ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยEverett Ray ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
กฎหมายข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
กับการเปลี่ยนแปลง ที่ข้าราชการควรรู้ โดย นายศรัณย์ พรไพศาลดี ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
2
กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ฯ ล ฯ
3
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บริหารราชการส่วนกลาง กระทรวง ทบวง กรม
บริหารราชการส่วนภูมิภาค จังหวัด อำเภอ บริหารราชการส่วนท้องถิ่น อบต. เทศบาล ศาล ศ.รัฐธรรมนูญ ศ.ยุติธรรม ศ.ปกครอง ศ.ทหาร องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ กตต. สำนักงาน ปปช. คตง. ตรวจเงินแผ่นดิน องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ กอ. คกก.สิทธิมนุษยชน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจฯ
4
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ในส่วนที่เกี่ยวข้องการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ มาตรา ๖๒ การคุ้มครองผู้ที่ให้ข้อมูลโดยสุจริตแก่หน่วยงานของรัฐ มาตรา ๖๔ เสรีภาพในการรวมกลุ่ม มาตรา ๗๘ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายการบริหาร ราชการแผ่นดิน มาตรา ๑๘๑ (๑) และ (๔) การแต่งตั้ง/โยกย้าย ขรก. ระหว่างคณะรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง มาตรา ๒๔๔ อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดิน มาตรา ๒๕๐ อำนาจหน้าที่ของ ปปช.
5
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ในส่วนที่เกี่ยวข้องการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ๗. มาตรา ๒๗๙ มาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการ ๘. มาตรา ๒๘๐ อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดิน ๙. มาตรา ๒๘๘ การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๘ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน ดังนี้ (๑) (๔) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ
7
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา ๗๘ (ต่อ) (๕) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำ และการให้บริการสาธารณะ เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน (๘) ดำเนินการให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้รับสิทธิประโยชน์อย่างเหมาะสม
8
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖๔ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐย่อมมีเสรีภาพในการรวมกลุ่มเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป แต่ทั้งนี้ ต้องไม่กระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและความต่อเนื่องในการจัดทำบริการสาธารณะ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกำหนด
9
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๙ มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กำหนดขึ้น การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่งให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดทางวินัย การพิจารณา สรรหา กลั่นกรอง หรือแต่งตั้งบุคคลใดเข้าสู่ตำแหน่งที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการใช้อำนาจรัฐ รวมทั้งการโยกย้าย การเลื่อนตำแหน่ง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษบุคคลนั้น จะต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคำนึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลดังกล่าวด้วย
10
กฎหมายเกี่ยวกับการบริหาร จัดตั้งองค์กร
พ.ร.บ.ว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรมฯ การบริหาร กม.ว่าด้วยระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน , พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการศาล ยุติธรรม พ.ศ. 2543 การบริหารคน กม.ว่าด้วยระเบียบการบริหารงานบุคคลต่างๆ เช่น ก.พ. ก.ต.ร. กอ. กคศ. การบริหารเงิน กม.ว่าด้วยการงบประมาณ, กม.ว่าด้วยการจ่ายเงินต่างๆ การบริหารวัสดุ-สิ่งของ ระเบียบสำนักนายกว่าด้วยการพัสดุ
11
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
12
สิ่งที่เปลี่ยนแปลง วางหลักการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือน
กระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการพลเรือน ปรับปรุงองค์ประกอบและบทบาทของ ก.พ. และสำนักงาน ก.พ. วางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ปรับปรุงระบบการกำหนดตำแหน่ง ปรับปรุงระบบค่าตอบแทน ปรับปรุงระบบจรรยาและวินัย
13
สิ่งที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ)
๘. การคุ้มครองพยาน ๙. ปรับปรุงระบบอุทธรณ์และการร้องทุกข์ ๑๐. ปรับปรุงระบบเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน ๑๑. ยกเลิกระบบข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ ๑๒. เสริมสร้างการมีส่วนร่วม ๑๓. ให้สิทธิข้าราชการในการรวมกลุ่ม
14
๑. วางหลักการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือน
15
การจัดระบบบริหารงานบุคคล
ระบบโครงสร้าง ระบบจำแนก ชั้นยศ ระบบจำแนกตำแหน่ง ระบบบริหาร ระบบอุปถัมภ์ ระบบพรรคพวก ระบบคุณธรรม
16
๑. วางหลักการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือน
มาตรา ๓๔ การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือน ต้องเป็นไปเพื่อ - ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ - ความมีประสิทธิภาพ - ความคุ้มค่า - คุณภาพชีวิต - คุณธรรม มาตรา ๔๒ การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญ ให้คำนึงถึงระบบคุณธรรม - การบรรจุ แต่งตั้ง ความรู้ความสามารถ เสมอภาค เป็นธรรม - การบริหารคน ผลสัมฤทธิ์ขององค์กร ไม่เลือกปฏิบัติ - ความชอบ ผลงาน ศักยภาพ ความประพฤติ เป็นกลางทางการเมือง - วินัย ยุติธรรม ปราศจากอคติ - การบริหารคน เป็นกลางทางการเมือง
17
ระบบคุณธรรม ความรู้ความสามารถและสมรรถนะ (Competency)
ระบบความเสมอภาคในโอกาส (Equality Of Opportunity) ระบบความมั่นคงในการดำรงสถานภาพ (Security Of Tenure) ระบบความเป็นกลางทางการเมือง (Political Neutrality)
18
๒. กระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการพลเรือน
เพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารราชการแผ่นดิน คล่องตัว สอดคล้องกับสภาพการณ์ของแต่ส่วนราชการ เช่น การมอบอำนาจการกำหนดตำแหน่งให้ อ.ก.พ.กระทรวงเป็นผู้พิจารณา (ม.๔๗) มอบอำนาจการตรวจสอบการดำเนินการทางวินัยกรณีกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงเป็นให้ อ.ก.พ.กระทรวงพิจารณาตรวจสอบ (ม.๑๐๓)
19
๓. ปรับปรุงองค์ประกอบและบทบาทของ ก.พ. และ สำนักงาน ก.พ.
