งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)
ผศ.ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร ผู้อำนวยการหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

2 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ หรืออินโดจีน ประกอบด้วย 11 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมุทร ประกอบด้วย บรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์

3

4 ข้อมูลเบื้องต้น

5

6 เอเชียอาคเนย์กับอาณานิคม

7 การปฏิวัติอุตสาหกรรม
ศ.17 ( ) การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) เปลี่ยนจาก manpower engine การปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

8 การปฏิวัติอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง เศรษฐกิจ เสรีนิยม ทุนนิยม Plural society Equality before the law Liberty Rule of law Political participation Peaceful solution to conflicts Election Majority rule, minority rights Democracy

9 การเข้าสู่อำนาจปกครองอาณานิคมของตะวันตก
ใช้กำลังทหารเป็นเครื่องมือ ยึดโดยสันติวิธี Ex. การให้ความช่วยเหลือ การตกลงระหว่างชาติมหาอำนาจ

10 รูปแบบการปกครอง ปกครองโดยตรง Ex. อังกฤษปกครองพม่า 2. การปกครองโดยอ้อม
3. การปกครองร่วมกับชนพื้นเมือง Ex. สหรัฐฯ ปกครองฟิลิปปินส์เปิดช่องให้คนฟิลิปปินส์ร่วมปกครองเพราะสหรัฐฯไม่มีความรู้เกี่ยวกับฟิลิปปินส์เพราะมีคนดูแลน้อย

11 การต่อต้านเจ้าอาณานิคม
สาเหตุ เจ้าอาณานิคมเอาเปรียบทางเศรษฐกิจ เจ้าอาณานิคมกดขี่/ข่มเหง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ทุนนิยมทำให้คนต้องการเสรีภาพ เกิด ขบวนการชาตินิยมในช่วง ศ. 19 ในหลายประเทศ

12 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ตลอดเวลาที่หลายประเทศตกเป็นของต่างชาติ ไทยเป็นเอกราชตลอดแต่เสียดินแดนบางส่วน หลายประเทศเกิดขบวนการชาตินิยม อิทธิพลของ USSR เริ่มขยายแข่งกับ USA

13 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
อินเดียเป็นเอกราชจากอังกฤษ 1947 เจ้าอาณานิคม 1)ย่ำแย่ ต้องการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจ สังคม 2)การเมืองมีการปรับเปลี่ยนขั้วอำนาจโลก Eng + French ลดบทบาท USA + USSR ขึ้นมาแทน

14 การประกาศเอกราช SEA ประเทศ เจ้าอาณานิคม วันที่ประกาศอิสระภาพ
ผู้นำการต่อสู้ ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา 4 ก.ค.1946 มาร์กอก พม่า อังกฤษ 4 ม.ค.1948 อูอองซาน อินโอนิเชีย Netherlands 27 ธ.ค.1949 ซูการ์โน เวียดนาม ฝรั่งเศส 21 ก.ค.1954 Geneva Treaty โฮจิมินห์ ลาว เจ้าสุภานุวงค์ นายฎมี วงศ์วิจิตร กัมพูชา กษัตริย์สีหนุ มาเลเซีย 31 ส.ค.1957 สิงคโปร์ ลีกวนยู บรูไน 1 ม.ค.1984 สุลต่าน ติมอร์ตะวันออก โปรตุเกสและอินโดนิเซีย 20 พ.ค.2002 กัสเมา

15 ปัญหาของชาติเอกราชในเอเชียอาคเนย์
1.ปัญหาความด้วยพัฒนาและความยากจน 2.ปัญหาความเป็นชาติ 3.ปัญหาการบริหารราชการ: ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) VS ระบบคุณธรรม (Merit System) 4.ปัญหาประชาธิปไตยในเอเชียอาคเนย์ ( ) สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนิเชีย ติมอร์เลสเต กัมพูชา เวียดนามและลาว Socialist บรูไน King Democracy ไทย พม่า Authoritarian

16 ประชาธิปไตยที่แตกต่าง
ความแตกต่างระหว่างประชาธิปไตยตะวันตกกับวัฒนธรรม SEA ประชาธิปไตยตะวันตก วัฒนธรรม SEA ความเสมอภาคระหว่างบุคคลตามกฎหมาย อำนาจการปกครองเป็นของประชาชนโดยประชาชนเพื่อประชาชน ยืดถือในหลักแห่งกฎหมาย กระบวนการทางการเมืองแบบประชาธิปไตยให้คนมีส่วนร่วม (เลือกตั้ง เฟ้นหาตัวแทนประชาชน) การแบ่งเป็นชนชั้นปกครองกับผู้ใต้ปกครอง อำนาจการปกครองเป็นของคนชั้นสูง ยึดระบบอุปถัมภ์ เน้นแต่กระบวนการทางการเมืองแบบประชาธิปไตยแต่กีดกันคน (เลือกตั้ง แล้วประชาชนหมดสิทธิทางการเมืองในการเรียกร้อง)

17 Questions? Comments? จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google