งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
บทที่ 1 คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ และสัญญาณรูปพัลส์

2 ลักษณะของรูปคลื่น ชนิดของรูปคลื่น รูปคลื่นพัลส์ รูปคลื่นในทางปฏิบัติ ดิวตี้ ไซเคิล วิธีการสร้างรูปคลื่นสี่เหลี่ยม

3 1. บอกลักษณะรูปคลื่น ได้ถูกต้อง
2. บอกชนิดของรูปคลื่น ได้ถูกต้อง 3. คำนวณค่าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสัญญาณพัลส์ได้ถูกต้อง 4. บอกลักษณะของรูปคลื่นในทางปฏิบัติได้ถูกต้อง 5. คำนวณหาค่า ดิวตี้ ไซเคิล ได้ถูกต้อง 6. บอกวิธีการสร้างรูปคลื่นสี่เหลี่ยมได้ถูกต้อง

4 รูปคลื่น คือ ภาพที่อธิบายการเปลี่ยนแปลงของกระแสหรือแรงดันเมื่อเทียบกับเวลา มี 2 ลักษณะคือ
1. Periodic Waveform หมายถึง รูปคลื่นใด ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระแสหรือแรงดัน จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้ายและกลับมาที่จุดเดิม มีการปรากฏสม่ำเสมอ

5 หมายถึง รูปคลื่นใด ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระแสหรือแรงดัน
ที่ปรากฏไม่สม่ำเสมอไม่สามารถคาดเดาได้ว่ารูปคลื่นต่อไปจะมีลักษณะอย่างไร

6 รูปคลื่นใด ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระแสหรือแรงดันของรูปคลื่นใด ๆ ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว และเกิดขึ้นในระยะสั้น ๆ จะเรียกว่ารูปคลื่นชั่วขณะ (Transient Waveform)

7 1. คลื่นไซน์ (Sinusoidal Waveform) ได้แก่ รูปคลื่นไซน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของแอมพลิจูด (Amplitude) ของสัญญาณตามฟังก์ชัน Trigonometric Sine of Time

8 ค่าความถี่หาได้จาก ค่าเวลาได้จาก ระดับแรงดันหาได้จาก หรือ

9 1) คลื่นขั้นบันได ( Step Waveform)

10 รูปคลื่นลาดเอียงบวก รูปคลื่นลาดเอียงลบ

11 Positive Exponential Negative Exponential

12 (Triangular Waveform)

13 (Sawtooth Waveform)

14 (Rectangular Waveform)

15 ( Square Waveform)

16 ( Integrator Waveform)

17 ( Differentiator Waveform)

18 รูปคลื่นพัลส์ จะมีลักษณะคล้าย ๆ กับคลื่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปคลื่นพัลส์ในอุดมคติ (Ideal pulse Waveform) นั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับแรงดันอย่างรวดเร็ว จากระดับหนึ่งไปยังอีกระดับหนึ่งและเปลี่ยนกลับลงมาสู่ระดับปกติอย่างรวดเร็วเช่นกัน

19

20 = ค่าแรงดันสูงสุดของรูปคลื่นที่วัดจากระดับ 0 V ถึง 10 V
ขอบขาขึ้น (Leading Edge) หมายถึงช่วงที่แรงดันเปลี่ยนแปลงจาก 0 V เป็น 10 V ขอบขาลง (Trailing Edge) หมายถึงช่วงเวลาที่แรงดันเปลี่ยนแปลง จากระดับ 10 V เป็น 0 V = (Pulse time) ความกว้างของพัลส์ (pulse width) = (Pulse Separation) เป็นช่วงช่องว่างระหว่างพัลส์ (Pulse Repetition time) ช่วงเวลาที่เกิดพัลส์ซ้ำซึ่งมีค่าเท่ากับ

21 =(Pulse Repetition Rate) เป็นอัตราการเกิดพัลส์ซ้ำ ซึ่งมีค่าเท่ากับ
(เฮิรตซ์) = เป็นค่าแรงดันเฉลี่ยของพัลส์ซึ่งหาค่าได้จาก โวลต์ ซึ่ง วินาที โวลต์

22

23 เป็นอัตราส่วนระหว่างค่าเฉลี่ยกับค่าจุดสุดยอดของแรงดันโดยทั่วไปแล้วค่าดิวตี้ไซเคิลจะแสดงในรูปของเปอร์เซ็นต์ Duty cycle ดังนั้น %

24

25

26

27

28

29 การสร้างคลื่นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยวิธีการป้อนสัญญาณรูปไซน์ กับวงจรขยายสัญญาณที่ทำงานเกินขอบเขต

30


ดาวน์โหลด ppt คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google