งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ทีมนำด้านระบบยา

2 การนำองค์กร

3 การนำองค์กร

4 กำหนดนโยบายการบริหารจัดการด้านยา 4 ประการ
ทีมนำด้านระบบยา กำหนดนโยบายการบริหารจัดการด้านยา 4 ประการ - จัดทำบัญชียาที่เหมาะสม การจัดหา การสำรองยา การเก็บรักษายาและกำหนดเกณฑ์การใช้ยาที่ชัดเจน - พัฒนาการให้บริการด้านยาและการดูแลการใช้ยา - ส่งเสริมให้มีระบบจัดการความเหมาะสมในการใช้ยา - ส่งเสริมให้มีระบบจัดการความปลอดภัยด้านยา

5 ทีมนำด้านระบบยา ภาพรวมระบบยา การคัดเลือกและจัดหายา การสั่งใช้ยา
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด ทำหน้าที่กำหนดบัญชียาและส่งเสริมให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปัจจุบันปี 2561 ได้ปรับเปลี่ยนให้มีเพียงคณะกรรมการระบบยา เพียง 1ชุดทำหน้าที่พัฒนาระบบยา การคัดเลือกและจัดหายา การสั่งใช้ยา คณะกรรมการพัฒนาระบบยา ทำหน้าที่วางระบบยาให้เกิดความปลอดภัย ป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา การเตรียมยาและการจ่ายยา การบริหารยา การติดตามการใช้ยา

6 ทีมนำด้านระบบยา แนวคิดการทำงาน : งานได้ผล คนมีสุข

7 ความสำเร็จของการพัฒนาระบบยา
ทีมนำด้านระบบยา ความสำเร็จของการพัฒนาระบบยา Policy maker Policy monitoring Learning

8 ทีมนำด้านระบบยา การพัฒนาในรอบปีที่ผ่านมา

9 การคัดเลือกยา และการจัดหา
ความสำเร็จของการพัฒนาระบบยา เพื่อให้ได้ยาที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน Purpose อัตรายาได้คุณภาพตามเกณฑ์ 100 % - คัดเลือกยาตามเกณฑ์ - นโยบาย LASA - ตรวจรับยาและตรวจสอบใบวิเคราะห์ยา Process อัตรายามีคุณภาพตามเกณฑ์ 100% อัตราส่วน ED: NED 85 : 15 (โอกาสพัฒนา จัดซื้อจัดหายาร่วมในระดับจังหวัด/เขต) Performance

10 ทีมนำด้านระบบยา ผลลัพธ์การดำเนินการ ตัวชี้วัด ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560
เป้าหมาย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 มิ.ย.ปี 2561 1.อัตราการเกิด Pre-dispensing error ผู้ป่วยนอกต่อ 1,000 ใบสั่งยามียา <5 6.75 7.42 6.2 5.69 2.อัตราการเกิด Dispensing error ผู้ป่วยนอกต่อ 1,000 ใบสั่งยามียา 0.36 0.43 0.91 0.24 3.อัตราการเกิด Pre-dispensing error ผู้ป่วยในต่อ 1,000 วันนอน 3.21 2.98 13 2.18 4.อัตราการเกิด Dispensing error ผู้ป่วยในต่อ 1,000 วันนอน 0.32 0.31 1.98 5.05 5.จำนวนครั้งของการจ่ายยาที่ผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ 1 6.จำนวนครั้งของ ADR ระดับ D-I