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดที่จะไม่ให้ ก.พ. มีบทบาทหน้าที่ซ้ำซ้อน กับ ก.พ.ร. ตัดอำนาจหน้าที่การจัดโครงสร้างส่วนราชการออก ตัดการจัดระบบบริหารราชการออก ปรับบทบาทหน้าที่ ก.พ.เหลือเพียงด้านนิติบัญญัติ และด้านบริหาร ด้านนิติบัญญัติ คือ ก.พ. เป็นผู้ออกกฎ ระเบียบ ด้านบริหาร คือ เป็นผู้จัดการงานบุคคลของฝ่ายบริหาร ก.พ.เป็นเจ้าหน้าที่และเลขานุการของ ก.พ. รวมทั้งเป็นเลขานุการ ก.พ.ค. (ม. ๖, ๑๓ และ ๒๔)
20
การเปลี่ยนบทบาทและองค์ประกอบ
เป็นผู้เสนอแนะนโยบาย เป็นที่ปรึกษา เปลี่ยน บทบาท (ม.๘) เป็นผู้ออกกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เป็นผู้กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหาร “คน” ของ ส่วนราชการ 20
21
การปรับองค์ประกอบของ ก.พ.
กรรมการจาก ๓ เหลือ ๒ ประเภท (ม.๖) กรรมการโดยตำแหน่ง ๕ คน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๕-๗ คน จาก ๓ เหลือ ๒ ประเภท กรรมการโดย ตำแหน่ง ๕ คน ๑ กรรมการผู้ทรง คุณวุฒิ ๕-๗ คน ๒ 21
22
๔. วางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
23
แนวความคิด พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๕๑ ก.พ.ค. เป็นองค์กรกึ่งตุลาการ
ก.พ. มีหน้าที่ทั้งด้านนิติบัญญัติ/บริหาร/ตุลาการ อันเป็นการทำหน้าที่เบ็ดเสร็จอยู่ในองค์กรเดียวกัน อีกทั้ง ก.พ.อยู่ใต้ฝ่ายบริหาร จึงทำให้บทบาทหน้าที่พิทักษ์คุณธรรมถูกมองว่าไม่มีความเป็นอิสระ ก.พ.ค. เป็นองค์กรกึ่งตุลาการ มีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร ทำหน้าที่ให้ความเป็นธรรมแก่ข้าราชการตาม ม.๒๔ มีอำนาจหน้าที่พิจารณาเรื่องอุทธรณ์และเรื่องร้องทุกข์
24
อำนาจหน้าที่ของ ก.พ.ค. (มาตรา ๓๑)
เสนอแนะ ก.พ. เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรม พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ พิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ พิจารณาเรื่องการคุ้มครองระบบคุณธรรม ออกกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติของ ก.พ.ค. แต่งตั้งบุคคลเพื่อเป็นกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์/กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
25
ความยุติธรรม ความเป็นธรรม ความรวดเร็ว ข้อดีของ ก.พ.ค.
