งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
HSC2431การส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก The Promotion of Children Development and Health (59)170860T1.60(2404) วิทยาศาสตร์สุขภาพ ว.สหเวชศาสตร์ มร.สวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดสมุทรสงคราม Aj.Natsinee.sa SSRU4(59)เด็ก

2 ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
แนะนำรายวิชาการส่งเสริมพัฒนาการ ไตรภูมิพระร่วง มนุสสภูมิ ตอน กำเนิดมนุษย์ (ไตรภูมิพระร่วง มนุสสภูมิ ตอนกำเนิดมนุษย์ ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ (ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ กำเนิดกุมาร (การกำเนิด กุมาร ) อาบน้ำเด็กทารกแรกเกิด (สาธิตการอาบน้ำเด็กทารกแรกเกิด.mp Aj.Natsinee.sa SSRU4(59)เด็ก

3 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ
พัฒนาการของมนุษย์ . .

4

5 1. ทฤษฎี Psychosexual developmental stage ของฟรอยด์

6 ซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็น นักจิตวิทยาชาวยิว เป็นผู้ที่สร้างทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ทฤษฎีทางด้านการพัฒนา Psychosexual เชื่อว่า เพศหรือกามารมณ์ (sex) เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการ พัฒนาของมนุษย์ แนวคิด เกิดจากการสนใจ ศึกษาและสังเกตผู้ป่วยโรคประสาทด้วยการให้ ผู้ป่วยนอนบนเก้าอี้นอนในอิริยาบทที่สบาย ที่สุด ให้ผู้ป่วยเล่าเรื่องราวของตนเองไป เรื่อย ๆ ผู้รักษาจะนั่งอยู่ด้านศีรษะของ ผู้ป่วย คอยกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้พูดเล่าต่อไป เรื่อยๆ เท่าที่จำได้และคอยบันทึกสิ่งที่ผู้ป่วย เล่าอย่างละเอียด โดยไม่มีการขัดจังหวะ แสดงความคิดเห็นหรือตำหนิผู้ป่วย

7 ฟรอยด์เชื่อว่ามนุษย์มีสัญชาตญาณติดตัวมาแต่ กำเนิด พฤติกรรมของบุคคลเป็นผลมาจาก แรงจูงใจหรือแรงขับพื้นฐานที่กระตุ้นให้บุคคลมี พฤติกรรม คือ สัญชาตญาณทางเพศ(sexual instinct) 2 ลักษณะคือ 1. สัญชาตญาณเพื่อการดำรงชีวิต (eros = life instinct) 2. สัญชาตญาณเพื่อความตาย (thanatos = death instinct)

8 ฟรอยด์จึงแบ่งขั้นตอน พัฒนาการบุคลิกภาพของมนุษย์ออกเป็น 5 ขั้น ดังนี้
1. ขั้นปาก (oral stage) 2. ขั้นทวารหนัก (anal stage) 3. ขั้นอวัยวะเพศ (phallic or oedipal stage) 4. ขั้นแฝงหรือขั้นพัก (latency stage) 5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (genital stage)

9 โครงสร้างบุคลิกภาพ (The personality structure)
1. ตนเบื้องต้น (id) 2. ตนปัจจุบัน (ego) 3. ตนในคุณธรรม (superego)

10 2.ทฤษฎี Psychosocial developmental stage ของอิริคสัน

11 อธิบายถึงลักษณะของการศึกษาไป ข้างหน้า โดยเน้นถึงสังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนา บุคลิกภาพของคน ซึ่งในแต่ละขั้นของ พัฒนาการนั้นจะมีวิกฤติการณ์ทาง สังคม (social crisis) เกิดขึ้น การที่ไม่สามารถเอาชนะหรือผ่าน วิกฤติการณ์ทางสังคมในขั้นหนึ่งๆ จะ เป็นปัญหาในการเอาชนะวิกฤติการณ์ ทางสังคมในขั้นต่อมา ทำให้เกิดความ บกพร่องทางสังคม (social inadequacy) และเป็นปัญหาทางจิตใจ ตามมาภายหลัง

12 ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพตาม แนวคิดของ Erikson แบ่งพัฒนาการด้านจิตสังคมของบุคคลเป็น 8 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 ระยะทารก (Infancy period) อายุ 0-2 ปี : ขั้นไว้วางใจและไม่ ไว้วางใจผู้อื่น (Trust vs Mistrust) ขั้นที่ 2 วัยเริ่มต้น (Toddler period) อายุ 2-3 ปี : ขั้นที่มีความเป็นอิสระกับ ความละอายและสงสัย (Autonomy vs Shame and doubt) ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน (Preschool period) อายุ 3-6 ปี : ขั้นมีความคิดริเริ่มกับความรู้สึก ผิด(Initiative vs Guilt)

13 ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน (School period) อายุ 6-12 ปี : ขั้นเอาการเอางานกับความมีปมด้อย (Industry vs Inferiority) ขั้นที่ 5 ระยะวัยรุ่น (Adolescent period) อายุ ปี : ขั้นการเข้าใจอัตลักษณะของตนเอง กับไม่เข้าใจตนเอง (Identity vs role confusion) ขั้นที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ (Early adult period) อายุ ปี : ขั้นความใกล้ชิดสนิทสนมกับความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว (Intimacy vs Isolation) ขั้นที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ ปี : ขั้นการอนุเคราะห์เกื้อกูลกับการพะ ว้าพะวงแต่ตัวเอง (Generativity vs Self-Absorption) ขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ (Aging period) อายุ ประมาณ 60 ปีขึ้นไป : ขั้นความมั่นคงทางจิตใจกับความ สิ้นหวัง (Integrity vs Despair)

