งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
4.1 เซลล์และทฤษฎีเซลล์(Cell theory) 4.1.1 การค้นพบเซลล์ Antony van Leeuwenhoek พ.ศ - ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เลนส์เดี่ยว(พ.ศ.2203) ส่อง เม็ดเลือดแดง กล้ามเนื้อ

2 4.1.1 การค้นพบเซลล์(ต่อ) เซลล์สืบพันธุ์ของสัตว์เพศผู้ เป็นต้น
Robert Hooke พ.ศ (พ.ศ.2208) - ส่องดูแผ่นไม้คอร์กบางๆ - เห็นช่องว่างคล้ายรังผึ้ง - จึงตั้งชื่อช่องว่างนั้นว่า เซลล์(Cell)

3 4.1.1 การค้นพบเซลล์(ต่อ) Rene J.H. Dutrochet พ.ศ. 2319-2390 (พ.ศ.2367)
- ศึกษาเนื้อเยื่อพืชและสัตว์ พบว่าประกอบไปด้วยเซลล์

4 4.1.1 การค้นพบเซลล์(ต่อ) Robert Brown พ.ศ. 2316-2401 (พ.ศ.2376)
- เป็นคนแรกที่พบว่าภายในเซลล์มีนิวเคลียส(Nucleus)เป็นก้อนกลมๆ

5 4.1.1 การค้นพบเซลล์(ต่อ) Matthias Jacob Schleiden พ.ศ (พ.ศ.2381) - พบว่า เนื้อเยื่อพืชทุกชนิดประกอบไปด้วยเซลล์

6 4.1.1 การค้นพบเซลล์(ต่อ) Theodor Schwann พ.ศ. 2353-2425 (พ.ศ.2382)
- พบว่า เนื้อเยื่อสัตว์ทุกชนิดประกอบไปด้วยเซลล์

7 4.1.1 การค้นพบเซลล์(ต่อ) Schwann and Schleiden
- ร่วมกันตั้ง ทฤษฎีเซลล์(Cell Theory) “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์”

8 ทฤษฎีเซลล์(Cell Theory)
1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ซึ่งภายในมีสารพันธุกรรมและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้

9 ทฤษฎีเซลล์(Cell Theory)(ต่อ)
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทำงานภายในโครงสร้างของเซลล์

10 ทฤษฎีเซลล์(Cell Theory)(ต่อ)
3. เซลล์มีกำเนิดจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม แม้ว่าชีวิตแรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิตแต่นักชีววิทยายังคงถือว่าการเพิ่มขึ้นของจำนวนเซลล์เป็นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน

11 4.1.2 ขนาดของเซลล์ - มีความแตกต่างกันตั้งแต่ขนาดเล็กสุดจนไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า เช่น ไมโคพลาสมา แบคทีเรีย - เซลล์บางชนิดมีขนาดใหญ่ เช่น เซลล์ไข่ของสัตว์ปีก เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ

12

13

14

15 ตารางเปรียบเทียบขนาดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ

16

17 4.1.3 รูปร่างของเซลล์ - เซลล์มีรูปร่างแตกต่างกัน ไม่ว่าเซลล์นั้นจะเป็นเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเดียวกันหรือต่างชนิดกัน

18 รูปร่างของเซลล์ชนิดต่างๆ

19

20

21 4.1.3 รูปร่างของเซลล์ เซลล์แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มตามลักษณะของนิวเคลียสคือ 1. เซลล์โพรคาริโอต(Procaryotic cell) 2. เซลล์ยูคาริโอต(Eucaryotic cell)

22 เซลล์โพรคาริโอต(Procaryotic cell)
- เป็นเซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส(Nuclear- membrane) - มีแต่สารพันธุกรรม เช่น ริคเกตเซีย(แบคทีเรียขนาดเล็ก) แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน(ไซยาโนแบคทีเรีย)

23 Procaryotic cell

24

25 เซลล์ยูคาริโอต(Eucaryotic cell)
- เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส - เช่น Yeast, ราชนิดต่างๆ, โพรโทซัว สาหร่าย, พืชและสัตว์ชนิดต่างๆ

