ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สิทธิประโยชน์การลงทุน ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
นงเยาว์ ก่อการรวด ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 7 22 ธันวาคม 2560 1
2
หัวข้อนำเสนอ 1. ทำไมต้องลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
1. ทำไมต้องลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะที่ 1 – แม่สอด 3. นโยบายส่งเสริมการลงทุน/สิทธิและประโยชน์/ ประเภทกิจการที่ให้ส่งเสริมและบริการต่างๆบีโอไอ 4. สถิติการส่งเสริมการลงทุน SEZ TAK
3
ทำไมต้องลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนเป็นพื้นที่ติดต่อชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เมียนมาติดชายแดนตากและกาญจนบุรี สปป.ลาว ติดกับอุตรดิตถ์ เชียงราย มุกดาหาร และหนองคาย กัมพูชาติดกับสระแก้วและตราด มาเลเซียติดกับสงขลาและนราธิวาส ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ( ) มูลค่าการค้าชายแดนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง มูลค่าเฉลี่ยปีละ 900,000 ล้านบาท และมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น โดยเฉพาะหลังการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสิ้นปี ในปี 2560 (ม.ค.- พ.ค.) มูลค่าการค้ารวม 90, ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.77 จากปี 2559 ในช่วงเดียวกัน ปัจจัยสนับสนุน รัฐบาลกำหนดให้จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษรวม 10 พื้นที่ โดยมีมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เช่น ถนน สะพาน สนามบิน การให้สิทธิและประโยชน์ทั้งที่เป็นภาษีและไม่ใช่ภาษีของ สนง.คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนหรือบีโอไอ หรือมาตรการของกรมสรรพากร การตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการลงทุน One Stop Service – OSS และมาตรการอำนวยความสะดวกอื่นๆ การอนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานในโครงการได้
4
สิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากร สิทธิประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษีอากร
สิทธิประโยชน์บีโอไอ สิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากร สิทธิประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษีอากร ยกเว้น/ลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักร ยกเว้น/ลดหย่อนอากรขาเข้าสำหรับวัตถุดิบหรือวัสดุจำเป็น ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและเงินปันผล ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 ให้หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าน้ำประปาเป็นสองเท่า ให้หักค่าติดตั้งหรือค่าก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 อนุญาตให้นำคนต่างด้าวเข้ามาเพื่อศึกษาลู่ทางการลงทุน อนุญาตให้นำช่างฝีมือและผู้ชำนาญการ เข้ามาทำงานในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน อนุญาตให้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน อนุญาตให้ส่งออกซึ่งเงินตราต่างประเทศ
5
ทำเลที่ตั้งเหมาะสมแก่การลงทุน
North South Economic Corridor: NSEC EAST WEST ECONOMICS CORRIDOR (EWEC)
6
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด (23 อำเภอ 90 ตำบล) ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ตาก หนองคาย สระแก้ว เชียงราย ตราด กาญจนบุรี มุกดาหาร นครพนม สงขลา นราธิวาส
7
จังหวัดตาก จังหวัดตาก อำเภอ ตำบล อ.แม่สอด
ต.ท่าสายลวด ต.พระธาตุผาแดง ต.แม่กาษา ต.แม่กุ ต.แม่ตาว ต.แม่ปะ ต.แม่สอด ต.มหาวัน อ.พบพระ ต.ช่องแคบ ต.พบพระ ต.วาเล่ย์ อ.แม่ระมาด ต.ขะเนจื้อ ต. แม่จะเรา ต.แม่ระมาด 7
8
กิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 1
(ตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 1/2558 – 5/2558 , 17/258 – 21/2558) กลุ่มอุตสาหกรรม ตาก สระแก้ว ตราด มุกดาหาร สงขลา 1. เกษตรและอาหารแปรรูป 2. ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ 3. สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง 4. เครื่องเรือน 5. อัญมณีและเครื่องประดับ 6. เครื่องมือแพทย์ 7. ยานยนต์ เครื่องจักร และชิ้นส่วน 8. เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 9. ผลิตภัณฑ์พลาสติก 10. ยา 11. กิจการโลจิสติกส์ 12. นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 13. กิจการสนับสนุนการท่องเที่ยว