ก.พ.ค.มาจากการสรรหาขององค์กรปลอดการเมือง ความยุติธรรม เดิม โทษภาค/ตัด/ลด อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ.กระทรวง (วินิจฉัยไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน) ใหม่ อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ทุกสถานโทษ ความเป็นธรรม เดิม ก.พ.พิจารณาแล้วต้องส่งนายกฯ สั่งการ หากเห็นแย้งต้องเสนอ ครม. ใหม่ ก.พ.ค. มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยได้เอง ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยของ ก.พ.ค. ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุด ความรวดเร็ว
26
คณะกรรมการ ก.พ.ค. จำนวน ๗ คน การทำงาน เต็มเวลา วาระ วาระเดียว
27
๕. ปรับปรุงระบบตำแหน่ง
28
กระจายอำนาจกำหนด จำนวนตำแหน่งให้
ระบบการกำหนดตำแหน่ง ยกเลิกระดับมาตรฐาน กลางที่ใช้ตั้งแต่ ๒๕๑๘ ข้อดี กำหนดอัตราเงินเดือนของตำแหน่งแต่ละประเภทและแต่ละระดับให้ต่างกันได้ตามค่างานและอัตราตลาด ระบบการ กำหนด ตำแหน่ง แบ่งตำแหน่งออกเป็น ๔ ประเภท แต่ละประเภท มีจำนวนระดับของตน กระจายอำนาจกำหนด จำนวนตำแหน่งให้ อ.ก.พ.กระทรวง 28
29
เปรียบเทียบระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ จำแนกเป็น ๑๑ ระดับ กำหนดสายงานกว่า ๔๐๐ สายงาน เน้นความชำนาญเฉพาะของสายอาชีพ บัญชีเงินเดือนเดียวสำหรับทุกตำแหน่ง บัญชีเงินเดือนเป็นแบบ “ขั้น” การกำหนดตำแหน่งเป็นหน้าที่ของ ก.พ. พ.ร.บ. ๒๕๕๑ จัดกลุ่มประเภทตำแหน่งตามลักษณะงานเป็น ๔ กลุ่ม เน้นความสามารถของบุคคล แนวคิดบริหารผลงาน, สมรรถนะ บัญชีเงินเดือนแยกตามประเภทตำแหน่ง บัญชีเงินเดือนเป็นแบบ “ช่วง” การกำหนดตำแหน่งเป็นหน้าที่ของกระทรวง
30
ประเภทตำแหน่ง (มาตรา ๔๕)
ทั่วไป ประเภท วิชาชีพ ประเภท อำนวยการ ประเภท บริหาร
31
๕. ปรับปรุงระบบค่าตอบแทน
32
การปรับปรุงระบบค่าตอบแทน
เพิ่มความคล่องตัวในการปรับค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับ ค่างานและอัตราตลาด จากเงินเดือนบัญชีเดียวเป็น ๔ บัญชี มีเงินเพิ่มใหม่อีก ๒ ประเภท คือ ตามพื้นที่และตามสายงาน ก.พ. อาจกำหนดเงินเดือนขั้นต่ำและขั้นสูงของสายงานที่อยู่ในประเภทเดียวกันให้ต่างกันได้ ก.พ. อาจกำหนดให้เงินเดือนแรกบรรจุของวุฒิเดียวกันให้ต่างกันได้ เพิ่มความยืดหยุ่นในการให้ค่าตอบแทนตามผลงาน และ สมรรถนะ นำโครงสร้างบัญชีเงินเดือนแบบ “ช่วง” มาใช้แทนแบบ “ขั้น” ระบบรองรับ การประเมินผลงานและบริหารผลงาน การกำหนดดัชนีชี้วัดผลงาน การประเมินสมรรถนะ 32
33
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ว ๒๐/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
34
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการกำกับติดตามเพื่อให้ ส่วนราชการและจังหวัดสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า เพื่อให้ผู้บังคับบัญชานำผลการประเมินการปฏิบัติราชการไป ใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน และการให้เงินรางวัล ประจำปีแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามหลักการของระบบ คุณธรรม 34 34
35
องค์ประกอบการประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ของงาน ปริมาณผลงาน คุณภาพผลงาน ความรวดเร็ว ความประหยัด พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ สมรรถนะหลัก สมรรถนะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการตามที่ส่วนราชการกำหนด องค์ประกอบอื่น ส่วนราชการกำหนด
36
องค์ประกอบของสัดส่วนคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ของงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ๗๐ เช่น ๗๐: ๓๐ หรื ๗๐ : ๒๐ ข้าราชการที่พ้นทดลองฯ สัดส่วนผลสัมฤทธิ์ของงานต่อพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ร้อยละ ๕๐: ๕๐ ข้าราชการที่อยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
37
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินฯ
องค์ประกอบ : ระดับผลการประเมิน อย่างน้อย ๕ ระดับ กรณี ระดับผลฯ คะแนนในแต่ละระดับ หมายเหตุ ข้าราชการ ดีเด่น ส่วนราชการสามารถกำหนดช่วงคะแนนของแต่ละระดับได้ตามความเหมาะสม ประกาศผู้มีผลการประเมิน ดีเด่น และ ดีมาก ให้ทราบทั่วกัน ดีมาก ดี พอใช้ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ - ต้องปรับปรุง ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
