหน้าด้วยความมั่นใจ” พันธกิจ “พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์จากทุกภาคส่วน และเป็นตัวแทนในการจัดหาบริการที่มีคุณภาพให้ประชาชนเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมตามความจำเป็น” “Secure people toward effective equitable responsive Coverage, Access, and Utilization by evidence informed decision and participation” พันธกิจเฉพาะ ส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชนเข้าถึงได้ด้วยความมั่นใจ และเสริมสร้างความเท่าเทียมกันในระหว่างกองทุนประกันสุขภาพภาครัฐ สนับสนุนการพัฒนาการบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ทุกคนเข้าถึงได้ และเป็นที่พึงพอใจของประชาชนและผู้ให้บริการ บริหารเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดำเนินการให้ทุกภาคส่วนมีความเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพอย่างถ้วนหน้า รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการโดยเน้นการเคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีซึ่งกันและกัน พัฒนาและจัดการระบบข้อมูลเชิงประจักษ์และองค์ความรู้ต่างๆ และใช้ในการตัดสินใจเชิงนโยบาย คงเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง (จากที่เสนอบอร์ด 3 ตค.59)
4
“CSG” 3 Goals ปรับ G จาก “ระบบอภิบาลดี” ปรับเป็น “มีธรรมาภิบาล” (อ.ทัศนา)
5
ตัวชี้วัดเป้าประสงค์
Goal Indicators and Targets ประชาชนเข้าถึงบริการ ประสิทธิผลของความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ (Effective coverage) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ภายในปี 2564 (โดยมีการศึกษาเพื่อกำหนดบริการและกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ และระบบข้อมูลในการวัด ให้เสร็จในปี 2560) ร้อยละการใช้สิทธิเมื่อไปใช้บริการสุขภาพผู้ป่วยนอกมากกว่าร้อยละ 80 ผู้ป่วยในมากกว่าร้อยละ 90 ภายในปี 2564 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และผู้ให้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ภายในปี 2564 การเงินการคลังมั่นคง ร้อยละรายจ่ายสุขภาพเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ อยู่ระหว่างร้อยละ 4.6 ถึง 5.0 ในปี 2564 ร้อยละรายจ่ายสุขภาพเทียบกับรายจ่ายของรัฐบาล อยู่ระหว่าง ร้อยละ 17 ถึง 20 ในปี 2564 ร้อยละของครัวเรือนที่เกิดวิกฤติทางการเงินจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล (Catastrophic health expenditure) ไม่เกินร้อยละ 2.3 ในปี 2564 ร้อยละครัวเรือนที่ต้องกลายเป็นครัวเรือนยากจนภายหลังจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล (Health impoverishment) ไม่เกิน 0.4 ในปี 2564 (base line ปี 2557 = 0.47%) ดำรง ธรรมาภิบาล ระดับความสำเร็จของความมุ่งมั่นและความรับผิดชอบร่วมกันของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานฯ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามภายในเวลา 5 ปี (โดยให้มีการหารือร่วมกันของคณะกรรมการถึงประเด็นการประเมินและระดับความสำเร็จดังกล่าวให้เสร็จในปี 2560) ร้อยละความสำเร็จของการเป็นองค์กรประสิทธิภาพสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (base line = NA) ภายในปี 2564 ร้อยละการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment ITA) ตามมาตรฐานการประเมินของรัฐ (ปปช.) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ภายในปี 2564 (base line ปี 2558 = 83.96%) คงเดิม โดย เพิ่มการทำความเข้าใจเรื่อง Effective coverage, แนวทางการกำหนดวิธีวัดความมุ่งมั่นและความรับผิดชอบของ คกก. (Community of Commitment and Accountability) และ นิยามของการเป็นองค์กรประสิทธิภาพสูง (ปรากฎในเอกสาร word)
6
“5 Ensure” Strategies Strategy 1: สร้างความมั่นใจในการเข้าถึงบริการของกลุ่มเปราะบาง และกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ (Ensure coverage and access for vulnerable and underutilization groups) Strategy 2: สร้างความมั่นใจในคุณภาพมาตรฐานและความเพียงพอของบริการ (Ensure quality and adequacy of health services) Strategy 3: สร้างความมั่นใจในประสิทธิภาพการบริหารกองทุน (Ensure financial efficiency) Strategy 4: สร้างความมั่นใจในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (Ensure participation and ownership of all stakeholders) Strategy 5: สร้างความมั่นใจในธรรมาภิบาล (Ensure good governance) คงเดิม
7
S.1 สร้างความมั่นใจในการเข้าถึงบริการของกลุ่มเปราะบางและกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ (Ensure coverage and access for vulnerable and underutilization groups) กลวิธี 1.1 Empower ประชาชน ให้มีความตระหนักรู้ด้านสุขภาพ ดูแลสุขภาพตัวเองได้เหมาะสม และรับรู้ เข้าใจวิธีการใช้สิทธิ และไปใช้บริการเมื่อจำเป็น 1.2 Identify vulnerable and underutilization groups ค้นหาประชาชนกลุ่มเปราะบางและประชาชนที่เข้าไม่ถึงบริการ เพื่อทราบสถานการณ์ปัญหาและออกแบบการจัดการให้รับรู้สิทธิ และได้รับบริการที่จำเป็น 1.3 Proactive communication & Right protection เพิ่มกลไกการจัดการเพื่อคุ้มครองสิทธิกลุ่มเป้าหมายที่ยังมีปัญหาการเข้าถึงบริการ เน้นการสื่อสารเชิงรุกให้เข้าถึงข้อมูลต่างๆ การร้องเรียนที่เข้าถึงง่ายและมีช่องทางหลากหลาย รวมทั้งการประสานงานร่วมกับหน่วยงาน/ภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่น พม. สสส. เครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคมต่างๆ 1.4 Review proper benefit package ทบทวน/ปรับปรุงประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุขที่จำเป็นอย่างสม่ำเสมอ ให้สอดคล้องตามความจำเป็นของกลุ่มเปราะบาง/หรือบริการที่ยังมีปัญหาการเข้าถึงบริการ คงเดิม
8
S.2 สร้างความมั่นใจในคุณภาพมาตรฐานและความเพียงพอของบริการ (Ensure quality and adequacy of health services) กลวิธี 2.1 Ensure quality ส่งเสริมกลไกการประกันคุณภาพหน่วยบริการ Strengthen quality board พัฒนาความเข้มแข็งของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพฯ Monitor quality and patient safety กำกับติดตามคุณภาพบริการและความปลอดภัย โดยร่วมมือกับ สรพ.และภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2.2 Ensure adequacy of health services สนับสนุนความเพียงพอของบริการและเหมาะสมสำหรับทุกกลุ่ม Targeting จัดหาบริการสำหรับกลุ่มเปราะบาง/มีปัญหาการเข้าถึงบริการ เช่น PP ผู้ต้องขัง, LTC ผู้สูงอายุ, Child care ฯลฯ PMC in urban ขยายระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง รองรับการดูแลคนเขตเมืองที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ สนับสนุน สธ. เพื่อให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในสัดส่วนที่เหมาะสม เชื่อมบริการปฐมภูมิและการส่งต่อ/ส่งกลับ Promote health service innovation จัดหานวัตกรรมรูปแบบระบบบริการใหม่ๆ รองรับการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมายตามกลยุทธ์ที่ 1 และ บริการทั่วไป เช่น จัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดยหน่วยบริการ/หน่วยงานอื่น/ภาคประชาชน, Social enterprise 2.3 Strengthening P&P and Health literacy สนับสนุนบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคทุกกลุ่มวัย ที่เน้นชุมชนเป็นฐาน เพื่อสนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน คงเดิม