26 Eucaryotic cell

27

28 4.2 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

29

30 4.2.1 นิวเคลียส(Nucleus) - นิวเคลียสพบใน Eucaryotic cell
- มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น - โดยทั่วไปมี 1 นิวเคลียสต่อเซลล์ ยกเว้นในสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำ เช่น Paramesium - เซลล์บางชนิดไม่มีนิวเคลียส เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงที่เจริญเติบโตเต็มที่

31

32

33 หน้าที่ของ Nucleus - ควบคุมการทำงานของเซลล์เกี่ยวกับ
การแบ่งเซลล์และการสืบพันธ์ของเซลล์ - ควบคุมการสร้างโปรตีน - ควบคุมการสร้าง RNA - ควบคุมการเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง(Cell differentiation)

34 การทดลองศึกษาบทบาทของนิวเคลียสในเซลล์อะมีบา

35

36 การทดลองศึกษาบทบาทของนิวเคลียสโดยใช้สาหร่ายอะเซตาบูลาเรีย
ไรซอยด์ (rhizoid )

37

38 ส่วนประกอบของ Nucleus
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส(Nuclear membrane) - เป็นเยื่อยูนิตเมมเบรน 2 ชั้น - แต่ละชั้นหนา อังสตรอม - ชั้นทั้งสองห่างกัน นาโนเมตร - ชั้นนอกขรุขระเพราะมีไรโบโซมมาเกาะ

39 1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane)(ต่อ)
- เยื่อหุ้มนิวเคลียสมีรูเล็กๆเรียกว่า นิวเคลียร์พอร์(Nuclear pore)หรือ แอนนูลัส(Annulus) - Nuclear pore เกิดจากเยื่อหุ้มนิวเคลียส 2 ชั้นมาเชื่อมกันเป็นระยะๆ

40 1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane)(ต่อ)
- Nuclear pore มีหน้าที่ควบคุมการแลกเปลี่ยนสารและเป็นทางผ่านของสารต่างๆระหว่างนิวเคลียสกับไซโทพลาสซึม

41

42

43 2. นิวคลีโอพลาสซึมหรือคาริโอลิมพ์(Nucleoplasm or Karyolymph)
- เป็นของเหลวคล้ายโพรโทพลาซึม อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัส(Nucleolus) ประกอบด้วย โครมาทิน(Cromatin)และนิวคลีโอลัส(Nucleolus)

44 2.1 โครมาทิน(Cromatin) - เป็นเส้นใยเล็กๆขดกัน เห็นได้ชัดในขณะแบ่งเซลล์
- ในขณะแบ่งเซลล์โครมาทินจะขดกันหนาขึ้นเป็นเส้นหรือแถบเรียกว่า โครโมโซม(Chromosome)

45 องค์ประกอบของ Cromatin
- DNA (Deoxyribonucleic acid) - RNA (Ribonucleic acid) - Protein (Histone and Non-histone )

46 2.2 นิวคลีโอลัส(Nucleolus)
- มีลักษณะเป็นแกรนูล(Granule) หนา ขนาดใหญ่ - รูปร่างค่อนข้างกลมแต่ไม่มีเยื่อหุ้ม - อยู่ติดกับเยื่อหุ้มนิวเคลียส - มีจำนวนและขนาดแตกต่างกัน

47 นิวคลีโอลัส(Nucleolus)(ต่อ)
- องค์ประกอบทางเคมีพบว่าประกอบด้วย RNA และ Protein - ทำหน้าที่สังเคราะห์ไรโบโซม - RNA + Protein = ไรโบนิวคลีโอโปรตีน(Ribonucleoproteincomplex)

48 นิวคลีโอลัส(Nucleolus)

49

50

51 ไซโทพลาซึม(Cytoplasm)
- เป็นบริเวณที่มีของเหลว(Fluid) ที่มีสารประกอบหลายชนิดรวมกันอยู่ - ส่วนที่เป็นของเหลวในไซโทพลาซึม เรียกว่า ไซโทซอล(Cytosol) - มีออร์แกเนลล์(Organells)(มีชีวิต) ต่างๆอยู่ในไซโทพลาซึม