38
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินฯ
เริ่มรอบการประเมิน - ส่วนราชการระดับกรมหรือจังหวัดประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินฯ ให้ทราบโดยทั่วกัน - ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินกำหนดข้อตกลงร่วมกัน ผลสำเร็จของงาน พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ ระหว่างรอบการประเมิน - ผู้ประเมินให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้รับการประเมิน
39
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินฯ
ครบรอบการประเมิน ผู้ประเมินประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ผู้ประเมินแจ้งผลการประเมินให้ผู้รับการประเมินทราบเป็นรายบุคคล ผู้ประเมินประกาศรายชื่อผู้มีผลการปฏิบัติราชการในระดับดีเด่นและดีมากในที่เปิดเผย ผอ.สำนัก/กอง หรือหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด โดยความเห็นชอบของผู้บังคับบัญชา จัดส่งผลการประเมินต่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ
40
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินฯ
กลไกสนับสนุนความโปร่งใส เป็นธรรม : คณะกรรมการกลั่นกรอง หน้าที่ : พิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานและความเป็นธรรมของ การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัดองค์ประกอบ : คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม รอง หน.สรก. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน ขรก.ในส่วนราชการ ตามที่ หน.สรก.เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า ๔ คน กรรมการ หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ คณะกรรมการระดับจังหวัด รอง ผวจ. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน ขรก.ในจังหวัด ตามที่ ผวจ.เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า ๔ คน กรรมการ หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ
41
สมรรถนะหลัก ๕ ด้าน ๑. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)
๒. บริการที่ดี (Service Mind) ๓. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) ๔. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) ๕. การทำงานเป็นทีม (Teamwork)
42
สมรรถนะทางการบริหาร ๖ ด้าน
๑. สภาวะผู้นำ (Leadership) ๒. วิสัยทัศน์ (Visioning) ๓. การวางกลยุทธ์ภาครัฐ (Strategic Orientation) ๔. ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน (Change Leadership) ๕. การควบคุมตนเอง (Self Control) ๖. การสอนงานและการมอบหมายงาน (Coaching and Empowering Others)
43
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๑. การคิดวิเคราะห์ (Anlytical Thanking) ๒. การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) ๓. การใส่ใจและพัฒนาผู้อื่น (Caring Others) ๔. การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ (Holding People Accountable) ๕. การสืบเสาะหาข้อมูล(Information Seeking) ๖. ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม(Cultural Sensitivity) ๗. ความเข้าใจผู้อื่น (Interpersonal Understanding)
44
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๘. ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ(Organizational Awareness) ๙. การดำเนินการเชิงรุก (Proactiveness) ๑๐. การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนการ (Concern for Order) ๑๑. ความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence ) ๑๒. ความยึดหยุ่นผ่อนปรน(Flexibility) ๑๓. ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication and Influencing) ๑๔. สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality) ๑๕. ความผูกพันที่มีต่อส่วนราชการ (Organizational Commitment) ๑๖. การสร้างสัมพันธภาพ (Relational Building)
45