9
S.3 สร้างความมั่นใจในประสิทธิภาพการบริหารกองทุน (Ensure financial efficiency)
กลวิธี 3.1 Sustain source of finance ร่วมกับทุกภาคส่วนในการแสวงหาแหล่งเงินใหม่ เพื่อสร้างความยั่งยืนในระยะยาว 3.2 Improve efficiency of fund management เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนฯ ปรับประสิทธิภาพการบริหารจัดการรายการที่มีการจ่ายที่กำหนดราคาเฉพาะ ทำแผนพัฒนาการจัดสรรงบประมาณ (Payment development plan) สร้างกลไกให้ผู้ให้บริการตรวจสอบกันเองในการให้บริการ สนับสนุนนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การให้บริการตามที่จำเป็น หนุนเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์/บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขในบัญชีนวัตกรรม (นโยบาย Thailand 4.0) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น/พื้นที่ 3.3 Encourage harmonization สนับสนุนการสร้างความกลมกลืนระหว่างระบบประกันสุขภาพภาครัฐ สนับสนุนการปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพ ตามมาตรา 258 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2559 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบูรณาการระบบประกันสุขภาพ ให้สอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ตามมาตรา 65 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2559 ขับเคลื่อนการบูรณาการระบบบริหารจัดการระหว่างระบบประกันสุขภาพภาครัฐ เช่น วิธีและอัตราจ่ายค่าบริการ ระบบฐานทะเบียนผู้มีสิทธิ ระบบการตรวจสอบ และระบบบริการสอบถามข้อมูล เป็นต้น ปรับเรื่องการหนุนเสริมการใช้สินค้าในบัญชีนวัตกรรม (เดิม เป็นการจัดซื้อของในบัญชี) และ เพิ่มเรื่องการปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพตามรัฐธรรมนูญ
10
S.4 สร้างความมั่นใจในการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน (Ensure participation and ownership of all stakeholders) กลวิธี 4.1 Expand participation & ownership ขยายระดับการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของระบบของภาคียุทธศาสตร์และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ก.สธ./ UHOSNET, เครือข่ายวิชาชีพต่างๆ, อปท. ผ่านการขับเคลื่อนรูปแบบประชารัฐ, เครือข่ายภาคประชาชน 9 ด้าน, และภาคียุทธศาสตร์ใหม่ๆ (เช่น นักการเมือง นักศึกษา วิชาการ UHC school) 4.2 Stakeholder relation จัดระบบ/กลไกในการสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย/ภาคีเครือข่ายต่างๆ รวมทั้งการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจที่เกี่ยวข้อง 4.3 Improve hearing process ปฏิรูปการรับฟังความคิดเห็นฯ โดยเพิ่มความสำคัญของ stakeholders กลุ่มต่างๆ/ ประเด็นเฉพาะ ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย 4.4 UHC in Global Health ร่วมมือกับกลไกนโยบายหลักประกันสุขภาพระดับโลกช่วยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์หลักประกันสุขภาพในประเทศ คงเดิม
11
S.5 สร้างความมั่นใจในธรรมาภิบาล (Ensure good governance)
กลวิธี 5.1 Empower governing body เพิ่มขีดความสามารถของกลไกอภิบาลในระบบหลักประกันฯ โดยเฉพาะ Board member สร้างชุมชนแห่งความมุ่งมั่นและความรับผิดชอบร่วมกัน (Community of commitment and accountability) : Building & Strengthening capacity, Guideline จัดทำแนวทางการดำเนินงานและกำหนดความรับผิดขอบร่วมกัน, จัดตั้ง Board relation unit, Field visiting เพื่อรับฟังปัญหาและข้อเสนอจากพื้นที่ 5.2 Ensure evidence informed decision สนับสนุนการจัดการองค์ความรู้และการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการตัดสินใจ จัดตั้งหน่วยงานที่ทำข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ และเพิ่มความเข้มแข็งของกลไกติดตามประเมินผล (M&E) เพิ่มการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยและการจัดการองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง 5.3 HR Master Plan and Succession plan มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากร สปสช.ให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข 5.4 Decentralization เพิ่มการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบในการบริหารจัดการให้ สปสช.เขต และเพิ่มการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในการบริหารทรัพยากรสาธารณะ 5.5 Revise and improve management and supporting system ทบทวนและพัฒนาการบริหารจัดการและระบบงานสนับสนุนต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล หลักการ Good governance ถูกนำไปใช้ในการกำหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และกลวิธีการดำเนินการในภาพรวม (รายละเอียดตามเอกสารแนบ 1) สำหรับ กลยุทธ์ที่ 5 ตอบสนองหลักการ Good governance 7 ข้อ จากทั้งหมด 10 ข้อ ดังนี้ Efficiency (ปรับระบบ IT ระบบบริหารจัดการให้คล่องตัว) Effectiveness (M&E และ Evidence-based) Accountability (บทบาทของบอร์ด การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ การปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบต่างๆ) Transparency (บทบาทของบอร์ด การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ การปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบต่างๆ) Rule of Law (การปรับปรุงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆให้ชัดเจน ปฏิบัติได้) Decentralization (5.4) Morality and Ethics (Code of conduct ของบอร์ด และผู้ปฏิบัติงาน) ทั้งนี้ วิธีการวัด ในระยะ 5 ปีตามกรอบเวลายุทธศาสตร์ เป็นไปตามตัวชี้วัด ข้อ 8, 9. 10
12
ผังความเชื่อมโยง เป้าหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัด กิจกรรม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2562
