งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ตามอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ตามอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ตามอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

2 Contents 1. หลักการและเหตุผลในการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 2. การปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 3. ประกาศกรมสรรพสามิตฯ ที่เกี่ยวข้อง 2

3 หลักการและเหตุผลในการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์
อดีต ปัจจุบัน ปี 2535 ปี 2547 ปี - ความฟุ่มเฟือย (Luxury) - ความจุกระบอกสูบ (ซีซี) - ประเภทรถยนต์ 1. รถยนต์นั่ง 2. รถยนต์บรรทุก 3. รถยนต์โดยสาร - ความฟุ่มเฟือย (Luxury) - ความจุกระบอกสูบ (ซีซี) - Product Champion - สนับสนุนนโยบายพลังงาน ทดแทนและประหยัดพลังงาน - สร้างความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษี (ยกเลิกรถยนต์ OPV) - แนวทางเหมือนปี โดยได้มีการเพิ่มประเภทรถยนต์ตามเชื้อเพลิงที่ใช้ 1. NGV-Retrofit 2. Eco Car รุ่นที่ 1 3. E 85 4. Eco Car รุ่นที่ 2

4 การปรับโครงสร้างการจัดเก็บภาษีรถยนต์
สืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ โดยพิจารณาจากอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แทนการจัดเก็บภาษีตามปริมาณความจุของกระบอกสูบ เนื่องจากการจัดเก็บภาษีตาม CO2 จะสนับสนุนการผลิตรถยนต์ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ปริมาณการปล่อย CO2 ลดลง เพื่อการประหยัดพลังงานและลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุสำคัญของภาวะโลกร้อน ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2559 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 2. การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. ความปลอดภัยของรถยนต์ 4. การใช้พลังงานทดแทน 5. ประสิทธิภาพในการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

5 สิ่งแวดล้อม (Environment) ความฟุ่มเฟือย (Luxury)
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ในปัจจุบันและโครงสร้างภาษีที่คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2555 โดยมีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2559 1. เนื่องจากน้ำมันดิบมีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ การกำหนดระดับปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นฐานในการคำนวณภาษี ส่งผลให้ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกและส่งเสริมให้ใช้รถยนต์ประหยัดพลังงาน 2. สนับสนุนนโยบายพลังงานทดแทนและประหยัดพลังงาน 3. เสริมสร้างความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษีตามอัตราการประหยัดพลังงาน 4. โครงสร้างภาษีใหม่มีความเรียบง่ายมากยิ่งขึ้น สิ่งแวดล้อม (Environment) ความฟุ่มเฟือย (Luxury) 1. จัดเก็บภาษีตามขนาดเครื่องยนต์เพื่อสะท้อนความฟุ่มเฟือย 2. กำหนดอัตราภาษีสำหรับรถยนต์ที่สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนและการประหยัดพลังงาน 3. กำหนดอัตราภาษีเพื่อสนับสนุนขีดความสามารถในการแข่งขัน Product Champion : Pick Up, Eco Car

6 โครงสร้างภาษีปัจจุบัน โครงสร้างภาษีที่ ครม. มีมติเห็นชอบ
เปรียบเทียบโครงสร้างภาษีปัจจุบันกับโครงสร้างภาษีที่ครม.มีมติเห็นชอบ ประเภทรถยนต์ โครงสร้างภาษีปัจจุบัน โครงสร้างภาษีที่ ครม. มีมติเห็นชอบ ขนาดเครื่องยนต์ (แรงม้า HP) อัตราภาษี (ร้อยละ) CO2 E10 E20 E85 E10/E20 E85/NGV Hybrid รถยนต์นั่ง - รถยนต์นั่ง, รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่ง ไม่เกิน 10 คน ≤2,000 CC 2,001-2,500 CC 2,501-3,000 CC 30 35 40 25 22 27 32 ≤ 100 g/km g/km g/km >200 g/km 10 20 >3,000 CC (เกิน 220 HP) 50 PPV / DC /Space Cab/Pick Up ≤3,250 CC 20/12/ - /3,18 ≤ 200 g/km 25*/12/5/3,18 30/15/7/5,18 >3,250 CC Eco Car (Benzine/Diesel) / E85 1,300/1,400 CC 17 ≤100 g/km g/km 14*/12* 17/17 Electric Vehicle /Fuel Cell/ Hybrid ≤ 3,000 CC ** NGV-OEM * } } * 30 * 25 * หมายเหตุ * : กำหนดมาตรฐานความปลอดภัย (Active Safety) สำหรับรถยนต์นั่ง รถยนต์ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ที่มี CO2 ≤150 g/km / รถยนต์ PPV ที่มี CO2 ≤200 g/km / รถยนต์ Eco Car ที่มี CO2 ≤100 g/km ** อยู่ในโครงสร้างของรถยนต์นั่งที่พิจารณาจาก CO2 เป็นหลัก * ที่มีความจุกระบอกสูบตั้งแต่ 1,780 CC แต่ไม่เกิน 2,000 CC 6 18 ธ.ค. 55