หลักการเลื่อนเงินเดือน ตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. ๒๕๕๒
ส่วนราชการ/จังหวัด คำนวณวงเงินร้อยละ ๓ ของเงินเดือนข้าราชการ แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกินร้อยละ ๖ ของฐานในการคำนวณต่อ ๑ รอบ ความยืดหยุ่น เลื่อนเงินเดือนต้องสอดคล้องกับผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ห้ามหารเฉลี่ย เลื่อนเงินเดือนตามผลงาน แยกวงเงินเป็น ๓ กลุ่ม บริหาร อำนวยการ วิชาการและทั่วไป การจัดสรรวงเงิน ผู้ถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน
46
ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน
ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน ผู้ถูกตั้งคณะกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนเงินเดือนในรอบการประเมินที่ถูกลงโทษ ผู้ที่ถูกรอฯ ไว้ก่อน กฎ ก.พ.นี้ ให้เลื่อนตามผลงานที่ประเมินไว้
47
๕. ปรับปรุงระบบจรรยาและวินัย
48
การปรับปรุงระบบจรรยา
พัฒนา แต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน การยืนหยัดยึดหมั่นทำในสิ่งที่ถูกต้อง ความซื่อสัตย์สุจริตรับผิดชอบ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การไม่เลือกปฏิบัติ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ จรรยา ส่วนราชการ ต้องออก ข้อบังคับ ว่าด้วย จรรยา ของตน การปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามจรรยา จะถูกนำมาประกอบการพิจารณา 48
49
วินัย
50
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ ๑. วินัยและการรักษาวินัย - กำหนดลักษณะการกระทำผิดวินัยเป็นรายมาตรา - กำหนดความผิดวินัยทั้งไม่ ร้ายแรงและร้ายแรงไว้ในมาตราเดียวกัน - แยกการกระทำที่เป็นความผิดวินัย ออกเป็น ๒ กลุ่มๆ - ต้องกระทำการอันเป็นข้อปฏิบัติ ๑ มาตรา (ม.๘๒) - ต้องไม่กระทำการอันเป็นข้อห้าม ๑ มาตรา (ม.๘๓) - ก.พ.อาจกำหนดความผิดเพิ่มขึ้นได้ (ม.๘๒(๑๑), ม.๘๓ (๑๐) และ ม.๘๕ (๘)
51
วินัยข้าราชการพลเรือนที่ต่างจากเดิม
เรื่อง การล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศแยกออกมาจากเรื่องกระทำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว เพื่อให้ข้าราชการให้ความสำคัญและตระหนักที่จะไม่กระทำผิดในเรื่องนี้
52
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ ๒. การดำเนินการทางวินัย เมื่อมีการกล่าวหา / มีกรณี เป็นที่สงสัยให้ผู้บังคับบัญชาทำการสืบสวนข้อเท็จจริงก่อน เมื่อมีมูล ที่ควรกล่าวหาแล้ว จึงดำเนินการ ทางวินัย เมื่อมีการกล่าวหา / มีกรณีเป็นที่สงสัย ให้ผู้บังคับบัญชาระดับต้นรายงานผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจ สั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดำเนินการ (ม.๙๐)
53
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ - ผู้บังคับบัญชาทุกระดับมีอำนาจ สืบสวน / สอบสวน และลงโทษ ทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามอำนาจของตน - ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุสืบสวนว่ามีมูลหรือไม่ (ม.๙๑) - ไม่มีมูล ยุติเรื่อง - มีมูล สอบสวน (อาจมอบอำนาจให้ผู้บังคับบัญชาระดับต่ำลงไปปฏิบัติแทนได้)
54
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ ๓. การสอบสวนทางวินัยอย่าง ไม่ร้ายแรง ม.๑๐๒ ว.๒ - เมื่อมีมูลให้สอบสวนตามวิธีการที่ผู้บังคับบัญชาเห็นสมควร ม.๙๒ - หลักการเดิม - ข้อยกเว้น ถ้าในการสืบสวนหรือพิจารณามูลความผิดทางวินัยได้มีการแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกผู้ถูกกล่าวหาทราบ พร้อมทั้ง รับฟังคำชี้แจงแล้ว ผู้บังคับบัญชาซึ่ง มีอำนาจสั่งบรรจุสามารถสั่งลงโทษ โดยไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้
55
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ ๔. การสอบสวนทางวินัยอย่างร้ายแรง ม.๑๐๒ ว.๒ - สอบสวนตามกฎ ก.พ. ฉบับที่ ๑๘ (พ.ศ.๒๕๔๐) - แจ้งข้อกล่าวหา / สรุปพยาน - ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง / นำสืบ ม.๙๓/ม.๙๕ สาระสำคัญเช่นเดียวกัน (วิธีการการสอบสวนจะอยู่ใน กฎ ก.พ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย)
56