ปรับปรุง 30 มี.ค.61 กฎหมาย/นโยบาย รธน. ม.258 (4) (5) / ประเทศไทย 4.0 / นโยบายรัฐบาล (ข้อ 5) / การพัฒนาที่ยั่งยืน :SDGs (ข้อ 3) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 4. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 4.1 การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้คนทุกกลุ่มในสังคม สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัยและทุกกลุ่ม 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.3 การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แผนพัฒน์ฯ ฉ. 12 ยุทธ์ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เป้าหมาย 2.2 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ ตัวชี้วัด ความแตกต่างของสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่ลดลง ยุทธ์ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม เป้าหมาย 2.2 เพิ่มความสามารถในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อยกระดับความสามารถการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ตัวชี้วัด นวัตกรรมทางสังคม และนวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการที่ผลิตได้เองภายในประเทศมีจำนวน เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1 เท่าตัว ยุทธศาสตร์จัดสรร ยุทธ์ 4 ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำและสร้างการเจริญเติบโตจากภายใน 4.2 การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ยุทธ์ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าหมาย : ระบบประกันสุขภาพภาครัฐทุกระบบมีความยั่งยืน ประสิทธิภาพ เป็นธรรม และสอดคล้องกลมกลืนกัน ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพและสะดวกทัดเทียม ตัวชี้วัด ร้อยละความแตกต่างของอัตราการใช้สิทธิเมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิแต่ละระบบ ไม่เกินร้อยละ 2.76 เป้าหมาย :2.1.3 (2) การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด : จำนวนผลงานวิจัยที่แล้วเสร็จพร้อมนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านสังคม ชุมชนร้อยละ 50 ของผลงานทั้งหมด เป้าหมายเชิงยุทธ์ แผนงาน 4.2 การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ (บูรณาการ) 4.8 แผนงานพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 4 แผนงานรองพัฒนาระบบประกันสุขภาพ (พื้นฐาน) 4.7.2 แผนงานรองบุคลากรภาครัฐด้านพัฒนาระบบประกันสุขภาพ 2.1.3 แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม (บูรณาการ) ผลสัมฤทธิ์ สธ. ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม แผนสุขภาพแห่งชาติ ฉ. 12 ยุทธ์ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ เป้าหมายที่ มีกลไกบริหารจัดการทรัพยากรสุขภาพที่เหมาะสม และเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศ ตัวชี้วัด รายจ่ายสุขภาพต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ (ไม่เกินร้อยละ 5) แนวทางที่ ปรับปรุงและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ และแนวทางที่ สนับสนุนการวิจัยและสร้างนวัตกรรม เป้าหมายบริการ สธ. เป้าหมายที่ 4 ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผลสัมฤทธิ์ สปสช. 1. ประชาชนผู้มีสิทธิในระบบประกันสุขภาพแห่งชาติเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ มีประสิทธิผลเพิ่มขึ้นและได้รับการคุ้มครองสิทธิ 2. ระบบบริหารเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน เป้าหมายบริการ สปสช. ประชาชนทุกคนเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเป็นธรรม ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละของประชาชนมีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (UCS) (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.93) ตัวชี้วัด 2 : อัตราการใช้สิทธิเมื่อมารับบริการผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 89) ประชาชนผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเข้าถึงบริการสุขภาพและได้รับการคุ้มครองสิทธิ ตัวชี้วัด1 : ร้อยละของประชาชนมีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (UCS) (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.93) ตัวชี้วัด 2 : ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ร้อยละ 85) ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐในการดำเนินการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด 1 : ร้อยละของการเบิกจ่ายของรายการค่าใช้จ่ายบุคลากรในการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ (ร้อยละ 100) มีองค์ความรู้ด้านการบริหารกองทุนและการพัฒนาระบบประกันสุขภาพที่ตอบสนองและขับเคลื่อนนโยบายด้านหลักประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด1 : จำนวนผลการศึกษาวิจัย/องค์ความรู้ด้านการบริหารกองทุนและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ (1 เรื่อง) ตัวชี้วัด 2: ผลการศึกษาวิจัย/องค์ความรู้ ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารกองทุนและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ (ร้อยละ 100) กลยุทธ์หน่วยงาน สนับสนุนค่าบริการให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดความเหลื่อมล้ำคุณภาพบริการระหว่างระบบประกันสุขภาพ พัฒนาระบบบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมโดยมีการคุ้มครองสิทธิ ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐในการดำเนินการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ สนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้สำหรับการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ผลผลิต/โครงการ โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตัวชี้วัด : วัดตามกิจกรรมในกองทุน 1.โครงการพัฒนาเพื่อให้ประชาชนผู้มีสิทธิเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาคกัน ตัวชี้วัด :จำนวนประเภทและขอบเขตบริการหลักที่ประกาศใช้ร่วมกัน 3 กองทุน ตามแผนที่กำหนด (1 เรื่อง) 2.โครงการพัฒนาเพื่อสร้างความเป็นธรรม ประสิทธิภาพ และความยั่งยืนด้านการเงินการคลังในระบบประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด : จำนวนข้อเสนอเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และความยั่งยืนด้านการเงินการคลังในระบบประกันสุขภาพ (1 เรื่อง) 1.พัฒนาเพื่อสร้างความเป็นธรรม ประสิทธิภาพ และความยั่งยืนด้านการเงินการคลังในระบบประกันสุขภาพ 3.