ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Service Plan : Rational Drug Use(RDU)
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 (ต.ค – ก.ย ) เขตสุขภาพที่ 3 พญ. ณัฐภร ประกอบ ผู้อำนวยการ รพ.ชัยนาทนเรนทร ประธาน Service Plan : Rational Drug Use (RDU) 19 ธ.ค. 2560
2
ระดับการพัฒนาสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริม
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ปีงบ 2564 RDU ขั้นที่ 2 ทุกแห่ง ขั้นที่ 3 ≥ 80% ปีงบ 2563 RDU ขั้นที่ 2 ทุกแห่ง ขั้นที่ 3 ≥ 50% ปีงบ 2562 ปีงบ 2561 RDU ขั้นที่ 1 ทุกแห่ง ขั้นที่ 2 ≥ 80% RDU ขั้นที่ 1 ≥ 80% ขั้นที่ 2 ≥ 20% ปีงบ 2560 RDU ขั้นที่ 1 ≥ 80%
3
ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ดังต่อไปนี้
RDU ขั้นที่ 1 = ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด ดังต่อไปนี้ 1. ร้อยละการสั่งยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ≥90% 2. ประสิทธิผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ PTC ในการชี้นำสื่อสารและส่งเสริมเพื่อ นำไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ระดับ 3 (ร้อยละของรพ.สต.ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค Respiratory Infection และ Acute Diarrhea <= ร้อยละ20 ทั้ง 2 โรค ≥40%) 3. การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริมและเอกสารข้อมูลยาใน 13 กลุ่มที่มี รายละเอียดครบถ้วน ระดับ 3 4. รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาล ≤1 รายการ 5. การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา ระดับ 3
4
โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ขั้นที่ 1 รายเขตสุขภาพ (4 ไตรมาส )
จำนวน รพ. ทั้งหมด รพ.ที่ผ่าน RDU ขั้นที่1 1 100 62 62.6 2 47 17 36.2 3 54 28 51.9 4 71 66.2 5 67 39 58.2 6 73 35 51.5 7 77 18 23.7 8 88 60 70.6 9 89 44 57.1 10 50 70.4 11 80 70 90 12 78 87 ประเทศ 895 537 61.7
5
ผลการดำเนินงานรวม 4 ไตรมาส (12 เดือน)
(ต.ค. 59 – ก.ย. 2560) ปีงบประมาณ 60 61 62 63 64 RDU Hospital ขั้นที่ 1 2 3 เป้าหมาย (ร้อยละ) > 80 > 50 รพ. ที่ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 อุทัยธานี 7 แห่ง จาก 8 แห่ง (87.5%) ชัยนาท 6 แห่ง จาก 8 แห่ง (75%) นครสวรรค์ 9 แห่ง จาก 14 แห่ง (64.3%) พิจิตร 4 แห่ง จาก 12 แห่ง (33.3%) กำแพงเพชร 2 แห่ง จาก 12 แห่ง (16.7%) (ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 จำนวน 28 แห่ง จาก 54 แห่ง คิดเป็น 51.9 %) ไม่ผ่าน 48.1 %
6
ร้อยละของรพ.สต. ใน จ. ชัยนาท (ไตรมาส 4) ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค Respiratory Infection
และ Acute Diarrhea <= ร้อยละ20 ทั้ง 2 โรค (เฉลี่ย = 75% , เป้าหมาย ≥ 80% ) ปี 2561 ปี 2560 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2
7
ร้อยละของรพ.สต. ใน จ.อุทัยธานี (ไตรมาส 4) ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค Respiratory Infection
และ Acute Diarrhea <= ร้อยละ20 ทั้ง 2 โรค (เฉลี่ย = 88% , เป้าหมาย ≥ 80% ) ปี 2561 ปี 2560 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2
8
ร้อยละของรพ.สต. ใน จ.นครสวรรค์(ไตรมาส 4)ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค Respiratory Infection
และ Acute Diarrhea <= ร้อยละ20 ทั้ง 2 โรค (เฉลี่ย = 64.3%, , เป้าหมาย ≥ 80% ) ปี 2561 ปี 2560 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2
9
ร้อยละของรพ.สต. ใน จ.พิจิตร (ไตรมาส 4) ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค Respiratory Infection
และ Acute Diarrhea <= ร้อยละ20 ทั้ง 2 โรค (เฉลี่ย = 33.3% , เป้าหมาย ≥ 80% ) ปี 2561 ปี 2560 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2
10
ร้อยละของรพ.สต. ในจ.กำแพงเพชร(ไตรมาส 4)ที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค Respiratory Infection
และ Acute Diarrhea <= ร้อยละ20 ทั้ง 2 โรค (เฉลี่ย = 16.7% , เป้าหมาย ≥ 80% ) ปี 2561 ปี 2560 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1 เกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2