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ โทษวินัย ๑. ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ๒. ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ปลดออก ไล่ออก ลดเงินเดือน
57
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ การสั่งลงโทษ - ถ้ากรรมการสอบสวน หรือ ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ เห็นว่าผิดวินัยอย่างร้ายแรง ต้องนำเสนอ อ.ก.พ.จังหวัด / อ.ก.พ.กรม / อ.ก.พ.กระทรวง แล้วแต่กรณีพิจารณา เมื่อ อ.ก.พ.ดังกล่าวมีมติเป็น ประการใด ผบ.จึงสั่งไปตามนั้น - ถ้าเป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ผบ.มีอำนาจลงโทษได้ตามกฎก.พ.ฉบับที่ ๘ (พ.ศ.๒๕๓๖) -ในความผิดวินัยอย่างร้ายแรง หลักการเป็นอย่างเดิม (ต้องนำเข้า อ.ก.พ. ซึ่งข้าราชการผู้นั้นสังกัดอยู่พิจารณา และผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ ๕๗ สั่งตามมติ) -ในความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เป็นผู้สั่งลงโทษ
58
การรายงานการดำเนินการทางวินัย
พ.ร.บ. ๒๕๓๕ พ.ร.บ. ๒๕๕๑ การรายงานการดำเนินการทางวินัย - เมื่อ ผบ.ได้ดำเนินการทางวินัยแล้ว ให้รายงานตามลำดับจนถึงอธิบดี และ อ.ก.พ. กระทรวง - รายงานการดำเนินการทางวินัยไปยัง ก.พ. ทุกกรณี - เมื่อ ผบ.ได้ดำเนินการทางวินัยแล้ว ให้รายงานไปยัง อ.ก.พ.กระทรวง (ไม่ผ่านอธิบดี) รายงาน ก.พ. เฉพาะกรณี ดังนี้ ๑.กรณีข้าราชการต่างกระทรวงกระทำผิดร่วมกัน ๒.ข้าราชการระดับสู งกระทำผิด (อธิบดี / ปลัดกระทรวง) ๓.ผู้แทน ก.พ. ใน อ.ก.พ.กระทรวง เห็นว่าการดำเนินการทางวินัย ไม่เป็นไปตาม พ.ร.บ.นี้ หรือปฏิบัติ ไม่เหมาะสม
59
๘. หลักการใหม่ การคุ้มครองพยาน
มาตรา ๙๘ กำหนดหลักเกณฑ์การกันผู้ที่อาจถูกกล่าวหาว่ากระทำทำผิดร่วมกับบุคคลอื่นไว้เป็นพยาน และการให้ความคุ้มครองพยาน หรือผู้ให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ
60
๙. ปรับปรุงระบบอุทธรณ์และร้องทุกข์
61
การอุทธรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๕๑ ผู้ถูกลงโทษ ให้ใช้สิทธิอุทธรณ์ (ม.๑๒๔) ผู้ถูกสั่งให้ออก ให้ใช้สิทธิร้องทุกข์ (ม.๑๒๙) ถูกสั่งลงโทษ ลด/ตัด/ภาค อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ.กรม/จังหวัด/กระทรวง (ม.๑๒๕) ถูกสั่งลงโทษปลด/ไล่ออก อุทธรณ์ต่อ ก.พ. (ม.๑๒๖) ถูกสั่งให้ออกทุกกรณีร้องทุกข์ต่อ ก.พ. (ม.๑๒๙) ผู้ถูกลงโทษ/ถูกสั่งให้ออกให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. (ม.๑๑๔) ถูกสั่งลงโทษทุกสถานโทษอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. (ม.๑๑๔) ถูกสั่งให้ออกบางกรณีที่ไม่ได้กำหนดให้ใช้สิทธิอุทธรณ์จึงต้องไปใช้สิทธิร้องทุกข์แทน (ม.๑๒๒) ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ขาดคุณสมบัติ ปฏิบัติงานไม่มีประสิทธิภาพ
62
การมอบหมายการพิจารณา
พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๕๑ ก.พ. ตั้ง อ.ก.พ.วิสามัญเกี่ยวกับการอุทธรณ์และการร้องทุกข์ทำการแทน (ม.๑๑) องค์ประกอบ ก.พ. ๒ คน ตัวแทนข้าราชการ ๑ ใน ๓ ก.พ.ค.ตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์เป็นผู้พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ก็ได้ (ม.๑๑๕)
63
การอุทธรณ์ (มาตรา ๑๑๔ และ ๑๒๒)
ผู้ถูกลงโทษ/ ถูกสั่งให้ออก ให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. (๑๑๔) ถูกสั่งให้ออกบางกรณีที่ไม่ได้กำหนดให้ใช้สิทธิอุทธรณ์ ใช้สิทธิร้องทุกข์ (๑๒๒)
64
เหตุเกิดจาก หน.ส่วนราชการขึ้นตรงต่อ นายกฯรตม./ปลัด/รมต./นายก
วิธีการร้องทุกข์ ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป (ม.๑๒๓ ว.๑) ข้าราชการคับข้องใจอันเกิดจากการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา (ม.๑๒๒) ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. (ม.๑๒๓ ว.๒) เหตุเกิดจาก หน.ส่วนราชการขึ้นตรงต่อ นายกฯรตม./ปลัด/รมต./นายก
65
การวินิจฉัย พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๕๑ การวินิจฉัย (ข้อ ๑๓ กฎ ก.พ. ฉบับที่ ๑๖) ยกโทษ เพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ (เป็นว่ากล่าวตักเตือน/ทำทัณฑ์บน) แก้ไขเปลี่ยนแปลง การวินิจฉัยของ ก.พ.ค. (ม.๑๒๐) - ไม่รับอุทธรณ์ - ยกอุทธรณ์ - ให้แก้ไข/ยกเลิกคำสั่งลงโทษ - ให้เยียวยาความเสียหาย - ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม - เพิ่มโทษไม่ได้ เว้นแต่ได้รับแจ้งจาก ก.พ.ว่าสมควรเพิ่มโทษ