โครงการพัฒนาเพื่อสร้างความกลมกลืนของการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพภาครัฐทุกระบบ ตัวชี้วัด : จำนวนกลไกบูรณาการระบบบริหารจัดการให้เป็นมาตรฐานเดียวกันระหว่างระบบประกันสุขภาพตามแผนที่กำหนด (4 เรื่อง) พัฒนาเพื่อสร้างความกลมกลืนของการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพภาครัฐทุกระบบ ระบบบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (UCS) (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.93) ตัวชี้วัด2 : ร้อยละการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานตามมาตรฐานการประเมินของรัฐ (ปปช.) (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐในการดำเนินการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของการเบิกจ่ายของรายการค่าใช้จ่ายบุคลากรในการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ (ร้อยละ 100) โครงการสนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้สำหรับการบริหารกองทุนและการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด : ผลการศึกษาวิจัย/องค์ความรู้ ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารกองทุนและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ (ร้อยละ 100) กิจกรรมหลัก จัดสรรค่าบริการทางการแพทย์สำหรับผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จัดสรรค่าบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ จัดสรรค่าบริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง จัดสรรค่าบริการควบคุม ป้องกันและรักษาโรคเรื้อรัง จัดสรรค่าบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับหน่วยบริการในพื้นที่กันดาร พื้นที่เสี่ยงภัย และพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จัดสรรค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จัดสรรค่าบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสำหรับการบริการระดับปฐมภูมิที่มีแพทย์ประจำครอบครัว ตัวชี้วัด : จำนวนผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ( ล้านคน) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ได้รับการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์อย่างต่อเนื่อง (229,400 ราย) จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับบริการส่งเสริมและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี (72,500 ราย) จำนวนผู้ป่วยไตวายเรื้อรังได้รับการดูแลสุขภาพ (53,100 ราย) จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ได้รับการควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรค (3,032,200 ราย) จำนวนผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่ได้รับบริการในชุมชน (12,000 ราย) จำนวนหน่วยบริการที่ให้บริการประชาชนในพื้นที่กันดาร พื้นที่เสี่ยงภัยและพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (202 แห่ง) จำนวนผู้สูงอายุสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการสาธารณสุข (152,800 คน) จำนวนการเข้าถึงบริการผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้น (730,000 ครั้ง) พัฒนาเพื่อให้ประชาชนผู้มีสิทธิเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาคกันตัวชี้วัด :จำนวนประเภทและขอบเขตบริการหลักที่ประกาศใช้ร่วมกัน 3 กองทุน ตามแผนที่กำหนด (1 เรื่อง) พัฒนากลไกการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่เหมาะสมกับความจำเป็นด้านสุขภาพ (ย.2,3,5) ตัวชี้วัด : อัตราการใช้บริการผู้ป่วยใน (Utilization rate : UR) (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.12) 2.พัฒนากลไกการคุ้มครองสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ (ย.1,4,5 : fix cost) ตัวชี้วัด : อัตราการตอบสนองต่อการแก้ปัญหาเรื่องร้องเรียนแล้วเสร็จภายใน 25 วันทำการ (ร้อยละ 76) 3. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนระบบประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จในเชิงผลลัพธ์ของการบูรณาการระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ระดับ 5) ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐในการดำเนินการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ สนับสนุน ส่งเสริมการศึกษาวิจัยสร้างองค์ความรู้ ด้านการบริหารกองทุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด : จำนวนผลการศึกษาวิจัย/องค์ความรู้ด้านการบริหารกองทุนและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ (1 เรื่อง)
13
ทุกคนที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย
ผังเชื่อมโยงยุทธศาสตร์พัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ ) 24 พ.ย.60 รหัสตัวชี้วัด G1 02: อัตราการใช้สิทธิเมื่อมารับบริการของผู้มีสิทธิ (Compliance rate) 03: ความพึงพอใจต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของประชาชน 04: ประสิทธิผลของความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ (Effective coverage) ยุทธ์ 1 : สร้างความมั่นใจในการเข้าถึงบริการของกลุ่มเปราะบางและกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ 1.1 ประชาชนให้มีความตระหนักรู้ด้านสุขภาพ ดูแลสุขภาพตัวเองได้เหมาะสม และรับรู้ เข้าใจวิธีการใช้สิทธิ และไปใช้บริการเมื่อจำเป็น 1.2 จัดกลไกการค้นหาประชาชนกลุ่มเปราะบางและประชาชนที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ (Identify target) เพื่อทราบสถานการณ์ปัญหาและออกแบบการจัดการให้รับรู้สิทธิ และได้รับบริการที่จำเป็น 1.3 เพิ่มกลไกการจัดการเพื่อคุ้มครองสิทธิกลุ่มเป้าหมายที่ยังมีปัญหาการเข้าถึงบริการ เน้นการสื่อสารเชิงรุกให้เข้าถึงข้อมูลต่างๆ การร้องเรียนที่เข้าถึงง่ายและมีช่องทางหลากหลาย รวมทั้งการประสานงานร่วมกับหน่วยงาน/ภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่น พม. สสส. เครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคมต่างๆ 1.4 ทบทวน/ปรับปรุงประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุขที่จำเป็นที่สอดคล้องตามความจำเป็นของของกลุ่มเปราะบาง/หรือบริการที่ยังมีปัญหาการเข้าถึงบริการ G1 : Effective, equitable and responsive Coverage ประชาชนเข้าถึงบริการ รหัสตัวชี้วัด G2 01: ร้อยละรายจ่ายสุขภาพเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 08: ร้อยละรายจ่ายสุขภาพเทียบกับรายจ่ายของรัฐบาล 09: ร้อยละของครัวเรือนที่เกิดวิกฤติทางการเงินจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล 10: ร้อยละครัวเรือนที่ต้องกลายเป็นครัวเรือนยากจนภายหลังจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล รหัสตัวชี้วัด G3 16: ระดับความสำเร็จในการกำหนดการวัดขีดความสามารถในการมุ่งมั่นและความรับผิดชอบร่วมกันของคณะกรรมการแห่งชาติและคณะกรรมการควบคุมฯ 17: ระดับความสำเร็จการเป็นองค์กรสมรรถนะสูง 18: ร้อยละการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานตามมาตรฐานการประเมินของรัฐ (ปปช.) G2 : SAFE financing system การเงินการคลังมั่นคง G3 : Good Governance ดำรงธรรมาภิบาล ยุทธ์ 2 : สร้างความมั่นใจในคุณภาพมาตรฐานและความเพียงพอของบริการ 2.1 ส่งเสริมกลไกการประกันคุณภาพ หน่วยบริการ 2.2 สนับสนุนความเพียงพอของบริการและเหมาะสมสำหรับทุกกลุ่ม 2.3 สนับสนุนบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคทุกกลุ่มวัย ที่เน้นชุมชน เป็นฐานเพื่อสนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ยุทธ์ 4 : สร้างความมั่นใจการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4.1 ขยายและเพิ่มระดับการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของระบบของภาคียุทธศาสตร์และผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มต่างๆ 4.2 จัดระบบ/กลไกในการสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย/ภาคีเครือข่ายต่างๆ รวมทั้งการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจที่เกี่ยวข้อง 4.3 ปฏิรูปการรับฟังความคิดเห็นทั่วไปฯ โดยเพิ่มความสำคัญของ stakeholders กลุ่มต่างๆ/ ประเด็นเฉพาะ, รูปแบบ วิธีการ ที่หลากหลาย 4.4 ร่วมกับกลไกนโยบายหลักประกันสุขภาพระดับโลกช่วยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์หลักประกันสุขภาพในประเทศ ยุทธ์ 5 : สร้างความมั่นใจในธรรมาภิบาล 5.1 เพิ่มขีดความสามารถของกลไกอภิบาลในระบบหลักประกันฯ โดยเฉพาะ Board member เพื่อสร้างชุมชนแห่งความมุ่งมั่นและความรับผิดชอบร่วมกัน 5.2 สนับสนุนการจัดการองค์ความรู้และการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการตัดสินใจ 5.3 มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรสปสช.ให้เป็นคนเก่ง ดี มีความสุข และทันต่อการเปลี่ยนแปลง และมีการติดตามผลและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 5.4 เพิ่มการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบในการบริหารจัดการในทุกด้าน ให้ สปสช.เขต และเพิ่มการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในการบริหารทรัพยากรสาธารณะซึ่งจะช่วยลดความ เหลื่อมล้ำได้ 5.5 ทบทวนและพัฒนาการบริหารจัดการและระบบงานสนับสนุนต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธ์ 3 : สร้างความมั่นใจในประสิทธิภาพการบริหารกองทุน 3.1 ร่วมกับทุกภาคส่วนในการแสวงหาแหล่งเงินใหม่ เพื่อสร้างความยั่งยืนของระบบหลักประกันสุขภาพในระยะยาว 3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนฯ 3.3 สนับสนุนการสร้างความกลมกลืนระหว่างระบบประกันสุขภาพภาครัฐ ทุกคนที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย ได้รับความคุ้มครองหลักประกันสุขภาพอย่างถ้วนหน้าด้วยความมั่นใจ
14
“การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมาย ไม่ใช่มุมมองแบบระนาบเดียว แต่ควรมองทุกกลยุทธ์เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน โดยทุกงานที่ทำต้องคำนึงถึง Participation of stakeholders และ Governance”
15
“การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ” กำหนดทิศทาง และ Priority setting งานสำคัญ เพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ O U T P แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่เป็นความเห็นร่วมกัน สื่อสารให้เข้าใจทั่วกัน ลงมือดำเนินงานไปด้วยกัน
16
จุดเน้นการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
จุดเน้นสำคัญ 9 ประเด็น Target & Area 1) ผู้สูงอายุ 2) กลุ่มเปราะบาง 3) ปชช. ทั่วไป (Rest of the pop) 4) เขตเมืองใหญ่ 5) กองทุนท้องถิ่น การบริหารองค์กร และ Governance 6) บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (HR) 7) กฎหมาย 8) การกระจายอำนาจ 9) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร Output/Outcome KPI Action
17
จุดเน้นการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
จุดเน้นสำคัญ 11 ประเด็น 1) เพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่มเปราะบาง 2) สนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ ที่เชื่อมโยงกลไกคลินิกหมอครอบครัว (PCC) และคณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (DHB) 3) สนับสนุนการบริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต รองรับนโยบาย UCEP 4) บูรณาการกลไกในการพัฒนาและกำกับคุณภาพบริการ (ระบบ UC) 5) ปรับปรุงรูปแบบจ่ายค่าชดเชยยา/เวชภัณฑ์/วัคซีน/อุปกรณ์ฯ 6) ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุน 7) บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ 8) เพิ่มความร่วมมือการทำงานกับภาคีเครือข่าย ผ่านกลไก ต่างๆ 9) ขับเคลื่อน UHC สู่ประเทศต่างๆ ผ่านความร่วมมือ JICA และนานาชาติ 10) สร้างชุมชนแห่งความมุ่งมั่น และความรับผิดชอบร่วมของคณะกรรมการหลักฯและคณะกรรมการควบคุมฯ 11) ปรับปรุงระบบบริหารจัดการสำนักงาน (Improve management) Output/Outcome KPI Action
18
จุดเน้นการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2562
จุดเน้นสำคัญ 6 ประเด็น 1) เพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่มเปราะบาง 2) เพิ่มการเข้าถึงบริการผู้สูงอายุ (เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกองทุน LTC และกองทุนท้องถิ่น) 3) PCC กทม.+ P&P Itemized + ผู้ป่วยเรื้อรัง (เบาหวาน/ความดัน) 4) พัฒนาระบบและขยายศักยภาพ Medical Audit System 5) HR and Office automation 6) ขับเคลื่อน UHC ที่เชื่อมโยงระดับชาติและนานาชาติ Output/Outcome KPI Action
19
สรุปจุดเน้นการดำเนินงานที่สำคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
พัฒนาศักยภาพบุคลากรภายใต้ความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่น ร่วมประชุม/ศึกษา/แลกเปลี่ยน งานหลักประกันสุขภาพระหว่างประเทศ ของ คกก.หลักฯ/ควบคุมฯ/อนุฯ-คทง.ภายใต้ คกก. สนับสนุนประชุมระหว่างประเทศด้านหลักประกันฯ (PMAC, ประชุมวิชาการฯ) สนับสนุนแผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การอนามัยโลก (CCS) 1. เพิ่มการ เข้าถึงบริการ กลุ่มเปราะบาง 6. ขับเคลื่อนUHC ที่เชื่อมโยงระดับชาติและนานาชาติ จุดเน้นปี 62 2.เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารกองทุนท้องถิ่น/ LTC/กองทุนฟื้นฟูระดับจังหวัด 3. เพิ่มการเข้าถึงบริการ P&P, ผู้ป่วยเรื้อรัง, PCC กทม. 5. การบริหารจัดการองค์กร (HR/ Smart Office) เพิ่มความถูกต้องการสรุปเวชระเบียนของหน่วยบริการ 4. พัฒนาระบบและขยายศักยภาพ Medical Audit System ขึ้นทะเบียนหน่วยงานบริการปฐมภูมิในเรือนจำ และ เพิ่มการเข้าถึงบริการโรคสำคัญ TB/AIDs/NCD เพิ่มการเข้าถึงสิทธิของพระสงฆ์ และ พระสงฆ์เป็นแกนนำงานหลักประกันสุขภาพ เพิ่มการเข้าถึงสิทธิฯ ของคนไร้บ้าน พัฒนาสมรรถนะ /ทดแทนตำแหน่งงานของผู้ปฎิบัติงาน และสร้างความสุขในการทำงาน ลดการใช้กระดาษ (Paperless) ใช้หลัก Routine to Automation ทบทวนภารกิจและโครงสร้างองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพการจ่ายเงินกองทุนท้องถิ่นฯ/LTC/กองทุนฟื้นฟูระดับจังหวัด และเพิ่มการเข้าถึงบริการ LTC เพิ่มการเข้าถึงบริการ PP กลุ่ม Non-UC และมีระบบข้อมูลและนำไปใช้ในการติดตามประเมินผล ขยายพื้นที่ดำเนินงาน เพิ่มการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการร่วม PCC และเพิ่มการเข้าถึงบริการ OP ที่มีคุณภาพ ในหน่วยร่วม PCC (บริการ P&P)
20
จุดเน้น 1.1 เพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่มเปราะบาง (ผู้ต้องขัง) ปี 2562
