งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย Hazardous Packaging บท/หน้า (4/1) ( 25/08/2558)

2 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย ประเภทวัตถุอันตราย การชี้บ่งลักษณะอันตรายของเคมีภัณฑ์เบื้องต้น มีลักษณะเป็นแผ่นฉลากติดไว้กับภาชนะบรรจุ แบ่งออกเป็น 9 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด (Explosive) เป็นสารเคมีที่อาจก่อให้เกิดการ ระเบิดขึ้นได้แบ่งออกเป็น 6 ประเภทย่อยด้วยกัน บท/หน้า (4/2) ( 25/08/2558)

3 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย ประเภทวัตถุอันตราย ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด (Explosive) บท/หน้า (4/3) ( 25/08/2558)

4 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย ประเภทวัตถุอันตราย ประเภทที่ 2 ก๊าซ (GAS) บท/หน้า (4/4) ( 25/08/2558)

5 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย ประเภทวัตถุอันตราย ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ หรือ วัตถุที่ทำให้เกิดการลุกไหม้ ได้เอง วัตถุที่ถูกน้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟ บท/หน้า (4/5) ( 25/08/2558)

6 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย ประเภทวัตถุอันตราย ประเภทที่ 5 วัตถุออกซิไดซ์และออกแกนิคเปอร์ออกไซด์ บท/หน้า (4/6) ( 25/08/2558)

7 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย ประเภทวัตถุอันตราย ประเภทที่ 6 วัตถุมีพิษ และวัตถุติดเชื้อ ประเภทที่ 7 วัตถุกัมมันตรังสี ประเภทที่ 8 วัตถุกัดกร่อน ประเภทที่ 9 วัตถุอันตรายอื่นๆ บท/หน้า (4/7) ( 25/08/2558)

8 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย 1) ภาชนะบรรจุหรือบรรจุภัณฑ์ (packaging) หมายถึง ภาชนะปิด และองค์ประกอบอื่น ๆ หรือวัสดุที่จำเป็น เพื่อให้ภาชนะปิดทับ สามารถทำหน้าที่ปกปิดสิ่งที่บรรจุอย่างมิดชิดแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ตามความเป็นอันตรายของสาร กลุ่มการบรรจุที่ I - สารที่มีความเป็นอันตรายมาก กลุ่มการบรรจุที่ II - สารที่มีความเป็นอันตรายปานกลาง กลุ่มการบรรจุที่ III - สารที่มีความเป็นอันตรายน้อย บท/หน้า (4/8) ( 25/08/2558)

9 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย 2) IBCs (Intermediate Bulk Containers) หมายถึง บรรจุภัณฑ์ที่คงรูป หรือยืดยุ่นสามารถเคลื่อนย้ายได้ บท/หน้า (4/9) ( 25/08/2558)

10 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย 3) บรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่ (Large packaging) ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ประกอบด้วยบรรจุภัณฑ์ภายนอก ซึ่งบรรจุสิ่งของ หรือบรรจุภัณฑ์ภายใน และโดยที่ ได้ออกแบบสำหรับขนถ่ายด้วยเครื่องจักร- มีมวลสุทธิเกิน 400 กิโลกรัม หรือมีความจุเกิน 450 ลิตร แต่มีปริมาณไม่เกิน 3 ลูกบาศก์เมตร บท/หน้า (4/10) ( 25/08/2558)

11 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย 4) แท็งก์คอนเทนเนอร์ (Tank Container) บท/หน้า (4/11) ( 25/08/2558)

12 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การขนส่งวัตถุอันตราย ข้อมูลที่ต้องมีในเอกสารกำกับการขนส่ง 1) ชื่อที่ถูกต้องในการขนส่งตามที่ กำหนดไว้ในบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย 2) ประเภทหรือประเภทย่อย ของวัตถุอันตราย ถ้าเป็นวัตถุอันตรายประเภทที่ 1 ต้อง มีอักษรระบุกลุ่ม ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้ (Compatibility group) 3) หมายเลขสหประชาชาติ (UN number) และกลุ่มภาชนะบรรจุ(Packaging group) 4) ปริมาณรวมของวัตถุอันตราย 5) ถ้าเป็นของเสียอันตราย ยกเว้นกากสารกัมมันตรังสี ในการขนส่งต้องระบุคำว่า "ของเสีย" หรือ "WASTE" ไว้หน้าชื่อที่ถูกต้อง ใน เอกสารด้วย บท/หน้า (4/12) ( 25/08/2558)