9
ประเภทกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
หมวด 1 เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร กิจการอบพืชและไซโล กิจการขยายพันธุ์ปศุสัตว์หรือสัตว์น้ำ กิจการเลี้ยงปศุสัตว์หรือสัตว์น้ำ (ยกเว้นกุ้ง) กิจการฆ่าและชำแหละสัตว์ กิจการคัดคุณภาพ บรรจุ และเก็บรักษาพืช ผัก ผลไม้ หรือดอกไม้ กิจการผลิตแป้งแปรรูป (โมดิไฟด์สตาร์ช) หรือแป้งจากพืชที่มีคุณสมบัติพิเศษ กิจการผลิตน้ำมันหรือไขมันจากพืชหรือสัตว์ (ยกเว้นน้ำมันจากถั่วเหลือง) กิจการผลิตสารสกัดจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ หรือผลิตภัณฑ์จากสารสกัดจาก วัตถุดิบทางธรรมชาติ (ยกเว้นยา สบู่ ยาสระผม ยาสีฟัน และเครื่องสำอาง) กิจการแปรรูปยางขั้นต้น กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้หรือเศษวัสดุทางการเกษตร กิจการผลิตหรือถนอมอาหาร เครื่องดื่ม วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) หรือ สิ่งปรุงแต่งอาหาร (Food Ingredient) โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย (ยกเว้นเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์) กิจการห้องเย็น หรือกิจการห้องเย็นและขนส่งห้องเย็น กิจการศูนย์กลางการค้าสินค้าเกษตร
10
ประเภทกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
หมวด 2 เซรามิกส์ กิจการผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ (ยกเว้น Earthen Ware และกระเบื้องเซรามิกส์) หมวด 3 อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง กิจการผลิตเส้นใยธรรมชาติ หรือเส้นใยประดิษฐ์ กิจการผลิตด้ายหรือผ้า กิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม เครื่องประกอบการแต่งกาย และเคหะสิ่งทอ กิจการผลิต Non-woven Fabric หรือผลิตภัณฑ์สุขอนามัย (Hygienic Products) จาก Non-woven Fabric กิจการผลิตกระเป๋าหรือรองเท้า หรือผลิตภัณฑ์จากหนังสัตว์หรือหนังเทียม กิจการผลิตเครื่องกีฬาหรือชิ้นส่วน กิจการผลิตเครื่องเรือนหรือชิ้นส่วน กิจการผลิตอัญมณีและเครื่องประดับ หรือชิ้นส่วน รวมถึงวัตถุดิบและต้นแบบ กิจการผลิตเครื่องมือแพทย์หรือชิ้นส่วน
11
ประเภทกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
หมวด 4 ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง กิจการผลิตเครื่องยนต์อเนกประสงค์หรืออุปกรณ์ กิจการผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือชิ้นส่วน และ/หรือการซ่อมแซมแม่พิมพ์ กิจการประกอบเครื่องจักร และ/หรืออุปกรณ์เครื่องจักร กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะอื่นๆ กิจการผลิตรถจักรยานยนต์ (ยกเว้นที่มีความจุกระบอกสูบต่ำกว่า 248 ซีซี) หมวด 5 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กิจการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า กิจการผลิตหลอดไฟแบบ LED กิจการผลิต Compressor และ/หรือ Motor สำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้า กิจการผลิต Wire Harness กิจการผลิตชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ กิจการผลิตผลิตภัณฑ์กลุ่มภาพและเสียง (Audio Visual Product) กิจการผลิตผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสำนักงาน
12
ประเภทกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
หมวด 5 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) กิจการผลิตผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ กิจการผลิต Hard Disk Drive ทั่วไป และ/หรือชิ้นส่วน (ยกเว้น Top Cover หรือ Base Plate หรือ Peripheral) กิจการผลิต Top Cover หรือ Base Plate หรือ Peripheral สำหรับ Hard Disk Drive กิจการผลิต Flexible Printed Circuit และ/หรือ Multi Layer Printed Circuit Board และ/หรือชิ้นส่วน กิจการผลิตอุปกรณ์หน่วยความจำอื่นๆ กิจการผลิต Printed Circuit Board Assembly (PCBA) ทั่วไป กิจการผลิตชิ้นส่วนสำหรับผลิตภัณฑ์กลุ่มภาพและเสียง กิจการผลิตชิ้นส่วนสำหรับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสำนักงาน กิจการผลิตชิ้นส่วนสำหรับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
13
ประเภทกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