52

53 ออร์แกเนลล์ที่สำคัญในเซลล์
1. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมหรือร่างแห เอนโดพลาสซึม(Endoplasmicreticulum)ER) - มีเยื่อหุ้มเหมือนกับเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นUnit- membrane - แต่มีความหนาน้อยกว่าเยื่อหุ้มเซลล์

54 1. Endoplasmic reticulum(ER)
- มีลักษณะเป็นท่อกลวงขดพับไปมา - เรียงขนานกันและซ้อนกันเป็นชั้นๆ - ภายในมีของเหลวเรียกว่า ไฮยาโลพลาสซึม(Hyaloplasm) มีทางติดต่อกับเยื่อหุ้มนิวเคลียส กอลจิบอดี และเยื่อหุ้มเซลล์

55 1. Endoplasmic reticulum(ต่อ)
- ไม่มีช่องเปิดติดต่อกับไซโทพลาซึม - มีขนาดเล็กมากไม่สามารถส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้ - พบในเซลล์สัตว์มากกว่าเซลล์พืช - พบเฉพาะในพวก Ucaryotic cell เท่านั้น

56 1. Endoplasmic reticulum(ต่อ)
ร่างแหเอนโดพลาสซึมมี 2 ชนิดคือ 1. ร่างแหเอนโดพลาสซึมชนิดหยาบหรือ ชนิดผิวขรุขระ(Rough Endoplasmic reticulum หรือ RER) เป็นร่างแหที่มีไรโบ-โซมมาเกาะที่ผิวภายนอกทำให้มีผิวขรุขระ

57 Rough Endoplasmic reticulum หรือ RER
- เป็นทางลำเลียงสารอาหาร ไปยังส่วนต่างๆของเซลล์ - เป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีน(นำไปใช้นอกเซลล์) ลิพิด ลิโพโปรตีน

58 Rough Endoplasmic reticulum หรือ RER(ต่อ)
- ในเซลล์ที่เกิดใหม่พบว่ามีร่างแหชนิดหยาบมากกว่าชนิดเรียบ - แต่เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้นพบว่าร่างแหชนิดเรียบมีมากกว่าร่างแหชนิดหยาบ

59 Rough Endoplasmic reticulum หรือ RER

60

61 1. Endoplasmic reticulum(ต่อ)
2. ร่างแหเอนโดพลาสซึมชนิดเรียบ (Smooth Endoplasmic reticulum หรือ SER) เป็นร่างแหที่ไม่มีไรโบโซมมาเกาะ - พบมากในเซลล์ที่กำจัดสารพิษและสร้างสารไขมัน สเตอรอยด์ เช่น คลอเลสเทอรอล

62 Smooth Endoplasmic reticulum หรือ SER
- พบในเซลล์พวกต่อมหมวกไต เซลล์รังไข่ และในเซลล์ตับ เป็นต้น - ทำหน้าที่ขนส่งไกลโคเจนและกลูโคส - เกี่ยวข้องกับการสลายไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสและลำเลียงสารต่างๆออกไปนอกเซลล์

63 Smooth Endoplasmic reticulum หรือ SER

64

65 กอลจิบอดี หรือกอลจิคอมเพล็กซ์ หรือกอลจิแอพพาราตัส หรือดิคไทโอโซม
(Golgi body or Golgi complex or Golgi- apparatus or Dictyosome) - เป็นแหล่งรวบรวมบรรจุสาร(Packaging) ทำให้สารผ่านกระบวนการ(Processing) แยกประเภทสาร(Sorting) และขนส่งสาร(Shipping)

66 Golgi body or Golgi apparatus
- ตั้งชื่อตาม คามิลโล กอลจิ(Camillo Golgi) - นักชีววิทยาชาวอิตาลี ซึ่งพบออร์แกเนลล์นี้ในปี พ.ศ. 2441(ค.ศ.1898)

67 ลักษณะของ Golgi body - ส่วนตรงกลางจะเป็นถุงแบนๆ รูปร่างลักษณะคล้ายชาม เรียกว่า ซิสเทอร์นา(Cisterna or flattened sac) ซ้อนเรียงกันหลายชั้น ประมาณ 5-10 ชั้น ตรงขอบจะสานกันเป็นตาข่าย(Tubule) ปลายถุงจะโป่งออกเป็นเวซิเคิล(Vesicle)