66
การฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
การพิจารณาของ ก.พ.ค. ภายใน ๑๒๐ วัน(ขยาย ๖๐ + ๖๐ วัน)(ม.๑๑๘) ระยะเวลา ให้ ผบ. ดำเนินการตามคำวินิจฉัยภายใน ๓๐ วัน (ม.๑๑๖ วรรคหนึ่ง) ผบ. ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ถือว่าเป็นการจงใจละเว้นโดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น (ม.๑๑๖ วรรคสาม) การทำตาม คำวินิจฉัย ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยของ ก.พ.ค. ให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุดภายใน ๙๐ วัน (ม.๑๑๖ วรรคสอง) การฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
67
การร้องทุกข์เหตุคับข้องใจ (ม.๑๒๒)
๑. ข้าราชการมีความคับข้องใจ ๒. การปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติต่อตนของผู้บังคับบัญชา ๓. เป็นกรณีที่ไม่อาจใช้สิทธิอุทธรณ์
68
คำวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ของ ก.พ.ค. (ม.๑๒๔)
๑. ไม่รับเรื่องร้องทุกข์ ๒. ยกคำร้องทุกข์ ๓. ให้แก้ไข/ยกเลิกคำสั่ง ๔. ให้เยียวยาความเสียหาย ๕. ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม ผู้ร้องทุกข์ไม่พอใจคำวินิจฉัยมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้น
69
การคุ้มครองระบบคุณธรรม (ม.๑๒๖)
กรณีที่ ก.พ.ค. เห็นว่ากฎ ระเบียบ หรือคำสั่งใดที่ออกตาม พ.ร.บ.นี้ และมุ่งหมายให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่สอดคล้องกับระบบคุณธรรมตาม ม.๔๒ ให้ ก.พ.ค. แจ้งให้หน่วยงาน/ผู้ออกกฎ ระเบียบ /คำสั่ง ดังกล่าวทราบเพื่อดำเนินการแก้ไข/ยกเลิกตามควรแก่กรณี
70
การปรับปรุงระบบอุทธรณ์และร้องทุกข์ เดิม ใหม่
อุทธรณ์ต่อฝ่ายบริหารซึ่งเป็น ผู้ออกคำสั่ง อุทธรณ์ต่อองค์กรที่ไม่มี ส่วนได้เสีย (ก.พ.ค.) อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ.สามัญ หรือ ก.พ. อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ก.พ.พิจารณาอุทธรณ์แล้ว มีมติ ประการใดต้องเสนอ นรม.สั่งการ ก.พ.ค.มีมติประการใด ส่วนราชการต้องปฏิบัติตาม ร้องทุกข์ต่อ ผบ. เหนือขึ้นไป เว้นแต่ทุกข์ที่เกิดจาก ปลัดกระทรวง รมต. หรือ นรม. หรือส่วนราชการขึ้นตรง ต่อนายกฯให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค. ร้องทุกข์ต่อ ผบ. อ.ก.พ.สามัญ หรือ ก.พ. ถูกสั่งให้ออกจากราชการให้ร้องทุกข์ บางกรณี เช่น เหตุเจ็บป่วย เหตุขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม เหตุทำงาน ไม่มีประสิทธิผล/ภาพ เหตุบกพร่องในหน้าที่หรือ ทำตัวไม่เหมาะสมเหตุมลทินมัวหมอง ให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค.
71
เป็นมาตรการหนึ่งในการแก้ปัญหาโครงสร้างอายุ
๑๐. ปรับปรุงการเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน ตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญซึ่งมีอายุหกสิบปีบริบูรณ์รับราชการต่อไป พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นมาตรการหนึ่งในการแก้ปัญหาโครงสร้างอายุ วิชาการ (ระดับเชี่ยวชาญ ระดับทรงคุณวุฒิ) ทั่วไป (ระดับอาวุโส ระดับทักษะพิเศษ) เงื่อนไข ตำแหน่ง สายงานขาดแคลน (จำนวนหรือคุณภาพ) ราชการมีความจำเป็น มีความรู้หรือทักษะ มีสมรรถนะ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ อื่นๆ เช่น สุขภาพ คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์ได้รับพิจารณา ระยะเวลาต่อสูงสุด ๑๐ ปี 71
72
ปรับปรุงการเกษียณอายุของข้าราชการ
อ.ก.พ.กระทรวงพิจารณาตำแหน่งและเหตุผลความจำเป็นหรือ หาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญหรือมีทักษะเฉพาะตัวเพื่อจะทดแทนผู้นั้นได้ยาก ข้าราชการที่จะได้รับราชการต่อไปต้องมีคุณสมบัติ ก.พ.กำหนดเพียงขั้นตอนและวิธีดำเนินการ โดยมอบอำนาจให้ ส่วนราชการไปดำเนินการเอง
73
๑๑. ยกเลิกข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
