ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChloe Shaw ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
2
ภัยพิบัติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทกภัย โคลนถล่ม วาตภัย คลื่นสึนามิ การเกิดไฟป่า แผ่นดินไหว และโรคระบาด ฯลฯ ภัยพิบัติจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ สงคราม การก่อการร้าย สถานการณ์วิกฤตทาง การเมือง การรั่วไหลของสารเคมี เป็นต้น
3
วิกฤตสุขภาพจิต หมายถึง ภาวะเสียสมดุลทางอารมณ์และจิตใจจากสถานการณ์หรือเหตุการณ์วิกฤตที่เกิดขึ้นทำ�ให้เกิดความว้าวุ่น สับสน และความผิดปกติที่คนเราไม่สามารถจะใช้วิธีคิดและการปฏิบัติที่เคยใช้ได้ในภาวะปกติ
4
ผู้ประสบภาวะวิกฤต หมายถึง ผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทั้งทางตรงและทางอ้อม ประกอบด้วย ผู้ได้รับบาดเจ็บ ครอบครัวผู้เสียชีวิต/บาดเจ็บ ผู้รอดชีวิต ผู้สูญเสียทรัพย์สิน ผู้อยู่ในเหตุการณ์ ผู้ป่วยที่มีประวัติ การรักษาทางจิตเวช และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือ
5
ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team : MCATT) หมายถึง ทีมสหวิชาชีพที่ให้การช่วยเหลือทางด้านจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ได้แก่ แพทย์ พยาบาลจิตเวช เภสัชกร นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิต และผู้ที่เกี่ยวข้อง
7
องค์ประกอบของทีมMCATT
ระดับอำเภอ บทบาทหน้าที่ แพทย์ พยาบาลที่รับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิต/พยาบาลเฉพาะทางสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช (PG) /พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกายเพื่อประเมินสถานการณ์ ประเมินคัดกรองและให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตในพื้นที่ ถ่ายทอดความรู้ในเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตให้แก่บุคลากรในเครือข่าย เช่น ศูนย์เยียวยาระดับตำบล อสม. รพ.สต. เป็นต้น รายงานผลการปฏิบัติงานตามขั้นตอน เพื่อนำเสนอ War room กระทรวงสาธารณสุข
8
ระบบการปฏิบัติงาน
9
ระยะเตรียมการ ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน ระยะวิกฤต (72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์) ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ - 3 เดือน) ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)
10
ขั้นตอนการปฏิบัติงานช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต สำหรับทีม MCATT ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ
13
การดำเนินงานให้ความช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต : ระยะเตรียมการ
15
การดำเนินงานให้ความช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต : ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ – 2 สัปดาห์)
16
ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
ปัจจัย 4 ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (Psychological First Aid : PFA)
17
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ให้มีการติดตามดูแลต่อเนื่องภายหลัง 2 สัปดาห์
18
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
กลุ่มผู้ประสบภาวะวิกฤตที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต กลุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวช หรือใช้สารเสพติด กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต กลุ่มผู้สูงอายุและเด็ก กลุ่มผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต
20
ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ - 3 เดือน)
ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ - 3 เดือน)
22
ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)
ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)
23
ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)
ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป) ระยะนี้เน้นการส่งเสริม ป้องกัน บำบัด ฟื้นฟูสุขภาพจิต การเฝ้าระวังและค้นหาโรคระยะเริ่มแรกเพื่อป้องกันความพิการทางจิตใจ (Early Detection and Early Intervention)
25
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
26
การใช้เครื่องมือประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต ตามระยะของการเกิดภัยพิบัติสำหรับผู้ใหญ่
27
การใช้เครื่องมือประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต ตามระยะของการเกิดภัยพิบัติสำหรับผู้ใหญ่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.