งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรอง ASIST

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรอง ASIST"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Brief Advive : BA Brief Intervention : BI การบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรอง ASIST

2 การบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรอง ASIST
โดย นายอัครชัย อรุณเหลือง ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7 จังหวัดเชียงใหม่

3 Low risk Brief advice SCREENING Referral More intensive care
Moderate risk (hazardous/harmful use) High risk (dependence) Brief advice Referral More intensive care Reduction of substance use Reduction of substance related problems Brief intervention -FRAMES -Stage of change -Motivational interviewing Motivation to change substance using behaviour

4 ตารางคะแนนความเสี่ยง ASSIST ระดับความเสี่ยง และวิธีการดูแลรักษา

5 รูปแบบขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Stage of Change (Prochaska &DiClemente)
1. ขั้นเมินเฉยปัญหา (Pre-contemplation) 2. ขั้นลังเลใจ (Contemplation) 3. ขั้นตัดสินใจหรือเตรียมการ (Determination or preparation) 4. ขั้นลงมือแก้ไข (Action) 5. ขั้นกระทำต่อเนื่อง (Maintenance) 6. ขั้นกลับไปติดซ้ำ (Relapse)

6 ขั้นเมินเฉยปัญหา (Pre-contemplation)
ไม่คิดว่าตนเองมีปัญหาจากการใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติด

7 ขั้นลังเลใจ (Contemplation)
มักประสบกับ ผลกระทบในทาง ลบจากการใช้ แอลกอฮอล์หรือ สารเสพติดบ้าง แล้ว แต่ไม่ รุนแรงมาก

8 ขั้นตัดสินใจ (Determination or preparation)
มักประสบกับโทษ ภัยของแอลกอฮอล์ หรือสารเสพติดที่ รุนแรง หรือ ตระหนักถึงปัญหาที่ เกิดจากการใช้สาร เสพติด และ ต้องการเลิก แอลกอฮอล์และสาร เสพติด

9 ขั้นลงมือแก้ไข (Action)
กำลังลงมือ หยุดแอลกอฮอล์ และสารเสพติดแต่ ยังไม่สำเร็จ ระยะเวลามักอยู่ ในช่วง 6 เดือน แรก

10 ขั้นกระทำต่อเนื่อง (Maintenance)
ในขั้นนี้ผู้ป่วยมักเลิกแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดมาได้ประมาณ 6 เดือน อารมณ์ ความคิดค่อนข้างมั่นคงกระทำตามวิธีการที่ตนเองเลือกได้อย่างต่อเนื่อง มีความมั่นใจว่าตนเองเลิกแอลกอฮอล์และสารเสพติดได้

11 ขั้นกลับไปติดซ้ำ (Relapse)
กลับไปใช้แอลกอฮอล์ และสารเสพติดซ้ำ

12 THE STAGE OF CHANGE MODELTHE STAGE OF CHANGE MODEL

13 องค์ประกอบสำคัญของการบำบัดแบบสั้น “ FRAMES ”
Feedback การให้ข้อมูลสะท้อนกลับ สะท้อนข้อมูลความเสี่ยง หรืออันตรายที่เกิดขึ้นจาการใช้ยาเสพติด : คะแนนASiST, Responsility ความรับผิดชอบ เน้นว่าเป็นความรับผิดชอบของผู้ป่วยที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Advice การให้คำแนะนำ การให้คำแนะนำที่ชัดเจนถึงวิธีลดอันตรายที่จะเกิดขึ้น

14 องค์ประกอบสำคัญของการบำบัดแบบสั้น “ FRAMES ”
Menu การให้ข้อมูลทางเลือก เสนอทางเลือกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ ตั้งเป้าหมาย Empathy ความเข้าใจ เห็นใจ ฟังอย่างเข้าใจเห็นใจ ไม่เป็นผู้สั่งให้ทำหรือดุว่า Self-efficacy เสริมความมั่นใจให้ผู้ป่วยว่ามีศักยภาพที่จะเปลี่ยนได้

15 การสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจMotivational Interviewing (MI)
การให้คำปรึกษาโดยยึดผู้ป่วยเป็นหลัก ( Client- centered counseling ) มีทิศทาง เน้นเป้าหมาย (Goal-directed) เพิ่มแรงจูงใจ เพื่อการเปลี่ยนแปลง ลดความลังเล เพิ่มช่องว่างระหว่างสิ่งที่อยากมี อยากเป็นกับ สิ่งที่เป็นอยู่ เสริมศักยภาพในตน MI spirit = Autonomy, Collaborative, Evocative พัฒนาโดย Miller & Rollnick, 1991 ขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Stage of Change; Prochaska & Diclemente)