11 ทีมนำด้านระบบยา สถานการณ์ด้านระบบยา

12 ทีมนำด้านระบบยา สถานการณ์ด้านระบบยา

13 การบริหารยา(administration error)
ทีมนำด้านระบบยา ความคลาดเคลื่อนทางยาปี 61 การบริหารยา(administration error) จำนวน ระดับ พบว่ามีความเสี่ยงที่สำคัญ - ให้ยาผิดชนิด 1 C - สั่ง Meptin ให้ยา Domperidone เตรียมยาผิดชนิด - สั่ง Vit K เตรียม Methergin ให้ยาผิดคน 2 C,D - ให้ domperidone - ให้ Ampicillin Iv ผิดคน - ให้ยาผิดวิธี - ให้ยา Pethidine IM => IV - Ceftriaxone 1 g IV drip => IV Push ให้ยาผิดเวลา 5 - ไม่ได้ให้ยา Augmentin / domperidon tab / diclofenac - ให้ carbocytein bid=>tid - ให้ยาผิดDose 4 C3,D1 - ให้ clinda 2x2 => 1x2 / ให้ Genta 100 mg => 80 mg IV drip ให้ ceftriazone 2g =>1 g IV drip /Salbutamol 0.3 ml=> 0.5 ml. NB

14 บทเรียนการพัฒนา ความคลาดเคลื่อนในการจัดยาผู้ป่วยใน Purpose Process
ความคลาดเคลื่อนในการจัดยาผู้ป่วยใน <5ต่อ1000วันนอน # พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 2.98 ในปี 2559 เป็น 13 ในปี 2560 Process ระบบ one day dose Double Check Performance ความคลาดเคลื่อนในการจัดยาผู้ป่วยใน ลดลงจาก 13 ในปี 2560 เป็น 2.18 ในเดือน มิย. 61. ลดปริมาณยาสำรองในหอผู้ป่วยเหลือเพียง 1 สัปดาห์ แก้ไขปัญหายาหมดอายุ

15 ทีมนำด้านระบบยา ความเสี่ยงสำคัญของระบบยา ความคลาดเคลื่อน
- การจัดยาผิดชนิด - จัดยาไม่ครบ/เกินรายการ - จัดยาผิดตัว ระบบ one day dose Double Check ปรับฉลากยาโดยใช้หลักTaller man การจัดเก็บ ปรับกระบวนการ

16 บทเรียนการพัฒนา ระบบป้องกันการจ่ายยาที่แพ้ซ้ำ Purpose Process
จำนวนครั้งของการจ่ายยาที่ผู้ป่วยแพ้ซ้ำ =0 # พบอุบัติการณ์ 1 ครั้งในปี 2558 ไม่มีเภสัชกรสอบสวนการแพ้ยาในวันหยุดราชการ Process ทบทวนแนวปฏิบัติงานบริการ จัดตารางเวรให้เภสัชกรขึ้นสอบสวนการแพ้ยาในวันหยุดราชการ เปลี่ยนแบบรายงานให้มีความชัดเจน เปลี่ยนระบบแจ้งเตือน Performance ไม่พบอุบัติการณ์ในปี 2559, 2560 และ2561

17 ทีมนำด้านระบบยา ผลลัพธ์การดำเนินการ ตัวชี้วัด ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560
เป้าหมาย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 1.ร้อยละของรายการเวชภัณฑ์ที่ไม่มีจ่ายเมื่อมีการเบิก น้อยกว่า 3% 2.44 1.76 4.01 1.36 2.ร้อยละของเวชภัณฑ์ที่หมดอายุหรือเสื่อมสภาพ น้อยกว่า0.05 n/a 2.9 0.0021 3.อัตรายาคงคลัง (เดือน) ≤3เดือน 3.9

18 บทเรียนการพัฒนา รายการเวชภัณฑ์ที่ไม่มีจ่ายเมื่อมีการเบิก Purpose
- จำนวนรายการยาขาดคลัง ในกลุ่มยา life saving drug = 0 รายการ - จำนวนวันสำรองคลัง ไม่เกิน 3 เดือน Purpose - Emergency Box - ยาขาดแคลน  มีบัญชีผู้ขายสำรองขึ้นทะเบียนไว้ - ยาจำเป็นเร่งด่วน  ประสานบริษัทยาส่งด่วน,และ/ หรือ ประสาน รพ.ใกล้เคียงจัดหาด่วน Process - จำนวนรายการยาขาดคลัง ในกลุ่มยา life saving drug = 0 รายการ - จำนวนวันสำรองคลัง ปี 60 = 3.9 เดือน ปี 61 = 2 เดือนไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด Performance