หมวด 6 เคมีภัณฑ์และพลาสติก 6.6 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกสำหรับอุตสาหกรรม (Plastic Products for Industrial Goods) 6.7.1 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกชนิดหลายชั้น (Multilayer Plastics Packaging) 6.7.2 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกชนิดปลอดเชื้อ (Aseptic Plastics Packaging) 6.7.3 กิจการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก ชนิดป้องกันไฟฟ้าสถิต (Antistatic Plastics Packaging) กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกรีไซเคิล 6.10 กิจการผลิตยา หมวด 7 กิจการบริการและสาธารณูปโภค 7.1.3 กิจการสถานที่ตรวจปล่อยและบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์เพื่อส่งออก หรือโรงพักสินค้า เพื่อตรวจปล่อยของขาเข้า และบรรจุของขาออกที่ขนส่งโดยระบบคอนเทนเนอร์นอกเขตท่าเทียบเรือ (รพท.) (Inland Container Depot : ICD) 7.4.1 กิจการศูนย์กระจายสินค้าด้วยระบบทันสมัย (Distribution Center : DC) 7.4.2 กิจการศูนย์กระจายสินค้าระหว่างประเทศด้วยระบบที่ทันสมัย (International Distribution Center : IDC) กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม
14
ประเภทกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
หมวด 7 กิจการบริการและสาธารณูปโภค (ต่อ) กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Park) กิจการเฟอร์รี่ หรือเดินเรือท่องเที่ยว หรือให้เช่าเรือท่องเที่ยว กิจการบริการที่จอดเรือท่องเที่ยว กิจการสวนสนุก กิจการศูนย์แสดงศิลปวัฒนธรรมหรือศูนย์ศิลปหัตถกรรม กิจการสวนสัตว์เปิด กิจการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ กิจการศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ กิจการศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพ
15
1.22 กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์
แก้ไขเพิ่มเติมประเภทกิจการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามประกาศคณะกรรมการฯ ที่ 7/2560 6 ประเภทกิจการ ได้แก่ 1.22 กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์ 2.17 กิจการผลิตวัสดุก่อสร้างและผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแรง สำหรับงานสาธารณูปโภค 6.15 กิจการผลิตสิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกาย เช่น สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม เครื่องสำอาง 6.16 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกสำหรับสินค้าอุปโภค เช่น บรรจุภัณฑ์พลาสติก 6.17 กิจการผลิตสิ่งของจากเยื่อหรือกระดาษ เช่น กล่องกระดาษ 7.24 กิจการพัฒนาอาคารสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมและหรือ คลังสินค้า
16
สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(ตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 4/2557 ,2/2558 และ 7/2560) สิทธิประโยชน์ กรณีเป็นกิจการทั่วไปและตั้งในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 3 ปี รวมแล้วไม่เกิน 8 ปี ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิ 50% 5 ปี ได้รับอนุญาตหักค่าขนส่ง ไฟฟ้า และประปา 2 เท่า 10 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่นำมาผลิตเพื่อส่งออก 5 ปี อนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในโครงการที่ได้รับส่งเสริมทั้งนี้ ตามแนวทางที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนกำหนด เงื่อนไข จะต้องยื่นคำขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2561 16
17
สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(ตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 4/2557 ,2/2558 และ 7/2560) สิทธิประโยชน์ กรณีเป็นกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี (จำกัดวงเงินไม่เกินร้อยละ 100) ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 50% 5 ปี ได้รับอนุญาตหักค่าขนส่ง ไฟฟ้า และประปา 2 เท่า 10 ปี ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่นำมาผลิตเพื่อส่งออก 5 ปี อนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในโครงการที่ได้รับส่งเสริมทั้งนี้ ตามแนวทางที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนกำหนด เงื่อนไข จะต้องยื่นคำขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2561 17
18
สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(ตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ ป. 1/2559) สิทธิประโยชน์ด้านการใช้แรงงานต่างด้าวในโครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน SEZ การอนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สามารถใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือที่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ ในโครงการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนได้ พื้นที่อื่นๆทั่วไป - ผ่อนผันให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือที่ถูกต้องตามกฎหมายได้ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 - ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562 จะอนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจ้างแรงงานระหว่างรัฐ( MOU) เท่านั้น ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กระทรวงแรงงานกำหนด 18
19
การผ่อนปรนเงื่อนไขสำหรับ SMEs ไทยในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
[ ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 8/2558 มีผลตั้งแต่ 10 ก.ค ] การผ่อนปรนเงื่อนไขกรณีผู้ลงทุนเป็น SMEs 1. ปรับลดเงื่อนไขเงินลงทุนขั้นต่ำของแต่ละโครงการจากปกติไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) เป็นไม่น้อยกว่า 5 แสนบาท 2. อนุญาตให้นำเครื่องจักรใช้แล้วในประเทศ มาใช้ในโครงการได้ไม่เกิน 10 ล้านบาท (ใช้มูลค่าตามบัญชี) และต้องลงทุนใหม่ในเครื่องจักรหลัก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของมูลค่าเครื่องจักรที่ใช้ในโครงการ คุณสมบัติของ SMEs ต้องมีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน เมื่อรวมกิจการทั้งหมด ทั้งที่ได้รับการส่งเสริมและไม่ได้รับการส่งเสริมแล้ว ต้องมีสินทรัพย์ถาวรสุทธิหรือเงินลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนไม่เกิน 200 ล้านบาท
20
ในปี 2555 -2560 (มกราคม- ธันวาคม)
โครงการที่ยื่นขอรับส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ในปี (มกราคม- ธันวาคม) ปี จำนวน(คำขอ) มูลค่า(ล้านบาท) การจ้างงาน (คนไทย) 2555 1 532 8 2556 - 2557 2 131 480 2558 4 572 746 2559 19 3,283 581 2560 (ม.ค.- พ.ย.) 3 99 56 รวม ,617 1,871
21
ประเภทกิจการที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนแล้ว
เสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องนุ่งห่ม พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์/ก๊าซชีวภาพ/ชีวมวล น้ำมันปาล์ม การผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ ชิ้นส่วน/อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า กิจการศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน
22
ขั้นตอนการขอรับการส่งเสริม
สอบถามข้อมูลเบื้องต้น ยื่นคำขอรับการส่งเสริมฯออนไลน์ ชี้แจงโครงการ วิเคราะห์โครงการ พิจารณาตามขนาดการลงทุน ≤ 200 ล้านบาท: 40 วันนับตั้งแต่วันที่เอกสารครบถ้วน > 200 – 750 ล้านบาท: 60 วันนับตั้งแต่วันที่เอกสารครบถ้วน > 750 ล้านบาท: 90 วันนับตั้งแต่วันที่เอกสารครบถ้วน แจ้งผลการพิจารณา ภายใน 7 วันทำการ นับตั้งแต่วันที่รับรองรายงานประชุม ภายใน 1 เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งมติ ตอบรับมติการส่งเสริมฯ ภายใน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ตอบรับการส่งเสริมฯ ออกบัตรส่งเสริม
23
………………………………………………………………………………………………………..……………..….
..……... ..……... ……………... ……... ..…………….. …….. …... ……….…….………… …..…………………………………………………………………………………….. ………. ……... ……………………………………….………………………………………………. …..……..… ……………………….……..…………………………………….…………………..……………………
24
………………………………………………………………………………………………………..……………..….
…..…………………………………………………………………………………….. ……………………………………….………………………………………………. …..………………………………………………………….. …..………………………………………………………….. …….. …….. …….. …….. …….. …….. …….. …….. …….. …..……..… ……………………….……..…………………………………….…………………..……………………
25
………………………………………………………………………………………………………..………………….
…..………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………….……. ………………....…………………………..……………………………….……….…………………..……………………………………
26
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมกับ BOI
ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 7 (พิษณุโลก) อาคารไทยศิวารัตน์ ชั้น 3 ถนนบรมไตรโลกนารถ 2 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก โทร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.