สถานการณ์/ปัญหา รพ.ราชทัณฑ์ ไม่สามารถจัดระบบบริการ/เครือข่ายส่งต่อ ภายใต้กรมราชทัณฑ์ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ 143 แห่ง และไม่มีระบบบริการร่วมกับหน่วยบริการประจำในจังหวัด ผู้ต้องขังขาดความต่อเนื่องการรักษา TB, AIDs, PP, จิตเวช,ยาเวชภัณฑ์ไม่พอ 2.ไม่มีช่องทางเฉพาะในการเข้ารับบริการ อุปสรรคการควบคุม เสี่ยงต่อการหลบหนี 3.สถานพยาบาลเรือนจำ ที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิร่วมกับ รพ. สธ แห่ง ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิในเรือนจำ เพิ่มการเข้าถึงบริการโรคสำคัญ TB/AIDS/NCD ตัวชี้วัดจุดเน้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี 62 : 1.ผู้ต้องขังในระบบ UC ได้รับการลงทะเบียนตามมติคณะกรรมการหลักฯ 80% 2. มีการจัดบริการปฐมภูมิในเรือนจำ 129 แห่ง ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี : อัตราการเข้าถึงบริการ TB/AIDs/DM/HT ของผู้ต้องขัง ร้อยละ……… ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ พัฒนาระบบทะเบียนสิทธิผู้ต้องขัง ให้เชื่อมโยงการเข้าถึงบริการ เพิ่มการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิในเรือนจำ ร่วมกับหน่วยบริการประจำในพื้นที่ พัฒนาเครือข่ายขับเคลื่อนการเข้าถึงบริการสุขภาพในกลุ่มผู้ต้องขัง สร้าง Image การจัดการระบบการคุ้มครองสิทธิ สื่อสาร ให้ความรู้ มติคณะกรรมการ/ข้อบังคับการย้ายสิทธิการเข้ารับบริการสุขภาพอัตโนมัติของผู้ต้องขัง ฐานทะเบียนสิทธิผู้ต้องขังที่เชื่อมโยง ราชทัณฑ์ สปสช. หน่วยบริการ แนวทางการตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิในเรือนจำ แผนความร่วมมือเชิงนโยบาย (สธ-ราชทัณฑ์-คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ฯลฯ) โครงสร้างจัดการระดับเขต/เครือข่ายความร่วมมือระดับพื้นที่ 5.ประเมินผลลัพธ์การเข้าถึงบริการสุขภาพผู้ต้องขัง 1.ข้อเสนอเชิงนโยบายในการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพ S1 พยาบาลในเรือนจำ และทัณฑปฏิบัติ (ผู้คุม) มาคุยทำความเข้าใจในการขึ้น-ลงทะเบียนผู้ต้องขัง S5 ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
21
จุดเน้น 1.2 เพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่มเปราะบาง (พระสงฆ์) ปี 2562
สถานการณ์/ปัญหา กฎหมายและยุทธศาสตร์ (รธน. ปี 60 มาตรา 47 มาตรา 55, ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉ 4 มหาเถรสมาคมเห็นชอบและให้ประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พ.ศ (20 ธค. 60) ข้อมูลพระสงฆ์ ยังไม่มีชัดเจน มีการเปลี่ยนแปลงสถานะตลอดเวลา ประมาณการทั้งประเทศ 300,000 รูป พระ(อาวุโส) ไม่มีบัตร ปชช. มีปัญหาการเข้าถึงบริการ/การใช้สิทธิ UC ได้ไม่ครบทุกมิติ (ส่งเสริม รักษา ฟื้นฟู) มีความร่วมมือ : สช. สสส. สธ (ก.อนามัย) และ พศ. ขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาวะพระสงฆ์ตามธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ เพิ่มการเข้าถึงสิทธิของพระสงฆ์ พระสงฆ์เป็นแกนนำงานหลักประกันสุขภาพ ตัวชี้วัดจุดเน้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี 62 : ร้อยละความครอบคลุมการเข้าถึงสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของพระสงฆ์ ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี : เหมือนปี 62 (เพิ่มเป้าหมาย) ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ พัฒนาการลงทะเบียนสิทธิเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการแก่พระสงฆ์ มีฐานทะเบียนพระสงฆ์ที่เชื่อมโยง (หน่วยบริการประจำ, พศ, สนบท, สปสช.) ปี 62 2.สร้างการมีส่วนร่วมด้านหลักประกันสุขภาพเครือข่ายพระสงฆ์และภาคีที่เกี่ยวข้อง 3.พัฒนารูปแบบบริการเชิงรุกและเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพพระสงฆ์ (PP /dent/etc.) ชุดเนื้อหาความรู้เรื่องหลักประกันสุขภาพสำหรับพระสงฆ์ จำนวนพระสงฆ์ที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นแกนนำในการสื่อสารด้านหลักประกันสุขภาพ รูปแบบบริการดูแลสุขภาพพระสงฆ์ที่บูรณาการร่วมกับงบกองทุนท้องถิ่นหรือ PPA S1 แนวทางติดตามประเมินผล : ปี ประเมิน Coverage ที่เพิ่มขึ้น ปี 64 ประเมิน Utilization ที่เพิ่มขึ้น ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
22
จุดเน้น 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกองทุนท้องถิ่นฯ และกองทุน LTC ปี 2562
สถานการณ์/ปัญหา การจ่ายเงิน LTC จากส่วนกลาง (จ่ายไม่หมด) 2.การจ่ายเงินจากกองทุนท้องถิ่นฯ และ LTC ของ อปท. (จ่ายไม่ออก) 3.การกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (มีความหลากหลาย ยังไม่สะท้อนผลลัพธ์การให้บริการ) 4. การรับรู้ การมีส่วนร่วม และความเป็นเจ้าของสุขภาพของ อปท. (การประชาสัมพันธ์ไม่ครอบคลุม) เพิ่มประสิทธิภาพการจ่ายเงินกองทุนท้องถิ่นฯ/LTC เพิ่มการเข้าถึงบริการ LTC ตัวชี้วัดจุดเน้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี 62 : กองทุนท้องถิ่น : 1. กองทุนท้องถิ่นฯ มีเงินคงเหลือไม่เกิน 30% ของเงินทั้งหมด 2. สปสช.โอนเงินให้กองทุนท้องถิ่นฯ 100 % ภายในไตรมาส 1 (KPI เขต) 3. อปท. สมทบเงินเข้ากองทุนท้องถิ่นฯ 100% ภายในไตรมาส 2 (KPI เขต) 4. กองทุนท้องถิ่นฯ 80% มีโครงการที่เกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก หรือโภชนาการในศูนย์เด็กเล็ก หรือ NCDs LTC : 1.อปท. ในโครงการที่มีการโอนงบประมาณเพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตาม Care plan ร้อยละ อัตราผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการตาม care plan ร้อยละ 90 ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี : กองทุนท้องถิ่น : กองทุนท้องถิ่นฯ มีเงินคงเหลือ ไม่เกิน 20%ของเงินทั้งหมด LTC : 1.ร้อยละของ อปท.ในโครงการที่มีการโอนงบประมาณเพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตาม Care plan ร้อยละ…..2. อัตราผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการตาม care plan ร้อยละ….. ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ 1. ประสานความร่วมมือระดับนโยบายกับภาคียุทธศาสตร์ พัฒนาประสิทธิภาพการจ่าย บริหารเงินกองทุนท้องถิ่นและกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ข้อตกลง ความร่วมมือการขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับประเทศ ระดับเขต (แผนความร่วมมือ) จำนวน อปท.ที่โอนงบให้กับหน่วยรับดำเนินงาน นำร่องพื้นที่ดำเนินการ (การจัดการความรู้) ระดับเขต มีคณะทำงานขับเคลื่อนร่วมกันกับภาคีเครือข่าย สธ. สถ. และมีข้อเสนอเพื่อสั่งการผู้เกี่ยวข้องอย่างน้อย 1 เรื่อง S3 อัตราผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการตาม care plan นิยาม ได้รับบริการตาม Care plan คือ โอนงบประมาณ ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
23
จุดเน้น 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกองทุนท้องถิ่นฯ และกองทุน LTC ปี 2562
ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ 2. สร้างกลไกการมีส่วนร่วม ภาคีเครือข่ายใหม่รวมบริหารจัดการกองทุนเน้นระบบพี่เลี้ยง และสื่อผ่านกระแสสังคม 1.มีหลักสูตรกลาง พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนท้องถิ่น/ LTC 2.จำนวนพี่เลี้ยงที่ผ่านการอบรมครอบคลุมทุกจังหวัด 3.จำนวนพี่เลี้ยง ได้รับการประเมิน ผลการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพ กก.กองทุนฯ/กำกับติดตามกองทุนท้องถิ่น 4.จำนวนสื่อประชาสัมพันธ์ ความสำเร็จการดำเนินงานกองทุนท้องถิ่น/LTC 3. การปรับปรุงกฎ ระเบียบ ประกาศ ให้เอื้อต่อการทำงานของ สปสช. และระเบียบหน่วยงานที่รับงบ 4. การประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานกองทุนท้องถิ่น/LTC ภาพรวม ระดับประเทศ/เขต ผลการประเมินผลลัพธ์ภาพรวมกองทุนท้องถิ่นฯ <C (ปี 64) S3 S5 อัตราผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการตาม care plan นิยาม ได้รับบริการตาม Care plan คือ โอนงบประมาณ ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
24
จุดเน้น 3.1 เพิ่มการเข้าถึงบริการ P&P ผู้ป่วยเรื้อรัง (เบาหวาน/ความดัน) ปี 2562
สถานการณ์/ปัญหา ปัญหาในการเข้าถึงบริการ PP ของกลุ่ม Non-UC และวัยทำงาน และ NCD ในกรณี secondary prevention 2. ขาดระบบกำกับติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ (SIPOC) ทั้ง PP และ NCD 3. PCC ยังขาดหน่วยร่วมบริการ อัตรากำลัง ค่าตอบแทน และความเข้าใจต่อระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพิ่มการเข้าถึงบริการ PP กลุ่ม Non-UC มีระบบข้อมูลและนำไปใช้ในการติดตามประเมินผล ตัวชี้วัดจุดเน้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี 62 : 1. อัตราการไปใช้บริการ PP Itemize ในกลุ่ม Non-UC 2. มีระบบข้อมูล DM HT และนำไปใช้ในการติดตามประเมินผล ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี : 1. อัตราการไปใช้บริการ PP Itemize ในกลุ่ม Non-UC เพิ่มขึ้นร้อยละ Effective coverage - PP (แยกรายประเด็น) 3. Effective coverage DM HT 4. อัตราการเข้ารับบริการด้วยโรคที่ไม่จำเป็น ( ACSC ) ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ พัฒนาการสื่อสารสิทธิประโยชน์ PP และบริการ แก่ผู้รับบริการและผู้ให้ บริการ (ในประเด็นรายการที่นำมาจ่าย FS focus ผู้ให้บริการในปี 62) 1.ชุดความรู้สิทธิประโยชน์และการรับบริการ PP ทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ 2.พัฒนาและนำร่องรูปแบบการบริหารจัดการบริการ PP โดยใช้กลไกระดับอำเภอ (พชอ.) และระดับจังหวัดผ่านการจัดบริการของ PCC และการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพท้องถิ่น ที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ และผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ 3.การศึกษาต้นทุนบริการ PP โดยสถาบันวิชาการภายนอกที่เป็นอิสระ 4.พัฒนากลไกสำหรับการจ่ายแบบ Fee Schedule (itemize) มีรายงานการศึกษาเบื้องต้นถึงรูปแบบและข้อมูลพื้นฐานของอำเภอ (พชอ.) และจังหวัดที่นำร่อง 2.ข้อเสนอ กรอบ/ความต้องการการศึกษาต้นทุนบริการ PP 3. ร้อยละ 85 ของหน่วยบริการประจำ, สสอ. และ สสจ. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสิทธิประโยชน์ 4. มีช่องทางการสื่อสารระหว่าง สปสช.เขต กับเจ้าหน้าที่รับผิดชอบหลักของหน่วยบริการประจำและ สสอ. S1 S3 ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
25
จุดเน้น 3.1 เพิ่มการเข้าถึงบริการ P&P ผู้ป่วยเรื้อรัง (เบาหวาน/ความดัน) ปี 2562
ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ 5.พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลและการใช้ประโยชน์ข้อมูล (บริการ P&P และบริการโรคเรื้อรัง DM HT 6.พัฒนาระบบฐานข้อมูลทะเบียนผู้ป่วย (DM HT, PP) 7.พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ และสมรรถนะที่เกี่ยวข้อง เช่น effective coverage ,commissioning ,policy communication & process 1.มีข้อมูลรายงานเพื่อการติดตามและประเมินผล ที่หน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงและนำไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการสำรวจบริการ PP ในระดับประชากร 3.ฐานข้อมูล DM HT ที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้ 4.มีแนวทางการติดตามและประเมินการดูแล DM/HT S5 ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
26
จุดเน้น 3.2 เพิ่มการเข้าถึงบริการปฐมภูมิในเขต กทม. (PCC กทม.) ปี 2562
สถานการณ์/ปัญหา รธน.มาตรา 257 (ช) ข้อ 5 ให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม กองทุน PCC ปี 61 จ่ายเงินล่าช้า 3.ปี 61 มีหน่วยบริการ PCC ในพื้นที่นำร่อง 4 เขต ขยายพื้นที่ดำเนินงาน เพิ่มการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการร่วม PCC (เพิ่ม 7 เขต 45 PCC total 66 PCC) เพิ่มการเข้าถึงบริการ OP ที่มีคุณภาพ ในหน่วยร่วม PCC (บริการส่งเสริมป้องกันฯ) ตัวชี้วัดจุดเน้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี 62 : 1. จำนวนการขึ้นทะเบียนหน่วยให้บริการ PCC ในเขต กทม.เพิ่มขึ้น ... แห่ง 2. อัตราการรับบริการ OP/P&P ในหน่วยบริการร่วมเพิ่มขึ้น ร้อยละ... ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี : ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ 1.เพิ่มพื้นที่ดำเนินการ 7 เขต 45 PCC 2. PCC เดิมได้รับการพัฒนาศักยภาพให้บริการได้ตามเกณฑ์ บริการทุกคน >> ให้บริการทุกกลุ่มวัย ทุกสิทธิ (ดี เสี่ยง ป่วย) บริการทุกอย่าง >> Holistic, Integrate Care (PP, Re-hab., Refer) บริการทุกที่ >> รับในหน่วยบริการ รุกในชุมชน บริการทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี >> ราชการ, ราษฎร ใช้เทคโนโลยีประสาน เชื่อมโยงข้อมูล S2 ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
27
จุดเน้น 4. พัฒนาระบบและขยายศักยภาพ Medical Audit System ปี 2562
เพิ่มความถูกต้องการสรุป เวชระเบียนของหน่วยบริการ สถานการณ์/ปัญหา ประกาศ ระเบียบที่ใช้ในระบบการตรวจสอบ ยังไม่สนับสนุนรองรับการดำเนินการภายหลังการตรวจสอบ ระบบสารสนเทศสนับสนุนด้านข้อมูล (software และ hardware )เพื่อการตรวจสอบ มีการพัฒนาไม่ทันเพื่อรองรับระบบการตรวจสอบ ระบบการเบิกจ่ายชดเชยของการบริการผู้ป่วยใน จ่ายด้วยระบบ DRGs ซึ่งมีตัวแปรที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น DRGs version, ICD-10 and ICD-9 version, SCG version ที่มีการเปลี่ยนแปลงในห้วงเวลาที่ต่างกัน กำลังคน เจ้าหน้าที่ สปสช.เขตที่รับผิดชอบงาน Audit ไม่เพียงพอ สปสช.มีการกำหนดข้อบ่งชี้ด้านคุณภาพประกอบการจ่ายชดเชย ซึ่งบางประเด็นอาจไม่มีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับ CPG ที่เป็นปัจจุบัน กระบวนการนำผลการตรวจสอบโดยกองทุนที่เกี่ยวข้องเพื่อบริหารจัดการ ขาดรายงานติดตามการดำเนินงานภายหลังการตรวจสอบ (การจ่ายเพิ่ม/เรียกคืน) ที่เป็นรูปธรรม ขาดระบบการส่งเสริมการเบิกจ่ายที่ถูกต้อง และการให้บริการที่มีคุณภาพ ขาดกลไกตรวจสอบกันเองในพื้นที่อย่างแท้จริง มีเพียงการ Feedback ข้อมูลใน 5X5 ตัวชี้วัดจุดเน้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี 62 : 1. ตรวจสอบเวชระเบียนครบถ้วนตามเป้าหมายที่กำหนด 2. ร้อยละของความถูกต้องในการสรุปเวชระเบียนของหน่วยบริการเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี : - ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ 1.