19 บทเรียนการพัฒนา ระบบแจ้งเตือนเรื่องอุณหภูมิตู้เย็นแช่วัคซีน Purpose
- เตือนอุณหภูมิเมื่อไม่ได้มาตรฐาน # ระบบเดิมที่มี ไม่สามารถแจ้งเหตุการณ์ได้อย่างทันเหตุการณ์ Purpose Process - ติดตั้งเครื่องแจ้งเตือนเมื่ออุณหภูมิไม่อยู่ในช่วงที่กำหนด โดยจะโทรแจ้งที่ 5 หมายเลข เพื่อให้เจ้าหน้าที่แก้ปัญหาได้ทันด่วน - มีแผนการจัดการเมื่ออุณหภูมิไม่ได้มาตรฐาน Performance - สามารถทราบปัญหาและแก้ไขได้ทันการณ์ตามแผนปฏิบัติ

20 ทีมนำด้านระบบยา สถานการณ์ด้านระบบยา

21 บทเรียนการพัฒนา พัฒนาระบบการเบิกเวชภัณฑ์จากคลัง
เบิก on line โดยใช้ QR code เบิกโดยใช้ใบเบิกกึ่งสำเร็จรูป เขียนใบเบิกด้วยลายมือ การสามารถลดความผิดพลาดในการตัดเบิกเวชภัณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 2.04 ของใบเบิกในปี 2561 จากร้อยละ ของใบเบิกในปี 2560 ระบบเดิมที่มี ความผิดพลาดเนื่องจากอ่านชื่อยา/วัสดุผิด

22 เบิกฉับไวใช้ QR code วิธีดำเนินการ
จัดทำ QR code และสร้างใบเบิกเฉพาะของห้องยาใน Google ฟอร์ม

23 บทเรียนการพัฒนา รายการเวชภัณฑ์ที่ไม่มีจ่ายเมื่อมีการเบิก Purpose
- ลดระยะเวลาการเบิกเวชภัณฑ์ให้กับเจ้าหน้าที่ห้องยา - ความผิดพลาดในการตัดเบิกเวชภัณฑ์ร้อยละ 1 - ระยะเวลาการตัดเบิกเวชภัณฑ์ลดลง Purpose Process - ใช้ใบเบิกกึ่งสำเร็จรูป - เบิกโดยระบบ QR code - ลดระยะเวลาการเบิกเวชภัณฑ์ให้กับเจ้าหน้าที่ห้องยาในลง5,496นาทีจากปี60 - ลดความผิดพลาดในการตัดเบิกเวชภัณฑ์ ปี61ร้อยละ 0.24 ปี 60 ร้อยละ 1.56 - ระยะเวลาการตัดเบิกเวชภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.88 ลดลงเหลือร้อยละ 0.29 Performance

24 บทเรียนการพัฒนา พบว่ามียาที่เสื่อมสภาพ/หมดอายุ
ตรวจเช็คระบบคอมพิวเตอร์ และ QR code ตรวจเช็คด้วยแถบสี ตรวจเช็คด้วยแบบฟอร์ม

25 จากเดิมซึ่งห้องตรวจโรคจะพิมพ์ใบสั่งยาให้ผู้ป่วย 2 ใบ
บทเรียนการพัฒนา ปัญหาจากการมีผู้รับบริการร้องเรียนว่าให้บริการล่าช้า จากเดิมซึ่งห้องตรวจโรคจะพิมพ์ใบสั่งยาให้ผู้ป่วย 2 ใบ ปัญหา เมื่อบันทึกผ่านการเงินแล้วหากมีความผิดพลาดทั้งจาก ชนิดยา ขนาดยา เกิดขึ้น ไม่สามารถแก้ไขได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ชำระเงินต้องยกเลิกใบเสร็จ ผู้ป่วยนำใบสั่งยา 1 ใบ ให้ห้องจ่ายยาเพื่อจัดยาตามคิว

