งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ.โพธิ์ทอง ( รอบที่ 2) วันที่ 5 มิถุนายน 2560

2 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

3 ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. แม่และเด็ก 1.ทารกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ (เป้าหมาย<= ร้อยละ 7 - ปกปิดการตั้งครรภ์ - ภาวะซีด สุขภาพช่องปาก - ทารกคลอดน้ำหนัก 2,500 กรัมสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดจะส่งผลถึงพัฒนาการเด็ก -เน้นคุณภาพการฝากครรภ์การเชื่อมโยงข้อมูล เช่นการใช้ APP ไลน์ 2. เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ทักษะในการคัดกรองของเจ้าหน้าที่ -ผู้ปกครองขาดความเข้าใจ -การควบคุมของการคัดกรอง คีย์ข้อมูลตรวจพัฒนาการเลยไม่ต้องรอกระตุ้นครั้งแรก - เด็กพัฒนาการสมวัยสูงซึ่งอาจทำให้เด็กทีพัฒนาการสงสัยล่าช้าไม่ได้รับโอกาสในการกระตุ้นพัฒนาการ - เน้นคุณภาพการประเมินและคัดกรองพัฒนาการเพื่อให้เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าเข้าสู่กระบวนการกระตุ้นพัฒนาการ

4 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. งานอนามัยเด็กวัยเรียน 1. เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ (เป้าหมาย ร้อยละ 66) - -เจ้าหน้าที่สาธารณสุขวิเคราะห์และค้นหาโรงเรียนที่มีส่วนสูงมีสมส่วน ต่ำกว่าเกณฑ์ ประสานครูคัดเลือกนักเรียนจัดกิจกรรมพิเศษเช่น การกระโดดเชือก ส่งเสริมการดื่มนม -การเข้าร่วมโครงการ กระโดดโลดเต้นเล่นสนุก เพื่อเด็กไทยสูงสมส่วนแข็งแรง IQ EQ ดี 3. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลเข้าร่วมโครงการฯ 7 ตำบล ทำ Care Plan 165 คน ร้อยละ 100 ได้รับงบประมาณ ปี จำนวน 390,000 บาท เร่งรัดดำเนินงานตาม Care Plan ติดตามตำบลที่ดำเนินการในปี 2560 4.งานยาเสพติด 1.ผู้ป่วยยาเสพติดหยุดเสพต่อเนื่อง ร้อยละ 100 (2/2)

5 กลุ่มงานควบคุมโรค

6 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1.อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18 : แสนประชากร ต.ค. 59 – พ.ค. 60 เสียชีวิต 8 ราย คิดเป็น14.8 : แสนประชากร กิจกรรม 1.มีการคืนข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.มาตรการองค์กรต้นแบบ -ยังขาดการวางแผนแก้ไขแบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 1.ควรแต่งตั้ง ศปถ ของอำเภอ คณะกรรมการ ประมาณ 15 คน จัดทำแผน กำหนดบทบาทภารกิจให้ชัดเจน 2.ประชุม ประเมินติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ราย ป่วย DM รายใหม่ 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.9 (ปกติกลุ่มเสี่ยงพบ ร้อยละ 10 จากการคัดกรอง อ.โพธิ์ทอง ประมาณ 2,400 คน) 1.ควบคุมการคัดกรอง DM และการบันทึกข้อมูล 2. การจัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยงไม่เพียงพอ 1.ทบทวนเรื่องการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและการลงข้อมูล 2. สสอ. ติดตามการจัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยงโดยใช้กรรมการตำบลจัดการสุขภาพและหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

7 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3.ร้อยละการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต ( ร้อยละ 40 , ร้อยละ 50) ควบคุม DM ร้อยละ ควบคุม HT ร้อยละ 47.4 กิจกรรม - รพ.นำแนวทาง MI : Motivating Interviewing มาใช้สร้างแรงจูงใจผู้ป่วย 1 การตรวจ Hb A1C ได้ต่ำเกณฑ์ คือ ร้อยละ 45 2. ตรวจ BP ได้ไม่ครอบคลุมคือ ได้ ร้อยละ 67.5 สาเหตุ คือ 1ผู้ป่วย Diet Control แพทย์ไม่นัด FU 2. รักษาที่อื่นๆ 3.ขึ้นทะเบียน HT แต่ไม่ได้ป่วย 4. ลงรหัสผิด 1.รพ.ควรกำหนดแนวทางการตรวจ Hb A1C ตามความเหมาะสม 2. สสจ. ทบทวนข้อมูลจากสาเหตุต่างๆ ที่ทำให้การตรวจ BP ในผู้ป่วย HT ไม่ครอบคลุม

8 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
4. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR<4 mc/min/1.73m2/yr (ร้อยละ 65) ร้อยละ กิจกรรม - มี CKD Clinic เปิดบริการทุกวัน และมีการจัด Program ให้กลุ่มเป้าหมาย ครั้งละ ½ ชม. ทุกวัน การที่ผู้ป่วยชะลอไตเสื่อมได้น้อยกว่าเกณฑ์เนื่องจากเกิดจากพยาธิสภาพของ ผู้ป่วยสูงอายุ และเป็นโรคมานาน การจัดกิจกรรม ยังไม่เข้มข้นพอที่จะทำให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยในชุมชนแบบเข้มข้นต่อเนื่อง ประเมินการดำเนินงานใน CKD คลินิก ควรมีนักโภชนาการ

