งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อาจารย์สอง Satit UP

2 สมฤติ (Smriti) ศรุติ (Sruti / Shruti ) ที่มาของคัมภีร์
พระเวท เป็นคำ หมายถึงความรู้อันมิได้ขีดเขียนไว้ เป็นของทิพย์ ออกมาจากพระพรหม   ผู้ที่รับถ่ายทอดคำสอนแห่งพระเวท ได้แก่ พวกพราหมณ์ แหล่งที่มาของคัมภีร์พระเวทจึงมี 2 ชั้น/ทาง ศรุติ (Sruti / Shruti ) สมฤติ (Smriti)

3 เขียน เช่น พระเวททั้ง 4 เล่ม
ที่มาของคัมภีร์ ศรุติ ( Sruti / Shruti ) การได้ยินได้ฟัง ผู้ที่จะได้ยินเสียงทิพย์ คือ พราหมณ์ ฤษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ยิน/ฟัง เสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ “ heard ” เขียน เช่น พระเวททั้ง 4 เล่ม

4 อ้างว่าได้จดจำมาจากคำบอก ได้หรือถ่ายทอดต่อ ๆ เล่าต่อกันมา ทางความทรงจำ
ที่มาของคัมภีร์ สมฤติ ( Smriti ) “ remembered ” เป็นคัมภีร์ที่แต่งเพิ่มเติมภายหลัง เพื่ออธิบายความ หรือ ประกอบ พระเวท อ้างว่าได้จดจำมาจากคำบอก ได้หรือถ่ายทอดต่อ ๆ เล่าต่อกันมา ทางความทรงจำ เขียน เช่น คัมภีร์ธรรมศาสตร์ คัมภีร์ปุราณะ

5 “ คัมภีร์พระเวท " ( Vedas )

6 "คัมภีร์พระเวท" (Vedas) เดิมบันทึกด้วยภาษาสันสกฤต

7 “ คัมภีร์พระเวท " ( Vedas ) ไตรเวท หรือ ไตรเพท ( Triveda )
ประกอบด้วย ฤคเวค ( Rig Veda ) ไตรเวท หรือ ไตรเพท ( Triveda ) ยชุรเวท ( Yajur Veda ) สามเวท ( Sama Veda ) อาถรรพเวท ( Athar Veda )

8 คัมภีร์พระเวท (Vedas)
1. คัมภีร์ฤคเวท (Rigveda) (ฤค แปลว่า คำฉันท์ ) เชื่อว่าเป็นหนังสือที่เก่าแก่ที่สุดของอินเดีย กล่าวถึงบทสวดสรรเสริญพระเป็นเจ้า

9 คัมภีร์พระเวท (Vedas) 1. คัมภีร์ฤคเวท (Rigveda)

10 คัมภีร์พระเวท ( Vedas )
2. คัมภีร์ยชุรเวท ( Yajurveda ) เป็นคัมภีร์ใช้ในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของ พราหมณ์ ลักษณะและความสำคัญของพิธีกรรมบูชาไฟและพิธีกรรมต่าง ๆ

11 คัมภีร์พระเวท ( Vedas )
3. คัมภีร์สามเวท ( Samveda ) (สาม แปลว่า สวด) โคลงบทสวด สำหรับพราหมณ์ใช้สวดทำพิธีสังเวยบูชาเทพเจ้า และการบูชาด้วยน้ำโสม

12 คัมภีร์พระเวท ( Vedas )
4. คัมภีร์อาถรรพ์เวท (Atharvaveda) เขียนขึ้นมาในภายหลัง ประกอบด้วยบทสวดคาถาเกี่ยวกับไสยศาสตร์ เป็นพระเวทชนิดพิเศษไม่ได้ถูกจัดอยู่ในไตรเพทเพราะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการประกอบพิธีบูชายัญแต่อย่างใด

13 คัมภีร์พระเวท ( Vedas ) แต่ละพระเวทประกอบด้วยลักษณะ 4 หมวด/ส่วน คือ
แต่ละพระเวทประกอบด้วยลักษณะ 4 หมวด/ส่วน คือ 1. สังหิตา หรือ มันตระ มนต์สำหรับสวดสรรเสริญพระเจ้า 2. พราหมณะ คำอธิบายในการทำพิธีกรรม(ใช้เป็นคู่มือในการทำพิธีกรรม) 3. อารัณญกะ หลักคำสอนนึกตรึกตรอง (เป็นคู่มือสำหรับใช้ปฏิบัติธรรมในป่า/อยู่ในป่า) 4. อุปนิษัท หลักปรัชญาอันเป็นแก่นสารในเรื่องต่าง ๆ ของศาสนาฮินดู เป็นร้อยแก้ว ว่าด้วยเรื่อง ) ปรมาตมัน อาตมัน โลก และ มนุษย์

14 มหากาพย์ รามายณะ และ มหาภารตะ
มหากาพย์รามายณะ  ( Ramayana )  เป็นเรื่องราวของพระรามและนางสีดา  มหาภารตะ ( Mahabharata ) การทำสงครามกันระหว่างพี่น้องสองตระกูล คือตระกูลเการพและปาณฑพ ส่วนหนึ่งของเรื่องเป็นที่มาของปรัชญาและคัมภีร์ภควัตคีตา

15 มหากาพย์ รามายณะ และ มหาภารตะ

16 ยุคมหากาพย์ Mahakavya Period มหาภารตะ ( Mahabharata )
มหากาพย์มี 2 เล่ม คือ ยุคมหากาพย์ Mahakavya Period ยุคนี้เกิดหลังจากที่เผ่าอารยันได้ตั้งรกรากอย่างมั่นคงแล้วในชมพูทวีป แต่ก็ยังมีการรบพุ่งอยู่กับชนเผ่าพื้นเมือง เกิดขึ้นราวก่อนพุทธกาล 700 ถึง 250 ปี รามายณะ ( Ramayana ) มหาภารตะ ( Mahabharata )