68

69

70 หน้าที่ของ Golgi body - ทำให้สารผ่านกระบวนการ(Processing)
เช่น การเติมหมู่ฟอสเฟต (Phosphorylation) ให้กับโปรตีนที่ไรโบโซมบน ER สังเคราะห์ขึ้นมาซึ่งเคลื่อนที่มาตามท่อของ ER เข้าสู่ Golgi body กลายเป็นไกลโคโปรตีน

71 หน้าที่ของ Golgi body(ต่อ)
- เป็นแหล่งรวบรวมบรรจุสาร(Packaging) เช่น ลิพิด ฮอร์โมน เอนไซม์ เพื่อส่งออกนอกเซลล์ โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยสร้างเป็นถุงที่เรียกว่า ทรานสปอร์ตเวซิเคิล(transport vesicle) แล้วเลื่อนไปยังขอบเซลล์เพื่อปล่อยสารออกจากเซลล์

72 หน้าที่ของ Golgi body(ต่อ)
- สร้างอะโครโซม(Acrosome) ที่อยู่ส่วนหัวของอสุจิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม - ในพืชทำหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างผนังเซลล์

73 หน้าที่ของ Golgi body(ต่อ)
- ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเมือกทั้งในพืชและสัตว์ - เกี่ยวกับการสังเคราะห์ไลโซโซม

74 ไรโบโซม(Ribosome) - ไม่มีเยื่อหุ้ม
- พบในProcaryotic cell และEucaryotic cell - มีลักษณะกลม ขนาดเล็ก - เส้นผ่านศูนย์กลาง ไมโครเมตร

75 ไรโบโซม(Ribosome)(ต่อ)
- ไม่สามารถส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงได้ - ประกอบด้วย Protein 40% และ rRNA 60%

76 หน้าที่ของRibosome - Ribosome ที่เกาะติดกับผิวนอกของ RER ทำหน้าที่สร้าง Protein ที่ใช้เป็นองค์ประกอบของ Cell membrane อีกทั้งยังส่ง Protein ไปใช้นอกเซลล์อีกด้วย

77 หน้าที่ของRibosome - Ribosome ที่ไม่ได้เกาะที่ ER จะกระจายอยู่ใน Cytoplasm - สร้าง Protein ใช้ภายในเซลล์ - พบมากในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีอายุน้อย สร้าง Hemoglobin

78

79

80 พลาสติด(Plastids) - พบในเซลล์พืชและสาหร่ายเท่านั้น - มีขนาดใหญ่
- เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-10 ไมครอน - มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน

81 ลักษณะของ(Plastids) - มีเยื่อ 2 ชั้น แบบยูนิตเมมเบรน
- มี DNA อยู่ภายใน - สามารถเพิ่มจำนวนได้ - สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

82 ลักษณะของ(Plastids)(ต่อ)
1. พลาสติดที่มีสี เรียกว่า โครโมพลาสต์(Chromoplast) - พลาสติดที่มีสีเหลือง แดง ส้ม เพราะมีสารพวกแคโรทีนอยด์(Carotenoid) - พลาสติดที่มีสีเขียว เพราะมีสารคลอโรฟิลล์อยู่ เรียกว่า คลอโรพลาสต์

83 ลักษณะของ(Plastids)(ต่อ)
2. พลาสติดที่ไม่มีสี เรียกว่า ลิวโคพลาสต์(Leucoplast) - มีลักษณะเป็นรูปท่อนหรือกลมรี - เกิดจากการสะสมของเม็ดแป้ง - พบในเซลล์พืชที่ไม่ถูกแสง

84 คลอโรพลาสต์(Cloroplast)
- มีคลอโรฟิลล์(Chlorophyll)อยู่ภายใน - มีของเหลวเรียกว่า สโตรมา(Stroma) - ในของเหลวมีโครงสร้างคล้ายเหรียญ เรียกว่า ไทลาคอยด์(thylakoid)

85 คลอโรพลาสต์(Cloroplast)(ต่อ)
- Thylakoid เรียงซ้อนกันเป็นตั้ง เรียกว่า กรานุม(Granum) - Granum หลายอันเชื่อมต่อกันเป็น กรานา(Grana)