เนื่องจากในช่วงประมาณ ๓๐ ปี ไม่มีการแต่งตั้งข้าราชการ ประจำต่างประเทศพิเศษ งานด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นงานที่ต้องใช้วิชาการ และประสบการณ์เฉพาะทาง ข้าราชการประจำมีความรู้ความสามารถที่เป็นมืออาชีพ ไม่ควรแต่งตั้งจากบุคคลภายนอกด้วยเหตุผลทางการเมือง
74
๑๒. เสริมสร้างการมีส่วนร่วม
มาตรา ๘ วรรคสอง การออกกฎ ก.พ. ตาม (๕) ในกรณีที่ เห็นสมควรให้สำนักงาน ก.พ. หารือกระทรวง ที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการพิจารณาของ ก.พ. ด้วย
75
๑๓. ให้สิทธิข้าราชการในการรวมกลุ่ม
มาตรา ๔๓ วรรคสอง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐย่อม มีเสรีภาพในการรวมกลุ่มเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป แต่ทั้งนี้ ต้องไม่กระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดิน และความต่อเนื่องในการจัดทำบริการสาธารณะ
76
สรุปสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
๑. ก.พ. ไม่มีกรรมการผู้แทน ๒. หน้าที่ ก.พ. - เพิ่มจัดสรรทุนให้หน่วยงานของรัฐได้ - เพิ่มการดูแลบุคลากรภาครัฐที่ไปเรียนต่างประเทศ - เพิ่มอำนาจการดำเนินการทางวินัยกับหัวหน้าส่วนฯ ที่ไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย + มติ ๓. อ.ก.พ.สามัญ ตัดเรื่องอุทธรณ์ + ร้องทุกข์ พัฒนาและจัดทำรายงานการบริหารงานบุคคลฯ ออก ๔. มี ก.พ.ค. – อุทธรณ์ + ร้องทุกข์
77
สรุปสิ่งที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ)
๕. - มาตรา ๓๔ เพิ่มปรัชญาการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนฯ - ตัด “ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ” ออก - ตัด “ทุพพลภาพ” ออก - เงินเพิ่มสำหรับ “ตำแหน่งบางท้องที่ บางสายงาน”
78
สรุปที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ)
๖. ลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญ - มาตรา ๔๒ ปรัชญาการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญ - มาตรา ๔๓ การรวมกลุ่มฯ - ตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ๔ ประเภท - เพิ่มให้ อ.ก.พ. กระทรวง กำหนดตำแหน่ง จำนวน ประเภท สายงานและระดับ กำหนดตำแหน่งทางบริหาร - รับเงินเดือนขั้นต่ำ - ขั้นสูง - มาตรา ๕๙ พัฒนาระหว่างทดลอง
79
สรุปสิ่งที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ)
- มาตรา ๖๔ โอนเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นของรัฐบาลมาเป็นข้าราชการพลเรือนได้ - มาตรา ๗๑ ให้ ก.พ. เยียวยา กรณีศาลปกครองเพิกถอนคำสั่งโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี - มาตรา ๗๕ เพิ่มฝึกอบรม + ดูงาน + ปฏิบัติการวิจัยในประเทศได้
80
สรุปส่งที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ)
- มาตรา ๗๘-๗๙ เพิ่มเรื่องรักษาจรรยา + ค่านิยม 5 ประการ - มาตรา ๘๐ ข้าราชการในต่างประเทศต้องรักษาวินัยเพิ่ม (กฎ ก.พ.) - มาตรา ๙๐ การดำเนินการทางวินัย อาจมอบให้ผู้บังคับบัญชาระดับต่ำปฏิบัติแทนได้ - มาตรา ๙๑ กำหนดให้มีการสืบสวนและเป็นกระบวนการทางวินัยด้วย
81
สรุปสิ่งที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ)
- มาตรา ๑๐๑ พักราชการได้ไม่เกิน ๑ ปี ต้องสั่งกลับ - มาตรา ๑๐๔ เพิ่มอำนาจผู้แทน ก.พ. ใน อ.ก.พ.กระทรวง ให้รายงาน ก.พ. ได้กรณีเห็นว่า ทำไม่ถูก (ผบ. + มติ อ.ก.พ.)
82
สรุปสิ่งที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ)
- มาตรา ๑๐๘ ต่ออายุราชการได้ถึง ๗๐ ปี (ชช. ทรงคุณวุฒิ) ฯลฯ - อุทธรณ์ ก.พ.ค. - ร้องทุกข์ เหตุเกิดจากปลัดฯ รมต. , นายกฯ หรือหัวหน้าส่วนขึ้นตรงฯ ร้อง ก.พ.ค. - เพิ่มมาตรา ๙๘ คุ้มครองพยาน
83
ประโยชน์ที่ได้รับจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่
๑ ประเทศ และประชาชน ส่งเสริมศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ตอบสนองความ ต้องการของประชาชน งานบริการประชาชน มีคุณภาพ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ๒ คุณภาพ งานราชการ ๓ ความคล่องตัวทางการบริหาร ส่วนราชการมีความคล่องตัวในการบริหาร “คน” ให้เหมาะสมกับ “ภารกิจ” ๔ คุณภาพและศักดิ์ศรีข้าราชการ ข้าราชการทำงานอย่าง มืออาชีพ ข้าราชการมีเกียรติ ศักดิ์ศรีในการดำรงตำแหน่ง
84
ถาม-ตอบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.