7 การปล่อยมลพิษตามสาขาการผลิต
8

8 Why 150 g/km or 200 g/km ? 150 200 (PC) 25 ข้อมูลรถยนต์ปี 2553
New excise tax structure 150 200 Pick up/SC DC PPV (PC) 30/25 (E85) (Passenger Car: PC) 35/30 (E85) (PC 40)/35 (E85) Co2 ≤200 Co2 >200 3/5 12 25 Eco Car 17/14/12 5/7 15 30 Hybrid 10/20 Hybrid 25 Hybrid 30 (Gram /km) Current structure (E20) Eco Car 17 (PC) 25 (Pick up) (PC)30 (PC)35 (PC)50 3 12 20 Hybrid 10 กำหนดอัตราการปล่อย CO2 ให้สอดคล้องกับความสามารถในการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี เช่น 150 g/km แทนที่จะเป็น 130 g/km ไม่ส่งผลกระทบต่อผลการจัดเก็บรายได้ เปิดโอกาสให้นำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในประเทศมากขึ้น และสนับสนุนให้ใช้รถยนต์ที่มีขนาดของเครื่องยนต์ที่เล็กลง 6

9 Active Safety ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุก่อนการชน เช่น ABS และ ESC
ระบบที่จะช่วยให้ผู้ขับขี่และผู้โดยสารไม่ต้องมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ Active Safety ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุก่อนการชน เช่น ABS และ ESC Passive Safety ป้องกันไม่ให้ผู้โดยสารบาดเจ็บหลังการชน เช่น Airbag เข็มขัดนิรภัย และกระจกรถยนต์ ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยประเภทระบบความปลอดภัยเชิงป้องกันก่อนเกิดเหตุ (Active Safety) อย่างน้อยต้องมีระบบห้ามล้อแบบป้องกันการล็อก (Antilock Braking System : ABS) ซึ่งได้ติดตั้งระบบควบคุมเสถียรภาพแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Stability Control : ESC) และระบบห้ามล้อดังกล่าวนี้ต้องเป็นไปตามข้อกำหนดทางเทคนิค UNECE Reg.13H Rev.2 หรือระดับที่สูงกว่า

10 สนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์ในการติดป้ายแสดงข้อมูลรถยนต์
สนับสนุนมาตรฐานความปลอดภัยประเภทระบบความปลอดภัยเชิงป้องกัน ก่อนเกิดเหตุ (Active Safety) เช่น ABS + ESC - การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีในการลดอัตราร้อยละ 5 จากโครงสร้างภาษีรถยนต์ส่งผลให้เกิดความคุ้มค่า ทางเศรษฐกิจและสังคม และยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยประเภทระบบความปลอดภัย เชิงป้องกันก่อนเกิดเหตุ (Active Safety) ในภาคอุตสาหกรรมรถยนต์ของประเทศไทย ซึ่งปกติรถยนต์ที่มี ความปลอดภัยดังกล่าวจะเป็นรถยนต์ที่มีราคาค่อนข้างสูง สนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์ในการติดป้ายแสดงข้อมูลรถยนต์ - กรมสรรพสามิตร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำป้ายแสดงข้อมูลรถยนต์ Eco Sticker เพื่อให้ผู้บริโภคได้ตระหนักถึงการใช้รถยนต์ที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ภาษีสรรพสามิตเป็นเครื่องมือทางภาษีเครื่องมือหนึ่ง เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับรู้ถึงผลกระทบต่อ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas) ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน (Global Warming)

