ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHans Holmberg ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
สรุปผล ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดร้อยเอ็ด
สรุปผล ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดร้อยเอ็ด คณะ ๑ การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ 12 – กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
2
คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ
1. การตายมารดาไทย 2. พัฒนาการสมวัย 3. สูงดีสมส่วน 4. ฟันดีไม่ผุ 5. คลอดมีชีพ ในอายุ 15 – 19 ปี 6. Long Term Care 7. พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 8 . ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน EOC / SAT 9. เด็ก < 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ 10. การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 11. ผู้ป่วย DM / HT 12. GREEN & CLEAN Hospital
3
ประเด็น ที่ต้องพัฒนา
4
KPI 1 : MMR ≤ 20 /100,000 Lived Birth ผลลัพธ์ 59
Input Activities Small Success Partnership MCH B. FCT Investment ถุงตวงเลือด ยาที่ใช้กรณีฉุกเฉิน . ยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิค ไอโอดีน . สมุดสีชมพู Regulatory มาตรการเขต/จังหวัด ดูแลกลุ่มเสี่ยง - warning sign ในชุมชน - เกณฑ์เสี่ยง และการจัดการ มีแผนพัฒนามาตรฐานอนามัย MCH Advocacy สื่อสารระบบการจัดการความเสี่ยง ผ่าน MCH B ทุกระดับ จนถึงผู้ปฏิบัติ Building Capacity พัฒนาศักยภาพ จนท. - เรื่องการป้องกันแก้ไขมารดาตาย - เกณฑ์เสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ MCHB จังหวัด อำเภอ ควบคุมกำกับการดำเนินงาน จัดทำแผนปฏิบัติงานเพื่อป้องกันการตายมารดา ระบบ Fast Track . ระบบ One Labor Room One Province . การใช้ถุงตวงเลือด 100 % OFI ข้อเสนอแนะ การดูแลกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์นอกพื้นที่ ระบบการคีย์ และส่งออกข้อมูล พัฒนาระบบการสื่อสารของชุมชน/อสม. สื่อ ต้นแบบ Infografic อาการที่ต้องมาพบแพทย์
5
KPI 3 : เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน (51 %) (ผลงาน 50.76 %)
Input Activities Small Success Partnership คณะอนุกรรมการด้านพัฒนาการเด็กปฐมวัย MCH Bord PCC พชจ. และ พชอ. Investment สมุดสีชมพู (ศูนย์อนามัย) ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก (สสจ.) งบประมาณจาก ศอ7 สปสช7 งบส่วนราชการจังหวัดมหาสารคาม งบโครงการพระราชดำริ(ไอโอดีน) Regulatory ชุดสิทธิประโยชน์พื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย (ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก) Advocacy ขับเคลื่อนการดำเนินงานมุ่งสู่เด็กตักสิลา 4.0 (Smart Kids TAKSILA 4.0) Building Capacity พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายและประชาชนในการขับเคลื่อนงาน ไอโอดีน และเด็ก 0-5 สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานมุ่งสู่เด็กตักสิลา 4.0 (Smart Kids TAKSILA 4.0) Kick of วันที่ 6 มี.ค. 61 OFI ข้อเสนอแนะ ลดภาวะทุโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (เตี้ย อ้วน ผอม) ผสานความร่วมมือในการดูและสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างยั่งยืน ดำเนินงานตามทุนเดิมตามทางการดำเนินงานจังหวัดไอโอดีนยั่งยืน ร่วมกับการขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1000 Plus (สาวไทยแก้มแดง ถึง เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย)
6
ประเด็น ที่ต้องติดตาม
7
3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
มาตรการดำเนินการป้องกันเด็กจมน้ำ ตัวชี้วัดกำหนดเป้าหมายระดับจังหวัดในทุกไตรมาส 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 100% 25 % Goal Down สอบสวน Playpen Merit Maker
8