13 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การขนส่งวัตถุอันตราย ข้อมูลที่ต้องมีในเอกสารกำกับการขนส่ง 6) ในการขนส่งของเหลวที่ต้องควบคุมอุณหภูมิเท่ากับหรือสูงกว่า 100o C หรือ ของแข็ง ที่มีอุณหภูมิเท่ากับ หรือมากกว่า 240 o C ต้องระบุคำว่า "ร้อน" หรือ "HOT" ไว้หน้าชื่อของสินค้าในเอกสารด้วย 7) การขนส่งวัตถุอันตราย ที่ต้องควบคุมอุณหภูมิขณะขนส่ง ต้องระบุอุณหภูมิควบคุม และอุณหภูมิฉุกเฉิน ไว้ในเอกสารด้วย 8) วัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยงในการระเบิดต้องระบุความเสี่ยงรอง คือประเภทที่ 1 ไว้ด้วย 9) สารติดเชื้อ ต้องระบุชื่อ ที่อยู่ของผู้รับปลายทาง ชื่อสกุลผู้รับผิดชอบ และหมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ บท/หน้า (4/13) ( 25/08/2558)

14 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การขนส่งวัตถุอันตราย ข้อมูลที่ต้องมีในเอกสารกำกับการขนส่ง 10) วัตถุอันตรายประเภทที่ 7 ปฏิบัติตามข้อกำหนดของ The Regulations for the Safe Transport of Radioactive Materials (IAEA) 11) สารติดเชื้อต้องแสดงหมายเลขเที่ยวบินหรือขบวนรถไฟที่ใช้ในการขนส่ง และ จะต้องระบุวันที่ และชื่อของสถานที่ที่รถไฟหรือสนามบิน ที่จะเดินทางไปถึงหรือ แวะจอดระหว่างทาง 12) สารที่เน่าเสียได้ ต้องระบุคำเตือนที่เหมาะสมไว้บนเอกสารกับการขนส่งด้วย เช่น "ต้องเก็บรักษาให้อยู่ ที่อุณหภูมิระหว่าง 2 ถึง 4 องศาเซลเซียส" "เก็บรักษาโดยการแช่แข็ง" หรือ "ไม่ต้องแช่แข็ง" บท/หน้า 4/14) ( 25/08/2558)

15 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การขนส่งวัตถุอันตราย ข้อมูลที่ต้องมีในเอกสารกำกับการขนส่ง 13) ภาชนะบรรจุและแทงค์เปล่าที่เคยบรรจุวัตถุอันตรายและยังไม่ได้ความสะอาด จะต้องระบุคำว่า "แทงค์เปล่ายังไม่ได้ทำความสะอาด" หรือ " มีวัตถุอันตราย หลงเหลืออยู่" หรือ "EMPTY UNCLEANED" หรือ "RESIDUE LAST CONTAINED" ไว้ก่อนหรือหลังชื่อที่ถูกต้องในการขนส่ง 14) เอกสารประกอบการขนส่ง จะต้องได้รับการรับรองจากผู้ขนส่ง ว่าได้ทำการบรรจุ ทำเครื่องหมาย ติดฉลาก และปฏิบัติตามเงื่อนไขสำหรับการขนส่งที่ได้กำหนดไว้ บท/หน้า (4/15) ( 25/08/2558)

16 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การขนส่งวัตถุอันตราย บท/หน้า (4/16) ( 25/08/2558)

17 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การขนส่งวัตถุอันตราย บท/หน้า (4/17) ( 25/08/2558)

18 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การบรรจุภัณฑ์สินค้าที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ โดยสินค้าที่ต้องดูแลเป็นพิเศษแบ่งเป็นหลายกลุ่มต่อไปนี้ 1) สินค้าแตกหักง่าย 2) สินค้าน้ำหนักมากและสินค้าขนาดใหญ่ 3) ศพมนุษย์ 4) สัตว์มีชีวิต 5) วัตถุที่มีลักษณะเป็นแม่เหล็ก 6) สินค้าของสดหรือที่เสียง่าย 7) สินค้ามีค่า 8) สินค้าที่เสี่ยงต่อการสูญหาย 9) สินค้าที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบ บท/หน้า (4/18) ( 25/08/2558)

19 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การบรรจุภัณฑ์สินค้าที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ ตัวอย่างฉลากติดไว้ในบรรจุภัณฑ์สินค้าที่ดูแลเป็นพิเศษ บท/หน้า (4/19) ( 25/08/2558)

20 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย การบรรจุภัณฑ์สินค้าที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ ตัวอย่างฉลากติดไว้ในบรรจุภัณฑ์สินค้าที่ดูแลเป็นพิเศษ บท/หน้า (3/20) ( 25/08/2558)

21 บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 4 บรรจุภัณฑ์วัตถุอันตราย จบการนำเสนอ ทำแบบฝึกหัดท้ายบทบ้างนะ บท/หน้า (4/21) ( 20/08/2558)


ดาวน์โหลด ppt การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google