17 รามายณะ (Ramayana) การเดินทางบุกป่าฝ่าดงของพระรามในการติดตามหานางสีดา แต่งโดย ฤๅษีวัลมีกิ ( Valmiki )

18 มหาภารตะ ( Mahabharata )
เนื้อเรื่องเป็นการพรรณาถึงการทำสงครามที่ขับเคี่ยวกันระหว่างพี่น้องสองตระกูลคือตระกูลเการพ(โกรพ) กับตระกูลปาณฑพ แต่งโดยฤๅษีเวทวยาส หรือ กฤษณะ ไทวปายน

19 มหาภารตะ ( Mahabharata )

20 มหาภารตะ ( Mahabharata )

21 มหาภารตะ ( Mahabharata ) มหาภารตะ ( Mahabharata )

22 มหาภารตะ ( Mahabharata )

23 มหาภารตะ

24 มหากาพย์ รามายณะ 14

25 มหากาพย์ รามายณะ (ไทยเรียกรามเกียรติ์)

26 คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์อุปนิษัท( Upanishads ) เป็นคำสอนที่ว่าด้วยหลัก ปรมาตมัน   อาตมัน การเวียนว่ายตายเกิด

27 คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์ปุราณะ ; Puranas กล่าวถึงเรื่องราว ตำนานต่างๆ ของพระเจ้า การบูชาเทพที่มีมา ตั้งแต่ยุคพระเวท

28 คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ Dharmasastra เนื้อหาว่าด้วยกฎหมายและระเบียบการปฏิบัติของชาวฮินดู แนวในการครองชีวิตของชาวฮินดู การแบ่งชั้นวรรณะ  หลักธรรม 10 ประการ

29 คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์ตันตระ Tantras คำสอนที่ลึกลับ เน้นหนักไปทางไสยศาสตร์หรือเวทมนต์คาถา  คำ สนทนาระหว่างพระศิวะกับนางทุรคา คัมภีร์นี้ก่อให้เกิดลัทธิ ศักติ คือ การบูชาเทพเจ้าฝ่ายหญิง

30 คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์อุปเวท ศึกษาเพื่อทำหน้าที่เป็นแพทย์  นักรบ นักแสดง  

31 คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์ภควัทคีตา Bhagavad Gita เป็นส่วนหนึ่งของมหากาพย์ภารตยุทธ การบของกษัตริย์ปานฑพกับเการพ คำสอนของภควัทคีตาประกอบด้วยปรัชญา ศาสนา และจริยศาสตร์ เป็นปรัชญาที่ประสานความรู้ กรรม และความภักดีเข้าด้วยกัน กล่าวถึงเรื่องการเข้าถึงโมกษะหรือการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง

32 คัมภีร์ของศาสนาพรามหณ์-ฮินดู
คัมภีร์เวทางค์ หรือ เวทางคศาสตร์ ; Vedanga เป็นคัมภีร์ที่มี 6 ความรู้(สูตร) ซึ่งผู้ศึกษาพระเวทจำเป็นต้องมีความรู้เป็น พื้นฐานการศึกษาวิชาออกเสียงและวิชาแต่งกาพย์กลอนโคลงฉันท์ นั้นจำเป็นสำหรับ การเรียกอ่านพระคัมภีร์  ศึกษาศาสตร์  สอนการอ่าน ศิลปศาสตร์  สอนว่าพระเวทหรือคำแต่ละคำของพระเวทและมนตร์               ไวยากรณ์ศาสตร์  สอนว่าคำแต่ละคำของพระเวท                 นิรุกติศาสตร์  สอนเรื่องคำพูดหรือภาษาความเข้าใจในภาษา (ว่าด้วยรากศัพท์) ฉันทศาสตร์  หรือกาพย์ศาสตร์ (ว่าด้วยการประพันธ์บทร้อยกรอง) โชยติษศาสตร์ (ว่าด้วยตำราดาราศาสตร์และโหราศาสตร์)

33 คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์อารัณยกะ อารัณยกะ แปลว่า บทเรียนผู้อยู่ในป่า เป็นบทคำสอนการดำเนินชีวิตของพราหมณ์ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งออกจากป่าบำเพ็ญเพื่อบรรลุโมษะ การปฏิบัติตามบทเรียนนั้นๆ เรียกว่า การเข้าสู่อาศรม

34 คัมภีร์เวทางค์ คัมภีร์อารัณยกะ คัมภีร์ภควัทคีตา คัมภีร์อุปนิษัท
คัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ฤคเวค ( Rig Veda ) ศักดิ์สิทธิ์สำคัญที่สุด และเก่าแก่ที่สุดด้วย ยชุรเวท ( Yajur Veda ) คัมภีร์พระเวท ไตรเวท หรือ ไตรเพท สามเวท ( Sama Veda ) อาถรรพเวท ( Athar Veda ) คัมภีร์เวทางค์ คัมภีร์เหล่านี้มีเนื้อหาอยู่ในพระเวทและนำมาจัดหมวดหมู่เนื้อหา หรือเขียนเพิ่มเติมพระเวทในภายหลังซึ่งเป็นคัมภีร์ที่เกิดมาภายหลังคัมภีร์พระเวท คัมภีร์อารัณยกะ คัมภีร์ภควัทคีตา คัมภีร์อุปนิษัท คัมภีร์ปุราณะ พระธรรมศาสตร์ คัมภีร์ตันตระ


ดาวน์โหลด ppt คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google