86 คลอโรพลาสต์(Cloroplast)(ต่อ)
- Granum แต่ละ Granum เชื่อมต่อกันด้วย สโตรมาไทลาคอยด์(Stroma thylakoid) - ภายใน thylakoid มี Chlorophyll บรรจุอยู่ - Grana และ Stroma เป็นแหล่งสังเคราะห์ด้วยแสง

87

88 ไลโซโซม(Lysosome) - มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.15-0.8 ไมครอน
- มีลักษณะเป็นถุงกลม ภายในบรรจุ เอนไซม์หลายชนิด - มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว ไม่ยอมให้ เอนไซม์ ผ่านออก

89 ไลโซโซม(Lysosome)(ต่อ)
- เป็นเยื่อที่สลายตัวหรือรั่วได้ง่าย - มีความทนทานต่อการย่อยของเอนไซม์ที่อยู่ภายใน

90 ไลโซโซม(Lysosome)(ต่อ)
- เอนไซม์ที่อยู่ใน ไลโซโซม ถูกสร้างจาก ไรโบโซมที่อยู่บน RER - ทำหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยสลาย

91

92

93 ไซโทสเกเลตอน(Cytoskeleton)
- เป็นร่างแหกระจายอยู่ทั่วไซโทพลาสซึม - ทำหน้าที่จัดเรียงตัวของโครงสร้างต่างๆ - ทำให้เซลล์แข็งแรง คงรูปร่างของเซลล์

94 Cytoskeleton(ต่อ) - ไซโทสเกเลตอน สามารถเคลื่อนย้ายจากตำแหน่งเดิม ไปยังตำแหน่งใหม่ได้ ทำให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง - Cytoskeleton ประกอบด้วยเส้นใย 3 ชนิดคือ 1. Microtubule 2. Microfilament 3. Intermediate filament

95

96 ไมโครทิวบูล(Microtubule)
- เป็นโครงสร้างที่พบในไซโทพลาสซึมของยูคาริโอต - เป็นองค์ประกอบของ เซนทริโอล ซิเลีย แฟลเจลลา - เป็นเส้นยาว ไม่แตกแขนง

97 ไมโครทิวบูล(Microtubule)(ต่อ)
- เส้นผ่านศูนย์กลาง นาโนเมตร - ผนังหนา 6 นาโนเมตร

98

99 หน้าที่ของMicrotubule
- เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ - ควบคุมการเคลื่อนไหวของไซโทพลาสซึม - เป็นองค์ประกอบของ เซนทริโอล ซิเลีย แฟลเจลลา

100 ไมโครฟิลาเมนต์(Microfilament)
- มีลักษณะเป็นท่อยาวๆแต่บาง - เส้นผ่านศูนย์กลาง 70 อังสตรอม - ประกอบด้วยโปรตีนแอกทิน(Actin) 2 สาย พันกันเป็นเกลียว - ทำหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนื้อ

101

102 อินเตอร์มีเดียทฟิลาเมนต์ Intermediate filament
- เส้นผ่านศูนย์กลาง 8-12 นาโนเมตร - มีขนาดใหญ่กว่าไมโครฟิลาเมนต์แต่เล็กกว่าไมโครทิวบูล - ส่วนใหญ่ประกอบด้วยโปรตีน - ทำหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ ยึดออร์แกเนลล์ให้อยู่กับที่

103

104

105

106 เซนทริโอล(Centrioles)
- ทรงกระบอก ไม่มีเยื่อหุ้ม - ยาว 300-2,000 นาโนเมตร - เส้นผ่านศูนย์กลาง นาโนเมตร - ไม่พบในเซลล์พืช - พบในโพรทิสต์บางชนิดและในเซลล์สัตว์

107 เซนทริโอล(Centrioles)(ต่อ)
- แต่ละเซลล์มีเซนทริโอล 2 อัน - เซนทริโอลประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียกว่า Microtubule - เรียงเป็นกลุ่มวงกลม 9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มประกอบด้วย Microtubule 3 อัน

108 เซนทริโอล(Centrioles)(ต่อ)
- ตรงกลางกลุ่มไม่มี Microtubule - เขียนสูตรโครงสร้างเป็น 9+0