9 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ

10 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) HA ขั้นที่ 3 มีแผน Reaccreditation ปี 2561 -สรพ. กำลังปรับปรุงมาตรฐานฉบับที่ 3 ปี ซึ่งจะใช้สำหรับโรงพยาบาลที่จะ Reaccreditation ปี 2561 -จังหวัดประสานคณะกรรมการ เขต ในการช่วยพัฒนาตามมาตรฐานงานใหม่ 2. 2P Safety -มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามแนวทางที่กระทรวงกำหนด -มีการจัดทำบัญชีความเสี่ยงของ รพ. -มีการจัดทำแนวทางและมาตรการป้องกันความเสี่ยงที่เป็นลายลักษณ์อักษร -มีการายงานความเสี่ยงตามแนวทางที่กำหนด -การจัดกลุ่มความเสี่ยงไม่สอดคล้องกับกระทรวงกำหนด -ให้ทบทวนการจัดกลุ่มความเสี่ยงให้สอดคล้องกับกระทรวงตามหนังสือสธ 0218/3636 ลว. 24 สค 2559

11 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

12 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้มาตรฐาน ผ่าน ร้อยละ 100 (ผิด) 1.ความเข้าใจของผุ้รายงานผิดพลาดไม่รวมอาหารเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพตามที่ถูกต้อง ผลิตภัณฑ์สุขภาพหมายถึง อาหาร ยา เครื่องสำอาง วัตถุอันตราย วัตถุเสพติด เครื่องมือแพทย์ เจ้าหน้าที่ทบทวนข้อมูล แลแก้ไขข้อมูลในรายงาน 2.ผลการดำเนินงานไม่ระบุข้อมูลจำนวน ที่ตรวจและจำนวนที่ผ่านทำให้ไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของผลงานได้ -ผลการดำเนินงาน เป็นผลการตรวจจากการตรวจสอบ Test Kit และผลตรวจจาก Mobile Unit เขต 4 ซึ่งส่งผลให้ทุกครั้ง 3. ไม่พบผลตรวจผลิตภัณฑ์อื่นนอกเหนือจากอาหาร เช่นเครื่องสำอางและยา - ทบทวนผลการดำเนินงานและการคีย์ข้อมูล

13 กลุ่มงานประกันสุขภาพ

14 -มีปัญหาเรื่องการตรวจสอบการเรียกเก็บไม่ครบทุกสิทธิ
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. เพิ่มรายได้ ได้ตามเป้าหมาย 1 กิจกรรม คือ ทันตกรรม - ให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน ไม่ได้ตามเป้าหมาย 4 กิจกรรม 2. ลดรายจ่าย - เวชภัณฑ์มิใช่ยา 5 ประเภท - ค่าตอบแทน,นอกเวลา ได้ตามเป้าหมาย 3. การจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ มีการดำเนินงานจัดตั้งและกำหนดผู้รับผิดชอบ เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจนแล้ว -มีปัญหาเรื่องการตรวจสอบการเรียกเก็บไม่ครบทุกสิทธิ - เร่งรัดการตรวจสอบให้ครบทุกสิทธิ -เร่งรัดการดำเนินงานจัดเก็บรายได้ให้เป็นไปตามเป้าหมาย

15 กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล

16 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การคีย์ข้อมูล Happionometer - รพ. ร้อยละ 100 สสอ. ร้อยละ (ขาด 2 คน) - รพ.สต. ร้อยละ (ไม่ครบ 1 แห่ง คือ รพ.สต สามง่าม ร้อยละ 40 ( 2/5) รวมขาด 5 คน คีย์ข้อมูลไม่ครบ กำกับติดตามให้เจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลให้ครบ

17 งานการเงินและบัญชี

18 ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การจัดทำแผนทางการเงิน มีการปรับแผน 6 เดือนหลัง ทำแผนขาดดุล ebitda -477,068.97 ลงทุนเกิน ebitda 20% -1,440,649 รพ.มีการลงทุนด้วยเงินบำรุง ทำรั้ว และระบบไฟฟ้า ประปา สำหรับอาคารพักแพทย์ และบ้านพักข้าราชการ 2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้ 27.42% ด้านค่าใช้จ่าย -5.15%) 2.1ระบบสอบทานรายงานการเงินกับข้อมูลรักษา มีการมอบหมายการกำหนดผู้รับผิดชอบในการรายงานลูกหนี้ให้บัญชี มีระบบการตรวจสอบรายงานลูกหนี้ IPD -มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนเพื่อหาสาเหตุและนำเสนอที่ประชุมทุกเดือน ยังไม่มีการตรวจสอบระบบรายงานลูกหนี้ จากข้อมูลการรักษา การเรียกเก็บ และทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล มีการสอบทานเปรียบเทียบยอดลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลกับศูนย์จัดเก็บรายได้/งานประกันสุขภาพ

19 ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) ผ่าน 3 ตัว -ระยะเวลาชำระหนี้ 225 วัน cash 1.42 (เกณฑ์ cash >0.8 จ่ายภายใน 90 วัน -ระยะเวลาถัวเฉลี่ยเรียกเก็บหนี้ประกันสังคม วัน (<=60 วัน) ทำแผนการชำระหนี้ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จัดระบบชำระหนี้ก่อน-หลัง มีการเชื่อมโยงข้อมูลลูกหนี้กับบัญชี มี Flow งาน ประกันระยะเวลาแต่ละขั้นตอน มีระบบการติดตามหนี้สิน

20 ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 4.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ได้ 84 % กิจกรรมควบคุมภายในส่งผลการประเมิน 5 มิติไม่ทันเวลา (28 กพ 60) กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบัญชีส่งข้อมูลงบทดลองไม่ทันเวลาที่กำหนด (ภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป) ให้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนด โดยให้ส่งผลการดำเนินการตามแผนและผล การพัฒนาองค์การ 5 มิติ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ภายใน 30 มิย 60 กำกับให้ผู้รับผิดชอบส่งข้อมูลงบทดลองตามเวลาที่กำหนด

21 ถาม - ตอบ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google