KPI 9 : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (ผลงานไตรมาส 1 = ต่อปชก.เด็ก< 15 ปีแสนคน (4 ราย) ) Input Activities Small Success Partnership เครือข่าย (ผู้ก่อการดี) โรงเรียน/อปท. Investment Share อุปกรณ์ วิทยากรพัฒนาทักษะและงบประมาณ Regulatory เทศบัญญัติ อปท. Advocacy สร้างกระแส/ความตระหนักรู้การดูแลบุตรหลาน เน้นป้องกัน เพิ่มรู้ ลดประมาทในกลุ่มผู้ปกครอง/ครู/เด็ก Building Capacity เกิดเครือข่ายอบรมฝึกทักษะ เอาชีวิตรอด / อบรม CPR ประชุมชี้แจงการดำเนินงานฯ รพ./สสอ./อปท. พื้นที่เสี่ยงและสมัครใจ สร้างทีมผู้ก่อการดีทุกอำเภอ 100% (13 ทีม ระดับทองแดง) ยกระดับทีมปี 60 5 อำเภอครอบคลุมทุกตำบล ขยายเพิ่ม อำเภอนาเชือก 100% เพิ่มมาตรการการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง ใช้คอกกั้นเด็ก (Playpen) คิดเป็นร้อยละ (เป้าหมาย ร้อยละ 25) OFI ข้อเสนอแนะ การสร้างทีมผู้ก่อการดีต้องอาศัยความร่วมมือของหลายภาคส่วน การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงที่มีค่อนข้างมากทุกอำเภอ ขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำผ่าน พชอ. ให้เครือข่ายชุมชนและผู้เกี่ยวข้องช่วยดูแลและแก้ไขปัญหาร่วมกัน เน้น สอบสวนทุกรายที่เสียชีวิต
9
P I R A B งบกองทุนสุขภาพตำบล /งบ อปท. Small Success
KPI 10 : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน (ผลงานไตรมาส 1 = 7.06 ต่อประชากรแสนคน (68ราย)) P ระดับอำเภอRTI ผ่าน พชอ. สนับสนุน ศปถ.อำเภอ ลงสู่ ศปถ. อปท. งบกองทุนสุขภาพตำบล /งบ อปท. การใช้มาตรการการออกกฎหมาย ข้อบังคับ ธรรมนูญชุมชน กิจกรรมให้ชุมชนดำเนินการอย่างมีส่วนร่วม/จุดบริการต่าง ๆ ด่านชุมชน/มาตรการองค์กร/ การสื่อสารความเสี่ยง มีเขตสุขภาพ/ ศปถ.จังหวัด/ ศปถ.อำเภอ/ศปถ.อปท. เป็นทีมสนับสนุน M&Eให้เกิดการดำเนินงาน Small Success I บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน มีแผนปฏิบัติการ SAT/EOC-RTI TEA Unit คุณภาพ ประชุมติดตาม D-RTI ทุก 3 เดือน ชี้เป้าอำเภอเสี่ยง ดำเนินงานตามมาตรการ DRI R A B OFI ข้อเสนอแนะ ฐานข้อมูลที่ใช้เป็นตัวชี้วัดเป้าหมายและข้อมูลดำเนินการ 3 ฐานที่นำมาวัดไม่เป็นปัจจุบัน (Real Time) ความเข้มแข็งของด่านชุมชน ความครอบคลุมของจำนวนด่านฯ และการบังคับใช้ พรบ.แอลกอฮอล์ในชุมชน ส่วนกลาง Update ข้อมูลเป็น Real Time เพื่อนำมาวางแผนป้องกัน ขับเคลื่อนผ่าน พชอ. ในทุกอำเภอเพื่อให้ทุกเครือข่ายมีส่วนร่วม เน้น การใช้มาตรการชุมชนการกําหนดธรรมนูญหมู่บ้าน/ชุมชน และการบังคับใช้ พรบ.แอลกอฮอล์ในชุมชนเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ เน้นส่งประเมิน D-RTI/ RTI Team เพื่อให้เกิดกระบวนการขับเคลื่อนในพื้นที่
10
NCD Board (สหสาขา) เขต จ. อ. DHS DHB พชอ. ตำบลจัดการสุขภาพ
KPI 11 : อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มที่สงสัยป่วย ได้รับการวัดความดันที่บ้าน (Home Blood Pressure Monitoring : HBPM) Input Activities Small Success NCD Board (สหสาขา) เขต จ. อ. DHS DHB พชอ. ตำบลจัดการสุขภาพ งบประมาณ 1. P4P ชุมชนรักษ์ไต 2. PPA ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค 3. จังหวัดปลอดบุหรี่สุรา (650,000 บาท สสส. ปี ) มี SM/ CM จ. อ. รพ. สต. >> NCD Clinic Plus 2. DHS DHB สู่ พชอ. ทำ MOU 3. บูรณาการชุมชนลดเสี่ยงลดโรคและชุมชนรักษ์ไต 4. พัฒนาบุคลากรเรื่องบริหารจัดการข้อมูลใน HDC 5. คัดกรอง DM HT และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย 6. การบังคับใช้ ตรวจเตือนกม. สุรา ยาสูบ >> โรงเรียนปลอดบุหรี่ มาตรการชุมชน ผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง 1.00 (เป้าไม่เกิน 2.40) เป้าหมายกลุ่มสงสัยป่วย HT 11,560 ราย ได้วัดความดันที่บ้าน 1,069 ราย ร้อยละ 9.25 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10) คัดกรอง DM HT ในปชช. 35 ปีขึ้นไป ได้ 65.94, ตามลำดับ โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ ภาระงาน Case manager ในรพ. มาก ระบบการวัดความดันที่บ้านกลุ่มสงสัยป่วย HT และการติดตามประเมิน การบริหารจัดการข้อมูล (การบันทึกข้อมูล คุณภาพข้อมูล) การขับเคลื่อน NCD Clinic Plus โดยภาคีในและนอกโรงพยาบาลเพื่อเพิ่มคุณภาพการบริการ (ปกติ เสี่ยง ป่วย) พัฒนาระบบการคัดกรองที่บ้าน และขอสนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องวัดความดันจากอปท. 3. ติดตามการใช้และตรวจสอบระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล (Data exchange) พร้อมทั้งปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.