11
ระดับการพัฒนาสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริม
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ปีงบ 2564 RDU ขั้นที่ 2 ทุกแห่ง ขั้นที่ 3 ≥ 80% ปีงบ 2563 RDU ขั้นที่ 2 ทุกแห่ง ขั้นที่ 3 ≥ 50% ปีงบ 2562 ปีงบ 2561 RDU ขั้นที่ 1 ทุกแห่ง ขั้นที่ 2 ≥ 80% RDU ขั้นที่ 1 ≥ 80% ขั้นที่ 2 ≥ 20% ปีงบ 2560 RDU ขั้นที่ 1 ≥ 80%
12
ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 + ตัวชี้วัดที่ต้องผ่านเกณฑ์ในปีงบประมาณ 2561
1. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI ในโรงพยาบาล ≤ ร้อยละ 20 2. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะใน Acute diarrhea ในโรงพยาบาล ≤ ร้อยละ 20 3. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ในโรงพยาบาล ≤ ร้อยละ 40 4. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ในโรงพยาบาล ≤ ร้อยละ 10 5. ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ glibenclamide ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปีหรือมี eGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ≤ ร้อยละ 5 6. ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับ NSAIDs ≤ ร้อยละ 10 7. ไม่มีจำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ยา warfarin*, statins, ergots เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว 8. อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด (AMR) ลดลง ร้อยละ 10 จาก baseline Data (เฉพาะ รพท.) RDU 1 ขั้นที่ 2 =
13
ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. ชัยนาท
ตัวชี้วัด RDU ระดับ รพ. ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. ชัยนาท ชัยนาทนเรนทร สรรพยา สรรคบุรี หันคา วัดสิงห์ มโนรมย์ หนองมะโมง เนินขาม ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค AD ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ที่อายุสูงกว่า 65 ปีหรือมีeGFR น้อยกว่า60 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับNSAIDS ตัวชี้วัดที่ 17 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ได้แก่ยา warferin statin ergot
14
ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. อุทัยธานี
ตัวชี้วัด RDU ระดับ รพ. ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. อุทัยธานี ทัพทัน ลานสัก สว่างอารมณ์ หนองขาหย่าง บ้านไร่ ห้วยคต หนองฉาง อุทัยธานี ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค AD ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ที่อายุสูงกว่า 65 ปีหรือมีeGFR น้อยกว่า60 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับNSAIDS ตัวชี้วัดที่ 17 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ได้แก่ยา warferin statin ergot
15
ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. นครสวรรค์
ตัวชี้วัด RDU ระดับ รพ. ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. นครสวรรค์ ชุมตาบง ชุมแสง ตากฟ้า ตาคลี ท่าตะโก บรรพต ฯ พยุหะฯ ลาดยาว สวรรค์ฯ หนองบัว เก้าเลี้ยว แม่วงก์ โกรกพระ ไพศาลี ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค AD ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ที่อายุสูงกว่า 65 ปีหรือมีeGFR น้อยกว่า60 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับNSAIDS ตัวชี้วัดที่ 17 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ได้แก่ยา warferin statin ergot
16
ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. พิจิตร
ตัวชี้วัด RDU ระดับ รพ. ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. พิจิตร พิจิตร ตะพานหิน บางมูลนาก วชิระบารมี สามง่าม โพธิ์ประทับช้าง วังทรายพูน ทับคล้อ โพทะเล บึงนาราง ดงเจริญ สากเหล็ก ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค AD ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ที่อายุสูงกว่า 65 ปีหรือมีeGFR น้อยกว่า60 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับNSAIDS ตัวชี้วัดที่ 17 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ได้แก่ยา warferin statin ergot