11

12 กรณีผู้ประกอบอุตสาหกรรมในประเทศ
ผู้ประกอบการ ในราชอาณาจักร กระทรวงอุตสาหกรรม กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร ยื่นเอกสารหลักฐาน เพื่อขอทดสอบค่า CO2 และ Active Safety ทดสอบตามมาตรฐาน สมอ. UN Reg.101 UN Reg.83 รับแบบแจ้งราคา (ภษ.01-44) พร้อมเอกสารแนบ ดังนี้ Type Approval Authority หรือ เอกสารรับรองจาก สมอ. พร้อม 2. ป้ายข้อมูล Eco Sticker 3. ใบแจ้งอัตราการปล่อยก๊าซ CO2 และอัตราการใช้พลังงาน 4. ใบแจ้งมาตรฐานความปลอดภัย กรอกข้อมูลรถใน Web ส่งเอกสารผลการทดสอบ ส่งข้อมูล Print ใบ Eco Sticker ตรวจสอบข้อมูล ยื่นใบขนฯ และ ดำเนิน พิธีการ ศุลกากร กรณีผู้ประกอบอุตสาหกรรมในประเทศ และในเขตปลอดอากร ยื่นเอกสารแจ้งราคาขายฯ (ภษ.01-44)พร้อมเอกสารแนบ รับแบบแจ้งราคา (ภษ.01-44) พร้อมผลการรับรองจากผู้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สถาบันยานยนต์) กรณีผู้ดัดแปลง ก่อนนำสินค้าออกจากโรงฯ รับชำระภาษี ก่อนนำสินค้าออกจาก เขตปลอดอากร

13 ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์และการรับเอกสารหลักฐานการปล่อย CO2
1. UN Reg.101 Rev.2 หรือเอกสารหลักฐานจาก สมอ. พร้อม ป้ายข้อมูลรถยนต์ตามมาตรฐานสากล (Eco Sticker) และใบแจ้งอัตราการปล่อยก๊าซ CO2 2. กรณีผู้ดัดแปลง ให้ใช้เอกสารจากสถาบันยานยนต์ 3. กรณีนำเข้าหากไม่มีเอกสารตามข้อ 1 ให้มีการวางประกันที่ด่านศุลกากร ก่อนนำรถยนต์ไปตรวจ CO2 ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง มาตรฐานความปลอดภัย ประเภทระบบความปลอดภัยเชิงป้องกันก่อนเกิดเหตุ (Active Safety) UN Reg.13H Rev.2 หรือระดับที่สูงกว่า หรือหลักฐานเอกสารจาก สมอ. พร้อม Eco Sticker และใบแจ้งมาตรฐานด้านความปลอดภัย ทั้งนี้ หากไม่มีเอกสารข้างต้นให้อ้างอิงเอกสารอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ผลการทดสอบของผู้ผลิต ซึ่งได้รับการรับรอง ISO 17025 ผลการทดสอบจากหน่วยตรวจสอบที่ได้รับการแต่งตั้งตาม มาตรา 5 แห่ง พรบ. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรรม ผลการทดสอบจากหน่วงงานทดสอบ (Third Party) ซึ่งได้รับการรับรอง ISO 17025 ผลการทดสอบจากหน่วยงานทดสอบท้ายความตกลงปี 1958 ภายใต้คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่งยุโรปสหประชาชาติ ผลการทดสอบของผู้ผลิตที่มีวิศวกรที่ได้รับมอบหมายจากกรมการขนส่งทางบกเป็นพยานในการทดสอบ คู่มือผู้ใช้รถยนต์ที่ระบุ ABS+ESC

14 ECO Sticker

15 ใบแจ้งอัตราการปล่อย CO2
ใบปะหน้า Type Approval

16 ใบแจ้งมาตรฐานความปลอดภัย
ใบปะหน้า Type Approval

17 Results from a change of Automobile Excise tax Structure
ผลที่คาดว่าจะได้รับ Results from a change of Automobile Excise tax Structure Fairness - เปิดโอกาสให้มีการผลิตหรือนำเข้ารถยนต์ โดยไม่จำกัดเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ประชาชนในการใช้รถยนต์ที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Efficiency - ป้ายแสดงข้อมูลรถยนต์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเลือกซื้อรถยนต์ที่ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม รวมถึงการกำหนดให้รถยนต์ดังกล่าวต้องติด Active Safety ในรถยนต์ เพื่อให้ได้รับความ ปลอดภัยในการใช้รถยนต์บนท้องถนน และเป็นการยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย Transparency - การจัดเก็บภาษีรถยนต์ตามหลัก CO2 เป็นเครื่องมือในการนำนวัตกรรมหรือ เทคโนโลยียานยนต์ใหม่ๆ มาให้ประชาชนมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น การประหยัดน้ำมัน และการแก้ไขปัญหาโลกร้อน Simplicity - ประชาชนสามารถเลือกซื้อรถยนต์ที่มีประสิทธิภาพในด้านการประหยัดพลังงานและลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยพิจารณาจากป้ายแสดงข้อมูลรถยนต์ ซึ่งรถยนต์ที่ปล่อย CO2 น้อยจะได้รับ สิทธิประโยชน์ทางภาษีสูง 17


ดาวน์โหลด ppt โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ตามอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google