109

110 หน้าที่ของCentrioles
- สร้างสายสปินเดิล(Spindle fiber) ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของโครโมโซมในขณะเซลล์แบ่งตัว

111 หน้าที่ของCentrioles(ต่อ)
ทำหน้าที่เป็นเบซัลบอดี(Basal body) คือส่วนที่เป็นฐานของซิเลีย และ แฟลเจลลา ควบคุมการเคลื่อนไหวของซิเลียและ แฟลเจลลา

112 ซิเลียและแฟลเจลลา (Cilia and Flagella)
- เป็นรยางค์ที่ใช้ในการเคลื่อนที่ - ยื่นออกจากส่วนที่เป็น Basal body - แฟลเจลลามีจำนวนน้อยกว่าซิเลีย แต่มีความยาวมากกว่า

113

114

115 Cilia and Flagella(ต่อ)
- แฟลเจลลา ยาวตั้งแต่ 150 ไมครอนหรือมากกว่า ซิเลียยาว 5-10 ไมครอน - แฟลเจลลา จะมีการพัดโบกเป็นอิสระแต่ ซิเลีย จะพัดโบกพร้อมกันเป็นจังหวะ - มี Microtubule เรียงกันเป็น 9+2 - Basal body มี Microtubule เรียงกันเป็น 9+0

116

117

118

119 ไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)
- พบในเซลล์ของยูคาริโอตที่ใช้ออกซิเจนในการหายใจเท่านั้น - รูปร่างเป็นก้อนกลม รี หรือเป็นท่อน - เส้นผ่านศูนย์กลาง ไมครอน - ยาว 5-10 ไมครอน

120 Mitochondria(ต่อ) - มีเยื่อ 2 ชั้น เป็นยูนิตเมมเบรน
- เยื่อชั้นในมีลักษณะเป็นท่อที่พับซ้อนกัน เรียกว่า คริสตี(Cristae) - ภายใน Mitochondria มีของเหลวเรียกว่า เมทริกซ์

121 Mitochondria(ต่อ) - เซลล์แต่ละเซลล์มีจำนวน Mitochondria ไม่เท่ากัน เช่นในเซลล์ตับมี Mitochondria 1,000-1,600 อันต่อเซลล์ - เซลล์ไข่ของสัตว์บางชนิดอาจมีจำนวนถึง 300,000 อันต่อเซลล์

122 Mitochondria(ต่อ) ส่วนใหญ่พบในเซลล์ที่มีอัตราเมแทบอ-
ริซึมสูง เช่น เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ เซลล์ต่อม เซลล์ที่กำลังเจริญเติบโต เป็นต้น

123

124 หน้าที่ของMitochondria
- สร้างสารที่ให้พลังงานสูง ATP (Adenosine triphosphate) - สังเคราะห์โปรตีนขึ้นมาใช้เอง

125 แวคิวโอล(Vacuole) - เห็นได้ชัดในเซลล์พืชที่เกิดมานานแล้ว
- นอกจากนั้นยังพบในพวก โพรทิสต์ - Vacuole สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ

126 1. แซปแวคิวโอล(Sap vacuole)
- พบในเซลล์พืช - มีขนาดใหญ่ อยู่กลางเซลล์ - ซึ่งกินพื้นที่เกือบ 80% ของเซลล์ - ทำหน้าที่สะสมสารต่างๆ เช่น รงควัตถุ น้ำตาล แอลคาลอยด์ สารอนินทรีย์ น้ำมันหอมระเหย เป็นต้น

127

128 2. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (Contractile vacuole)
- พบในโพรโทซัวน้ำจืด - ทำหน้าที่ขับถ่ายของเหลวที่เกินความต้องการออกจากเซลล์ - ขนาดของ Contractile vacuole เปลี่ยนแปลงตามปริมาณของเหลวที่อยู่ภายใน

129

130 3. ฟูดแวคิวโอล(Food vacuole)
- พบในโพรโทซัวบางพวกและในเซลล์สัตว์ชั้นสูงที่กินสิ่งแปลกปลอม เช่น เม็ด-เลือดขาว) - ทำหน้าที่เก็บสะสมอาหาร - ย่อยอาหารที่นำเข้าเซลล์

131


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google