ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
Antiderivative (Indefinite Integral) Differential Equation And Modeling
2
ฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ(Antiderivative)
นิยาม ฟังก์ชัน F(x) เป็น ฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ ของ f(x) ถ้าหาก F’(x) = f(x) สำหรับทุก x ในโดเมนของ f เซ็ตของทุกๆ ฟังก์ชันอนุพันธ์กลับของ f เรียกว่า ปริพันธ์แบบไม่จำกัด(indefinite integral) ของ f เทียบกับ x แสดงด้วย Integral sign integrand Variable of integration
3
ตารางฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ
ตัวอย่างที่ 1 constant จงหาค่า วิธีทำ antiderivative ตารางฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ
4
ตัวอย่างที่ 2 เลือกฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ จากตาราง
5
ตัวอย่างที่ 3 ตรวจสอบผลปริพันธ์
? ปัญหาค่าเริ่มต้น (Initial Value Problems) คือปัญหาที่กำหนดอนุพันธ์ y’(x) และกำหนดค่าเริ่มต้น yo เมื่อ x = xo มาให้
6
ตัวอย่างที่ 4 จงหาเส้นโค้งที่มีความชันของเส้นสัมผัสที่จุด (x,y) เป็น 3x2 และผ่านจุด (1,-1) สมการอนุพันธ์ ค่าเริ่มต้น General solution Particular solution
7
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Modeling)
กำหนดตัวแปร หาสมการอนุพันธ์ กำหนดค่าเงื่อนไขเริ่มต้น หาผลเฉลย ตรวจสอบผลเฉลย
8
ชิ้นหนึ่งถูกโยนของลงมา อยากทราบว่าวัตถุจะตกถึงพื้นในเวลาใด
ตัวอย่างที่ 5 บอลลูนกำลังลอยขึ้นด้วยอัตรา12 ฟุต/วินาที ที่ความสูง 80 ฟุตเหนือพื้นวัตถุ ชิ้นหนึ่งถูกโยนของลงมา อยากทราบว่าวัตถุจะตกถึงพื้นในเวลาใด วิธีทำ กำหนดให้ v(t) = ความเร็ว t = เวลา s(t)= ระยะความสูงจากพื้น 12 ฟุต/วินาที ความเร่งเนื่อง จากแรงดึงดูดของโลก g สมการอนุพันธ์
9
เงื่อนไขเริ่มต้น: v(0) = 12
แก้สมการ หาค่า C จากเงื่อนไขเริ่มต้น
10
แก้สมการ แทนค่าเงื่อนไขเริ่มต้น หาเวลาที่ระยะทาง = 0
11
กฎการหาปริพันธ์
12
ตัวอย่างที่ 1 วิธีทำ ตัวอย่างที่ 2 ปริพันธ์แยกเทอม
13
ตัวอย่างที่ 3 ปริพันธ์อง sin2x และ cos2x
14
ตัวอย่างที่ 4 ใช้ กฎยกกำลัง
15
ตัวอย่างที่ 5
16
ตัวอย่างที่ 6 เปลี่ยนตัวแปร
17
ตัวอย่างที่ 7
18
ตัวอย่างที่ 8 ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
19
การประมาณพื้นที่ใต้กราฟโดยผลรวมจำกัด
อัตราการสูบฉีดเลือดของหัวใจหาได้โดยการฉีดสีย้อม (กำมันตรังสีที่ไม่เป็น อันตราย) เข้าไปห้องขวาของหัวใจ เลือดจะไหลผ่านปอด แล้วกลับมาที่หัวใจห้อง ซ้ายก่อนจะไหลออกเส้นเลือดใหญ่ ซึ่งจะเป็นจุดที่วัดความเข้มข้นของสีย้อม
20
การประมาณปริมาตรของทรงกลม
21
การประมาณค่าเฉลี่ยของฟังก์ชันโดยพื้นที่ใต้กราฟ
22
ผลรวมรีมาน ตัวอย่างที่ 1 สัญลักษณ ์
23
นิยามของ ปริพันธ์แบบจำกัด ด้วยลิมิตของ Riemann Sums
ให้ f เป็นฟังก์ชันที่นิยามในช่วง [a,b] ถ้าหากแบ่งออกเป็นช่วงย่อยๆด้วยตัว แบ่ง P และ ck อยู่ระหว่างแต่ละช่วงย่อย [xk-1,xk] ถ้าหากมีจำนวนจริง I ที่ทำ ให้ ไม่ว่าจะเลือกแบ่ง P และเลือก ck อย่างไรก็ได้ ดังนั้น f สามารถอินทิเกรตได้ในช่วง [a,b] และ I เป็นค่า ปริพันธ์แบบจำกัด ของ f
24
ทฤษฎีบทที่ 1 ฟังก์ชันที่ต่อเนื่อง สามารถหาปริพันธ์ได้
Differentiation Integration Upper limit lower limit
25
ตัวอย่างที่ 2 การใช้เครื่องหมาย
จงแสดง ลิมิตในรูปของ ปริพันธ์ ในช่วงของ x = [-1,3] และ mk เป็นกึ่งกลาง ของช่วงที่ k นิยาม พื้นที่ใต้กราฟ ถ้า y=f(x) ไม่มีค่าเป็นลบ และหาปริพันธ์ได้ในช่วง [a,b] จะได้ว่าพื้นที่ใต้ กราฟเป็น
26
ตัวอย่างที่ 3 พื้นที่ใต้กราฟ f (x)= x
จงหา วิธีทำ พื้นที่ใต้กราฟของฟังก์ชัน y = x คือพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมูในรูป พื้นที่ ดังนั้น
27
นิยาม ค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน
ค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน f ในช่วง [a,b] คือ
28
ตัวอย่างที่ 4 หาค่าเฉลี่ย
หาค่าเฉลี่ยฟังก์ชัน ในช่วง [-2,2] สมการคือครึ่งวงกลมมีพื้นที่ ดังนั้น หาค่าเฉลี่ยฟังก์ชัน
29
กฎการหาปริพันธ์แบบจำกัด
30
ตัวอย่างที่ 5
31
ทฤษฎีค่าเฉลี่ยและทฤษฎีพื้นฐาน
ทฤษฎีค่าเฉลี่ยสำหรับการอินทีเกรตแบบมีขอบเขต (Mean Value Theorem for Definite Integrals) ถ้าหาก f ต่อเนื่องในช่วง [a,b] ดังนั้นจะต้องมีจุด c อย่างน้อย หนึ่งจุดที่
32
ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน f(x)= 4 – x ในช่วง [0,3] และหาว่าจุดไหนของฟังก์ชัน ที่มีค่าเท่ากับค่าเฉลี่ย วิธีทำ
33
ทฤษฎีพื้นฐาน (fundamental theorem) ตอนที่ 1
ถ้า f ต่อเนื่องในช่วง [a,b] แล้ว ฟังก์ชัน จะหาอนุพันธ์ได้ตลอดช่วง [a.b] และ
34
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า และ วิธีทำ
35
ตัวอย่างที่ 3 จงหา dy/dx เมื่อ วิธีทำ ให้ และจาก
36
ตัวอย่างที่ 4 จงหา ก) ข) ก) ข)
37
การหาปริพันธ์เชิงตัวเลขโดยวิธี trapezoidal
ประมาณค่าอินทีเกรต ด้วย เมื่อ yi เป็นค่าของฟังก์ชันที่จุดแบ่ง โดยที่
38
ตัวอย่างที่ 5 ค่าที่ถูกต้องคือ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.