16 Client-centered & Goal-directed Counseling
มีเป้าหมายชัดเจน ; เลิกยาเสพติด ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ยอมรับในสิ่งที่เขาเป็น ความเห็นอกเห็นใจ

17 ทฤษฎีการรับรู้ตนเอง Self perception theory
“As I hear myself talk, I learn what I believe” ถ้าเราเชื่อว่าเป็นอย่างไร เราก็จะเป็น อย่างนั้น

18 The spirit of MI ลักษณะเด่น 3 Components
Evocative/ Elicit การกระตุ้นให้เกิดความคิดเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม Collaborative ร่วมมือกับผู้รับบริการในการสร้างความเข้าใจใน รายละเอียดและสิ่งที่เขาเป็น คิดหาวิธีจัดการแก้ไข Autonomy สนับสนุนและให้อิสระแก่ผู้รับบริการให้คิด และ ตัดสินใจด้วยตัวของเขาเอง

19 ทักษะที่ผู้ให้คำปรึกษาใช้ (OARS)
การถามคำถามปลายเปิด (Open-ended questioning) การชื่นชมยืนยันรับรอง (Affirmation) การฟังอย่างเข้าใจและสะท้อนความ (Reflective listening) การสรุปความ ( Summarization )

20 กลยุทธ์ในการปลุกเร้าSMS (Eliciting change talk or SMS)
1. ถามเพื่อกระตุ้นเร้า ( Evocative Questions ) ความตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลง (Intention to Change ) “อะไรที่ทำให้คุณอยากหยุด” “สมมติว่าคุณเลิกได้สำเร็จ ชีวิตมันจะเปลี่ยนไปอย่างไร” มองด้านบวกของการเปลี่ยนแปลง (Optimism forChange) “อะไรที่ทำให้คุณคิดว่าคุณจะทำมันได้สำเร็จ” “อะไรที่ทำให้คุณมีความเชื่อมั่น”

21 กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS
2. ตรวจสอบข้อดี-ข้อเสีย (Exploring Pros and Cons) ตรวจสอบเหตุผลทั้งสองด้านของการเปลี่ยนและไม่ เปลี่ยน 3. ถามรายละเอียด (Elaboration) ถามเพื่อให้ได้รายละเอียดมากๆ จะพบSMS มากขึ้น แล้วค่อยสรุป 4. จินตนาการ (Imagining) สมมติสิ่งที่เลวร้ายที่สุดเกิดขึ้น คุณจะเป็นอย่างไร สมมติสิ่งที่ดีเกิดขึ้น คุณจะเป็นอย่าง

22 กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS
5. มองไปข้างหน้า (Looking Forward) ถ้าเปลี่ยนแปลง…… อะไรจะดีขึ้น ถ้าไม่เปลี่ยนแปลง……. ชีวิตจะเปลี่ยนไปอย่างไร 6. มองย้อนกลับไป (Looking Back) เปรียบเทียบช่วงอดีตก่อนที่จะมีปัญหากับปัจจุบันที่มีปัญหา 7. ค้นหาเป้าหมายและคุณค่าชีวิต (Exploring Goals or Values) อะไรคือสิ่งที่สำคัญมากที่สุดในชีวิต

23 กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS
8. ไม้บรรทัดของความพร้อม (Readiness ruler) 9. ขัดเพื่อให้แย้ง ( Paradoxical Challenge ) ผู้บำบัดใช้เหตุผลของจิตใจด้านที่ไม่อยากเปลี่ยน เพื่อ กระตุ้นให้ผู้ป่วยโต้แย้งเข้าข้างจิตใจที่ไม่อยากเปลี่ยนแปลง “ดูแล้วคุณยังติดใจสุรายาเสพติดอยู่มาก คงจะเลิกยาก”

24 ข้อความจูงใจตนเอง Self-Motivational Statement (SMS)
การตระหนักในปัญหา (Problem Recognition) “ ผมเพิ่งจะรู้ว่าผมมีปัญหามากกว่าที่คิดไว้ ” ความกังวลกับปัญหา (Concern) “ ผมกังวลกับมันจริงๆ ” ความตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลง (Intention to Change) “ คงต้องหยุดแล้ว ผมต้องทำอะไรซักอย่าง ” มองทางบวกสำหรับการเปลี่ยนแปลง (Optimism for Change) “ ผมมั่นใจว่าผมทำได้ ”