17
ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. กำแพงเพชร
ตัวชี้วัด RDU ระดับ รพ. ผลการดำเนินงาน (ไตรมาสที่ 4 ณ 15 ก.ย. 2560) จ. กำแพงเพชร กำแพงเพชร โกสัมพีนคร ขาณุวรลักษบุรี คลองขลุง คลองลาน ไทรงาม ทรายทองวัฒนา ทุ่งโพธิ์ทะเล บึงสามัคคี ปางศิลาทอง พรานกระต่าย ลานกระบือ ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค AD ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ที่อายุสูงกว่า 65 ปีหรือมีeGFR น้อยกว่า60 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับNSAIDS ตัวชี้วัดที่ 17 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ได้แก่ยา warferin statin ergot
18
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 (ต.ค. 2559 – ส.ค. 2560 ) เขตสุขภาพที่ 3
การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance: AMR) เขตสุขภาพที่ 3 (ผลการดำเนินงาน ต.ค – ก.ย. 2560) ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 (ต.ค – ส.ค ) เขตสุขภาพที่ 3 13 กันยายน 2560
19
ร้อยละของเชื้อดื้อยา 8 กลุ่ม
เขตสุขภาพที่3 กำหนดลดลง 5%.( ผลการดำเนินงาน เพิ่มขึ้น 5.13 %) ในปี และในปี 61 กำหนดลดลง 10% Baselineปี 59 ข้อมูล ต.ค ก.ย. 2559, จำนวน 29,679 Sample , ปี 60 ข้อมูล ต.ค ก.ย. 2560, จำนวน 30,594 Sample
20
ค่าเฉลี่ยเชื้อดื้อยา 8 กลุ่ม (AMR)รายจังหวัดเปรียบเทียบปี 2559/2560
0.3% 5% 9% 6% 9% 34%
21
Escherichia coli 5%
22
Acinetobacter Baumannii
14%
23
Klebsella pneumoniae 26%
24
Staphylococcus. aureus
13%
25
Streptococcus Pneumoniae
4%
26
Pseudomonas aeruginosa
41%
27
Salmonella spp. 35%
28
Enterococcus faecium
29
เชื้อ 8 กลุ่ม จังหวัด ภาพรวมเขต ชัยนาท นครสวรรค์ พิจิตร อุทัยธานี
กำแพงเพชร พิจิตร อุทัยธานี Acinetobacter Baumannii Pseudomonas aeruginosa Klebsella pneumoniae Staphylococcus. aureus Escherichia coli Salmonella spp. Streptococcus Pneumoniae Entero. Faecium
30
แผนงานโครงการกิจกรรม ในปี 2561
ลำดับ ตัวชี้วัดโครงการ โครงการ/กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ เป้าหมาย/จำนวน 1 จำนวน รพ. ในเครือข่ายจังหวัดกำแพงเพชร ,พิจิตร ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 - นิเทศ ติดตาม ตามแผนงานโครงการของ จ.กำแพงเพชร และ จ.พิจิตร สนับสนุนให้ รพ.ในจังหวัดเป้าหมายมีการดำเนินงาน RDU รพ.ทุกแห่งของ จ.กำแพงเพชร และ จ.พิจิตร ผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 1 (ร้อยละ 100) 2 จำนวนโรงพยาบาล ในเขต3 ผ่านเกณฑ์ RDUขั้นที่2 -ประชุมคณะกรรมการเพื่อติดตามแผนงานโครงการ ดำเนินการพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามนโยบายที่กำหนด รพ.ทุกแห่งผ่านเกณฑ์ RDU ขั้นที่ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ** 12,000 บาท 3 พัฒนาเครือข่ายภาคเอกชน -โรงพยาบาลเอกชน -ร้านขายยา -จัดกิจกรรมการเข้าร่วมในโครงการ(MOU) ส่งเสริม RDU ภาคเอกชน และการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - จัดทำคู่มือเพื่อสนับสนุนการใช้ยาอย่างสมเหตุผล -จัดทำสื่อ ภาพพลิก ปชส. - กระจกส่องคอ เพื่อช่วยลดการจ่ายยาปฏิชีวนะใน URI เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาคเอกชน -ร้อยละของ รพ.เอกชนในเขต 3 ที่เข้าร่วมในโครงการ ร้อยละ 80 -ร้อยละของจำนวนร้านขายยาในเขต 3 ที่เข้าร่วมในโครงการ ร้อยละ 50 - คู่มือ 450 เล่ม - สื่อภาพพลิก RDU ชุด -กระจกส่องคอ 250 อัน ** 112,500+36,000+75,000 +17,500 บาท รวมงบประมาณ 253,000 บาท
31
คู่มือการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา โรงพยาบาลในเครือข่าย เขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2560 แนวปฏิบัติในการแสดงการมีส่วนได้ส่วนเสียในการประชุมคัดเลือกรายการยาเข้าบัญชียาโรงพยาบาล 2. แนวทางการพิจารณาคัดเลือกบริษัทในการจัดซื้อ 3. แนวปฏิบัติในการรับสิ่งของของขวัญและบริการจากบริษัท 4. แนวทางปฏิบัติในการคัดเลือกรายการยาและติดตามประเมินความสมเหตุผลในการสั่งใช้ยา 5. แนวทางปฏิบัติในการคัดเลือกบุคลากรเพื่อรับทุน ไปประชุม สัมมนา ดูงาน หรือบรรยายทางวิชาการทั้งใน และ ต่างประเทศ