26 ระบบยา ปรับเปลี่ยนให้มีเพียงใบสั่งยาเพียง 1 ใบ (ลดขนาดใบสั่งยาเหลือครึ่งA4) โดยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับใบสั่งตรวจสอบเบื้องต้นหากไม่มียาให้ชำระเงินและกลับบ้านได้ เภสัชกรเรียกรับยาตามคิว ทำให้ไม่มีปัญหาเรื่อง การแก้ไขฉลากยาไม่ได้หากผ่านงานการเงินแล้ว ถ้ามียาต้องตรวจทานความถูกต้องโดยเภสัชกรและให้ผู้ป่วยนำใบสั่งยา(พร้อมบัตรคิว รับยา)นำไปชำระเงิน

27 บทเรียนการพัฒนา ระบบยา
พบปัญหาว่ารับยาล่าช้าเพราะมีคำสั่งใช้ยาของแพทย์ใน OPD Card ไม่ตรงกับใบสั่งยาเช่นจำนวนของยาน้ำที่ให้คนไข้ไม่ตรงกัน,ขนาดยาที่ใช้ต่างกัน สาเหตุ - แพทย์เปลี่ยนขนาด จำนวน หรือวิธีใช้ยา ภายหลังจากพิมพ์ใบสั่งยาและสั่งพิมพ์ฉลากยาแล้วทำให้ไม่ตรงกัน รวมทั้งการมีแพทย์ฝึกหัดมาตรวจรักษาที่ไม่คุ้นเคยกับโปรแกรม เลือกวิธีการใช้ยาที่ผิดจากที่ต้องการ ส่งผล ต้องมีการแก้ไข/ยกเลิกใบเสร็จ จึงจะแก้ไขได้ทำให้รับยาล่าช้า

28 ระบบยา พบปัญหาว่ารับยาที่แพทย์สั่งจากคลินิกต่าง ๆ ไม่ตรงกันเช่น ยาที่จ่ายจาก well baby ไม่ตรงกับห้องตรวจโรคเด็ก สาเหตุ - แพทย์เปลี่ยนขนาด จำนวน หรือวิธีใช้ยา ภายหลังจากผลการเจาะเลือดของเด็กออกมาแล้วเช่นยาเสริมธาตุเหล็ก ที่well baby สั่ง1.5cc สัปดาห์ละ1ครั้ง แต่ห้องตรวจโรคเด็กสั่ง 2.5 เช้า-เย็น จึงทำการประสานงานกันทุกหน่วยและให้ยึดคำสั่งแพทย์ที่มาจากห้องตรวจโรคเด็กเป็นเกณฑ์ ผลลัพท์ จากการปรับเปลี่ยนกระบวนต่างๆทั้งหมดทำให้สามารถลดเวลารอรับยาเฉลี่ย จาก15นาทีเหลือเพียง 10 นาที และสามารถลดการยกเลิกใบเสร็จ ได้ถึง 70 % และประหยัดเงินค่ากระดาษ80,000บาท/ปี (จำนวน/ขนาดใบสั่งยาลดลง 50%) ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ

29 ระบบยา ยาที่มีความเสี่ยงสูง (high-alert drugs)
หมายถึง ยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตราย หรือผลเสียต่อผู้ป่วยที่รุนแรง ถ้าหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้ ยาทั้งหมดมี 5 ตัว 6 ความเข้มข้น

30 ระบบยา ชื่อพ้อง มองคล้าย (LASA drugs)
หมายถึงกลุ่มยาที่ชื่อมองดูคล้ายคลึงกัน อาจเป็นตัวสะกดหรือตัวอักษรเริ่มต้น รวมทั้งกลุ่มยาการออกเสียงใกล้เคียงกัน 15 คู่

31 ระบบยา จุดเน้น การพัฒนา
ให้บริการตามมาตรฐานทางเภสัชกรรมสู่การเป็น ห้องยาคุณภาพ พร้อมให้คำแนะนำปรึกษาเรื่องยาแก่ผู้ป่วย โดยเริมดำเนินโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจส่วนบน และโรคท้องร่วงเฉียบพลัน ทำ discharg drug counseling ฉลากยาที่มี QR code

32 ตอบข้อซักถาม จุดเน้น การพัฒนา

33 ตอบข้อซักถาม

34


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google