25 Key words ของการเสริมสร้างแรงจูงใจ
Express Empathy – เข้าใจและเห็นอกเห็นใจ Develop Discrepancy – ความแตกต่างระหว่าง เป้าหมายกับปัจจุบัน Avoid Argumentation – อย่าโต้แย้งกับผู้ป่วย Roll with Resistance – แรงต้านเป็นเรื่องปกติ, ท่าทีสอดคล้องกับ stage, ยอมรับที่ผู้ป่วยอาจจะไม่ เห็นด้วย

26 จุดมุ่งหมายของการบำบัดแบบสั้น
เพื่อช่วยให้ผู้รับบริการเห็นว่าพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของตนเอง ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหา

27 วิธีการให้คำแนะนำแบบสั้น BRIEF ADVICE; BA

28 การให้คำแนะนำแบบสั้น
- สำหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่ำ (Low risk) /ผู้ใช้เป็นครั้งคราว(use) - 0-3 คะแนน ไม่กำหนด - จำนวน 1- 2 ครั้ง , 2 สัปดาห์ - สะท้อนข้อมูลกลับ และให้คำแนะนำ ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของการใช้สารเสพติด

29 วิธีการบำบัดแบบสั้น BRIEF INTERVENTION :BI

30 การบำบัดแบบสั้น ผู้ป่วยขั้นเมินเฉย/ลังเลใจ
- กลุ่มผู้เสพ (กลุ่มใช้ยาจนเกิดผลกระทบ )/เสี่ยงปานกลาง - 4 – 26 คะแนน - ผู้ป่วยขั้นเมินเฉย/ลังเลใจ เวลา นาที , 4 ครั้ง ใน 1 เดือน ใช้องค์ประกอบ 5/10 ขั้นตอน

31 ขั้นตอนของการบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรองASSIST
ขั้นที่ 1 Ask : อยากทราบผลการคัดกรอง ? ขั้นที่ 2 Feedback : ให้ข้อมูลผลการคัด กรอง และความเสี่ยง /อันตรายจากสาร เสพติดแต่ละชนิดที่ใช้อยู่ ขั้นที่ 3 Advice : ให้คำแนะนำวิธีการลด ความเสี่ยงจากการใช้สารเสพติด ขั้นที่ 4 Responsibility : ให้ผู้รับบริการ ตัดสินใจทางเลือกด้วยตัวเอง ขั้นที่ 5 Concerned : ถามถึงความกังวลที่ เขามีต่อผลการคัดกรอง “คุณรู้สึกกังวลกับคะแนน…(ชื่อสารเสพ ติด)…ของคุณเพียงไร”

32 ขั้นตอนของการบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรองASSIST
ขั้นที่ 6.Good things : ข้อดีของการเสพ “ อะไรคือข้อดีของการใช้สารเสพติดของ คุณ “ ขั้นที่ 7.Less Good things : ข้อไม่ค่อยดี ของการเสพ “ มีข้อไม่ค่อยดีอะไรบ้างในการใช้สารเสพ ติดของคุณ “ ขั้นที่ 8. Summarize and reflect : สรุป และสะท้อนคำพูดของผู้รับบริการโดยเน้นที่ “ข้อไม่ดี”

33 ขั้นตอนของการบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรองASSIST
ขั้นที่ 9. Concern : ถามผู้รับบริการว่า “ กังวลกับข้อไม่ค่อยดีมากน้อยเพียงไร “ Exp ; “คุณกังวลกับข้อไม่ค่อยดีจากการใช้สารเสพติด ของคุณอย่างไรบ้าง “ ขั้นที่ 10. Take-home materials : ให้เอกสาร คู่มือกลับบ้าน

34 เอกสาร Take Home บัตรรายงานผล ASSIST
แผ่นพับ ความรู้ ทั่วไปเกี่ยวกับยา เสพติด

35 เกร็ดสำคัญ การให้ข้อมูลที่ตรงกับผู้รับบริการเอง
เป็นวิธีการใช้ความเข้าใจ เห็นใจ และไม่ ตัดสินถูกผิด เคารพทางเลือกที่ผู้รับบริการตัดสินใจ เกี่ยวกับทางเลือกที่ตัดสินใจ แสดงให้ผู้รับบริการเห็นว่าได้รับการรับฟัง และให้ความสำคัญในสิ่งที่พูด ไม่โต้เถียง ใช้ภาษาที่แสดงการยอมรับ ใช้คำถามปลายเปิด

36

37


ดาวน์โหลด ppt การบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรอง ASIST

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google