32
Thank You
33
ร้อยละของการดื้อยาของเชื้อ 8 กลุ่มโรค (AMR) ปี 2559
จำนวน ผป. ที่เชื้อขึ้น จำนวนเชื้อ ที่ดื้อยา คิดเป็นร้อยละ 1. Acineto. baumannii 152 72 47 2.Pseudo. aeruginosa 117 32 27 3.Klebsiella pneumoniae 309 63 20 4.Stap. aureus 320 25 8 5.Escherichia coli 1,235 515 41 6.Salmonella spp. 78 22 28 7.Enterococcus faecium 45 8.Strep. pneumonia 46 19 รวม 2,302 748 จำนวน specimens ทั้งหมด=29,679 specimens
34
ร้อยละของการดื้อยาของเชื้อ 8 กลุ่มโรค (AMR) ปี 2560
จำนวน ผป. ที่เชื้อขึ้น(ราย) เป็นเชื้อ ที่ดื้อยา (ราย) คิดเป็นร้อยละ 1. Acineto. baumannii 177 89 50 2.Pseudo. aeruginosa 119 20 17 3.Klebsiella pneumoniae 373 90 24 4.Stap. aureus 377 23 6 5.Escherichia coli 1,258 576 46 6.Salmonella spp. 78 15 19 7.Enterococcus faecium 41 2 5 8.Strep. pneumonia 57 21 37 รวม 2,480 836 จำนวน specimens ทั้งหมด=30,594 specimens
35
ประเด็น PA RDU-AMR ปีงบ 61 Key Activity กิจกรรมหลัก
Service Excellence แผนงานที่ ๖: การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (RDU –AMR Service Plan) ประเด็น PA RDU-AMR ปีงบ 61 Objectives: ใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย และลดค่าใช้จ่ายด้านยา KPI 1. ร้อยละของ รพ. ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) Objective: ลดการป่วยจากเชื้อดื้อยา และลดการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่เหมาะสม KPI # 2 ร้อยละของ รพ. ระบบจัดการเชื้อดื้อยาอย่างบูรณาการ Objective KPI ร้อยละของ รพ. ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล RDU RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ และ RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 0.56 (ณ ไตรมาส 3/2560) ไม่มีข้อมูล Baseline ของจำนวนโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการ AMR อย่างบูรณาการในปี 2560 Situation/Baseline Strategy มาตรการ มาตรการที่ 1 การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในรพ. (ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ – 2559) มาตรการที่ 2 การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) อย่างบูรณาการ (ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ ) Key Activity กิจกรรมหลัก 1. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ PTC 2. ส่งเสริมกิจกรรมอื่นๆ ในกุญแจ PLEASE โดยใช้ RDU markers โรคติดเชื้อ 4 โรค และประชากรกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่ม คือ CKD ผู้สูงอายุ และ สตรีตั้งครรภ์ 3. พัฒนาระบบสารสนเทศระดับกระทรวง เขต จังหวัด และรพ. 4.ส่งเสริมกิจกรรมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมใน รพ.สต. ส่วนกลางจัดทำ “แนวทางการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ” และระบบสนับสนุนการ ดำเนินการของ รพ. ส่วนกลาง และ รพ. ร่วมพัฒนาศักยภาพ “ระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ” ของ รพ. รพ. พัฒนาและดำเนินงานตาม “ระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ” Small Success Small success ไตรมาส 1 RDU ขั้นที่ 1 ≥ ร้อยละ 60 RDU ขั้นที่ 2 ≥ ร้อยละ 5 Small success ไตรมาส 2 RDU ขั้นที่ 1 ≥ ร้อยละ 70 RDU ขั้นที่ 2 ≥ ร้อยละ 10 AMR : ส่วนกลางมีแนวทางการจัดการ AMR อย่างบูรณาการของ รพ. Small success ไตรมาส 3 RDU ขั้นที่ 1 ≥ ร้อยละ 80 RDU ขั้นที่ 2 ≥ ร้อยละ 15 AMR : รพ. ร้อยละ 40 มีระบบจัดการ AMR อย่างบูรณาการ Small success ไตรมาส 4 RDU ขั้นที่ 1≥ ร้อยละ 80 RDU ขั้นที่ 2 ≥ร้อยละ 20 AMR : รพ. ร้อยละ 70 มีระบบจัดการ AMR อย่างบูรณาการ หน่วยงานหลัก: อย./ สป. (กอง บส.) หน่วยงานร่วม: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค (สถาบันบำราศนราดูร และสำนักระบาดวิทยา) กรมการแพทย์ แก้ไข 11 ก.ย.60
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.