14

15

16 ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์

17

18 เพียเจท์เชื่อว่า โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ทุกคนมีความพร้อม ที่จะมีปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อมตั้งแต่เกิด เพราะมนุษย์ทุกคน หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมซึ่งต้องมีการปรับตัวอยู่ ตลอดเวลา ผลจากกระบวนการดังกล่าวจะ ทำให้มนุษย์เกิดพัฒนาการของเชาวน์ ปัญญา

19

20 ธรรมชาติของมนุษย์มีพื้นฐานติดตัวตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด คือ
ธรรมชาติของมนุษย์มีพื้นฐานติดตัวตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด คือ 1. การจัดและรวบรวม (organization) 2. การปรับตัว (adaptation) 2.1  การซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ (assimilation) 2.2  การปรับโครงสร้างทางเชาวน์ปัญญา (accommodation) องค์ประกอบสำคัญที่เสริมพัฒนาการทางสติปัญญา 4 องค์ประกอบคือ 1.วุฒิภาวะ (maturation) 2.ประสบการณ์ (experience) 3.การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม (social transmission) 4.กระบวนการพัฒนาสมดุลย์ (equilibration)

21 Piaget- devepment

22 ขั้นพัฒนาการเชาว์ปัญญา
1.ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (sensorimotor period) อายุ 0- 2 ปี 2.ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ (pre-operational period) อายุ 2-7 ปี ขั้นกำหนดความคิดไว้ล่วงหน้า (preconceptual thought) อายุ 2-4 ปี ขั้นคิดเอาเอง (intuitive thought) อายุ 4-7 ปี 3.ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม (concrete operational period ) อายุ ปี 4.ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม (formal operational period) อายุ ปี

23 Piaget’s Model

24 ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก
ระดับก่อนกฎเกณฑ์ (Preconventional Level) ระดับตามกฎเกณฑ์ (Conventional Level) ระดับเหนือกฎเกณฑ์ (Postconventional Level)

25 ขั้นการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม
เหตุผลเชิงจริยธรรม 6 ขั้น แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ตามทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก ระดับจริยธรรม ขั้นการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ระดับก่อนมีจริยธรรมอย่างแน่นอนของตน (Pre conventional Level) ระดับมีจริยธรรมตามกฎเกณฑ์ (Conventional Level) ระดับมีจริยธรรมอย่างมีวิจารณญาณ (Post Conventional Level) 1.ระดับจริยธรรมของผู้อื่น (Heteronomous Morality) (2-7 ปี) 2. ผลประโยชน์ของตนเป็นส่วนใหญ่ (Individualism and Instrumental Purpose and Exchange) (7-10 ปี) 3. การยอมรับของกลุ่ม (Mutual Interpersonal Expectations Relationships and Interpersonal Conformity) (10-13 ปี) 4. ระเบียบของสังคม(Social System and Conscience) (13-16 ปี) 5. สัญญาสังคม(Social Contract) (16 ปีขึ้นไป) 6. คุณธรรมสากล(Universal Ethical Principle) (ผู้ใหญ่)

26

27

28

29

30

31 ทฤษฎีวุฒิภาวะของกีเซลล์ (Gesell’s Maturational theory)
มโนทัศน์พื้นฐานของทฤษฎี

32 วุฒิภาวะจะมีผลทำให้พัฒนาการของมนุษย์ดำเนินต่อไปตามหลักการดังนี้
การเปลี่ยนแปลงทางด้านการเจริญเติบโต การเรียนรู้ และ พัฒนาการในแต่ละช่วงวัยขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ วุฒิภาวะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการทำงานของ ระบบประสาท และกล้ามเนื้อ(Neuromuscular) โดยมี ตัวกำหนดที่สำคัญคือ ยีนส์หรือพันธุกรรม พัฒนาการจะเกิดอย่างมีแบบแผน(Pattern) และขั้นตอน (Sequences) ทิศทาง(Direction) อัตรา(Rate) พัฒนาการทุกด้านมีการเตรียมพร้อมและจัดระบบระเบียบไว้เพื่อ สนับสนุนซึ่งกันและกัน(Reciprocal interweaving) พัฒนาการจะเริ่มจากส่วนใหญ่และไม่เฉพาะเจาะจงไปสู่ส่วนที่ เล็กและเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น ความสามารถในการรักษาดุลยภาพ(Selfregulation) พัฒนาการผิดปกตินั้นจะพบว่าเด็กมีลักษณะความสามารถใน การกระทำพฤติกรรมตามวัยไม่ได้เหมือนเด็กทั่วไป มีการ หยุดชะงักของพัฒนาการ และขั้นตอนของพัฒนาการผิดปกติ

33 การแบ่งพัฒนาการ Motor Behavior Adaptive Behavior Language Behavior
Personal-Social Behavior

34 Tonic–neck-reflex

35 Sucking Reflex

36 Swallow Reflex

37 Swallow Reflex

38 Rooting Reflex

39 Grasping Reflex

40 Stepping Reflex

41 Stepping Reflex

42 ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของซัลลิแวน (The Sullivan’s Interpersonal Theory)

43 ;

44

45

46 มโนทัศน์พื้นฐานของทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล

47

48

49 ตา ตรรกะ สังคม หู พูด สันโดษ กาย

50 การแบ่งขั้นพัฒนาการ 1.Infan cy

51 2. Childho od

52 3. Juvenile era

53 4. Pre- adolescence 5. Early adolescence

54 7. Adulthood 6. Late - adolescence

55 Egocentric

56 ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
Q& A Q&A Thank YOU : Aj.Natsinee.sa SSRU4(59)เด็ก


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google