เพิ่มเป้าหมายการตรวจสอบ ตามนโยบายแผนบูรณา การของรัฐบาล 2. พัฒนาระบบตรวจสอบก่อนการจ่ายชดเชย (Pre- audit /Pre-authorize) เฉพาะบางโรค สอดคล้องกับ นโยบายที่เกี่ยวข้อง เช่น การจัดสรรงบกองทุน 3. พัฒนาการนำข้อมูลผลการตรวจสอบไปใช้ประโยชน์ และสร้างกลไกการตรวจสอบ (การทำ Internal medical audit) ระดับเขต/จังหวัด 4. พัฒนาระบบการตรวจสอบด้านคุณภาพตามแนวทาง เวชปฏิบัติ (CPG) ร่วมกับองค์กรวิชาชีพ 1. จำนวนเวชระเบียนที่ตรวจสอบตามเป้าหมายที่ กำหนด 2. มีข้อเสนอหรือนโยบายในการ pre-audit เฉพาะโรค 3. มีช่องทางให้หน่วยบริการ/กองทุนที่เกี่ยวข้อง รับทราบผลการตรวจสอบ (Medical Audit) เพื่อ นำไปใช้ประโยชน์ S3 ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
28
จุดเน้น 4. พัฒนาระบบและขยายศักยภาพ Medical Audit System ปี 2562
ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ 5. ส่งเสริมให้หน่วยบริการมีการเบิกจ่ายชดเชยได้ถูกต้องครบถ้วน - มาตรการให้คุณและโทษ - พัฒนาหน่วยบริการในระบบหลักประกันฯ ให้มีความรู้ในการสรุปเวชระเบียน เพื่อการเบิกชดเชยที่ถูกต้อง ร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัด 4. มีระบบการตรวจสอบด้านคุณภาพตามแนวทางมาตรฐานวิชาชีพ (CPG) 5. มีข้อเสนอมาตรการให้คุณให้โทษ 6.จำนวนหน่วยบริการที่ได้รับการอบรมความรู้ในการสรุปเวชระเบียนเพื่อการเบิกชดเชยได้ถูกต้อง 6. พัฒนาระบบ IT เพื่อรองรับการเบิกจ่ายและตรวจสอบข้อมูลของหน่วยบริการ 1. ระบบ IT ที่สนับสนุนการเบิกจ่ายและการตรวจสอบ 7. ปรับปรุงระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย เพื่อให้ดำเนินการตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีการปรับปรุงระเบียบ/ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 8. จัดให้มีการศึกษารูปแบบ/แนวทางการตรวจสอบที่เหมาะสมสำหรับการจ่ายชดเชยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยองค์กรภายนอก 1. มีรายงานการศึกษาและข้อเสนอเพื่อการพัฒนารูปแบบ/แนวทางการตรวจสอบ S3 S5 แนวทางติดตามประเมินผล : 1. ตรวจสอบเวชระเบียนครบถ้วนตามเป้าหมายที่กำหนด 2. ร้อยละของความถูกต้องในการสรุปเวชระเบียนเพื่อการเบิกชดเชยค่าบริการเพิ่มขึ้น 3. ความถูกต้องในการสรุปเวชระเบียนเพื่อการเบิกชดเชยค่าบริการเพิ่มขึ้น ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
29
สรุปจุดเน้นการดำเนินงานที่สำคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
พัฒนาศักยภาพบุคลากรภายใต้ความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่น ร่วมประชุม/ศึกษา/แลกเปลี่ยน งานหลักประกันสุขภาพระหว่างประเทศ ของ คกก.หลักฯ/ควบคุมฯ/อนุฯ-คทง.ภายใต้ คกก. สนับสนุนประชุมระหว่างประเทศด้านหลักประกันฯ (PMAC, ประชุมวิชาการฯ) สนับสนุนแผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การอนามัยโลก (CCS) 1. เพิ่มการ เข้าถึงบริการ กลุ่มเปราะบาง 6. ขับเคลื่อนUHC ที่เชื่อมโยงระดับชาติและนานาชาติ จุดเน้นปี 62 2.เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารกองทุนท้องถิ่น/ LTC/กองทุนฟื้นฟูระดับจังหวัด 3. เพิ่มการเข้าถึงบริการ P&P, ผู้ป่วยเรื้อรัง, PCC กทม. 5. การบริหารจัดการองค์กร (HR/ Smart Office) เพิ่มความถูกต้องการสรุปเวชระเบียนของหน่วยบริการ 4. พัฒนาระบบและขยายศักยภาพ Medical Audit System ขึ้นทะเบียนหน่วยงานบริการปฐมภูมิในเรือนจำ และ เพิ่มการเข้าถึงบริการโรคสำคัญ TB/AIDs/NCD เพิ่มการเข้าถึงสิทธิของพระสงฆ์ และ พระสงฆ์เป็นแกนนำงานหลักประกันสุขภาพ เพิ่มการเข้าถึงสิทธิฯ ของคนไร้บ้าน พัฒนาสมรรถนะ /ทดแทนตำแหน่งงานของผู้ปฎิบัติงาน และสร้างความสุขในการทำงาน ลดการใช้กระดาษ (Paperless) ใช้หลัก Routine to Automation ทบทวนภารกิจและโครงสร้างองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิภาพการจ่ายเงินกองทุนท้องถิ่นฯ/LTC/กองทุนฟื้นฟูระดับจังหวัด และเพิ่มการเข้าถึงบริการ LTC เพิ่มการเข้าถึงบริการ PP กลุ่ม Non-UC และมีระบบข้อมูลและนำไปใช้ในการติดตามประเมินผล ขยายพื้นที่ดำเนินงาน เพิ่มการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการร่วม PCC และเพิ่มการเข้าถึงบริการ OP ที่มีคุณภาพ ในหน่วยร่วม PCC (บริการ P&P)
30
จุดเน้น 6. ขับเคลื่อน UHC ระดับชาติ และเชื่อมโยงระดับนานาชาติ
สถานการณ์/ปัญหา ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทยเป็นที่ยอมรับและชื่นชมในระดับนานาชาติ, ความต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน UHC ระหว่างประเทศต่างๆ เพื่อบรรลุ UHC 2030 SDGs 3.8 ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการไทย-ญี่ปุ่นและองค์กรต่างประเทศ 3. ข้อตกลงความร่วมมือที่ไทยต้องสนับสนุน – อิหร่าน คิวบา และข้อเสนอให้ไทยสนับสนุน ฟิลิปปินส์ เคนย่า ในการอบรม UHC ทุนรัฐบาลไทย ฯลฯ 4. มติ ครม. วันที่ 4 ก.ค 60 ข้อตกลงความร่วมมือไทย WHO สนับสนุนเงินตามแผนงาน CCS พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ และบุคลากรด้าน UHC มีการใช้ประโยชน์จากกิจกรรมร่วมมือนานาชาติ และองค์ความรู้ มาขับเคลื่อนระบบ UC ของไทย ประสบการณ์บริหาร UC ของไทยได้เผยแพร่สู่นานาชาติ ตัวชี้วัดจุดเน้น ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี 62 : 1.จำนวนบุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภายใต้ความร่วมมือไทย-องค์การระหว่างประเทศ และนานาชาติ 5 คน 2. จำนวนข้อเสนอเพื่อสนับสนุนการเพิ่มการเข้าถึงการบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ ตามแผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การอนามัยโลก 3 เรื่อง 3. จำนวนกิจกรรมนานาชาติ ที่เข้าร่วมเพื่อการขับเคลื่อน UHC นานาชาติ และเวทีโลก 3 กิจกรรม ตัวชี้วัดจุดเน้น ปี : : เหมือนปี 62 (เพิ่มเป้าหมาย) ยุทธศาสตร์สปสช. ฉ.4 แนวทางพัฒนา สิ่งส่งมอบ สร้างเครือข่ายความร่วมมือระบบหลักประกันสุขภาพของไทยกับองค์กรนานาชาติ บุคลากร สปสช. และคณะกรรมการได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านหลักประกันสุขภาพภายใต้ความร่วมมือไทย-นานาชาติ มีองค์ความรู้ จากประสบการณ์นานาชาติ มาถ่ายทอดและปรับใช้ในการขับเคลื่อนระบบหลักประกันสุขภาพไทย อัตราผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการตาม care plan นิยาม ได้รับบริการตาม Care plan คือ โอนงบประมาณ S4 แนวทางติดตามประเมินผล : บันทึกจำนวนผลงาน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ตามเป้าหมายที่วาง/กำหนดไว้ ข้อมูล ณ 25 มิ.ย.61
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.