งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
นายบำเพ็ญ เกงขุนทด สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดนครราชสีมา

2 มาตรฐานที่ ๑ มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีน และ ระบบลูกโซ่ความเย็น
มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีน และ ระบบลูกโซ่ความเย็น การเตรียมความพร้อมรับเหตุฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น

3 ผู้ผลิตวัคซีน ต่างประเทศ
Vaccine cold chain ผู้ผลิตวัคซีน ต่างประเทศ กรมควบคุมโรค องค์การเภสัชกรรม ท่าอากาศยานกรุงเทพ รถห้องเย็น ผู้ผลิตวัคซีนในประเทศ รถห้องเย็น สคร. สสจ. VMI รพ.สต. / PCU รพ. (CUP) / สสอ.

4 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๑. กำหนดหรือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงานการบริหารจัดการวัคซีน ระดับคลังวัคซีน หน่วยบริการ มีการมอบหมายให้เภสัชกรที่ได้รับการอบรมเป็นลายลักษณ์อักษร มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบที่ผ่านการอบรม เรื่อง การบริหารจัดการวัคซีนและ ระบบลูกโซ่ความเย็นอบรมเป็น ลายลักษณ์อักษร มีการพัฒนาเครือข่ายระดับผู้รับผิดชอบงาน (ประชุม อบรม และนิเทศงาน ๑ ครั้ง / ปี )

5 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๒. การมี และใช้ เอกสาร/คู่มือ/หนังสือ/ตำราในการการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ระดับคลังวัคซีน หน่วยบริการ คู่มือการบริหารจัดการวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น คู่มือการบริหารจัดการวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น ตำราวัคซีนและการสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรค คู่มือการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค

6 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
จัดทำใบเบิกวัคซีนตาม แบบ ว. 3/1 ได้ครบถ้วนถูกต้อง » กรอกข้อมูลการเบิกวัคซีน และการใช้ในเดือน ที่ผ่านมาครบถ้วนทุกช่อง » คำนวณความต้องการใช้วัคซีนและอัตราการ สูญเสีย ๓. การเบิก และ จ่ายวัคซีน ส่งใบเบิก ให้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ / ฝ่ายเภสัชกรรม » อย่างน้อย 1 สัปดาห์ ก่อนที่จะมารับวัคซีน

7 แบบฟอร์มสำหรับเบิกวัคซีน (แบบฟอร์ม ว.3/1)

8 กำหนดอัตราสูญเสียวัคซีนแต่ละชนิด (Wastage rate : WR)
อัตราสูญเสียวัคซีนในเด็กก่อนวัยเรียนและหญิงมีครรภ์ 􀀹 ขนาดบรรจุ 1 โด๊ส อัตราสูญเสีย ร้อยละ 1 􀀹 ขนาดบรรจุ 2 โด๊ส อัตราสูญเสีย ร้อยละ 10 􀀹 ขนาดบรรจุ 10 – 20 โด๊ส อัตราสูญเสีย ร้อยละ 25 􀀹 ยกเว้น BCG ในเด็กแรกเกิด อัตราสูญเสีย ร้อยละ 50 อัตราสูญเสียวัคซีนในเด็กนักเรียน ป.1 และ ป.6 􀀹 ทุกขนาดบรรจุ อัตราสูญเสีย ร้อยละ 10

9 ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน ( Wastage multiplication faction : WMF )
WMF = 100 / (100-WR) ที่มาของ WMF วัคซีนทั้งหมด 1 ขวด คิดเป็นร้อยละ 100 ถ้ามีการสูญเสียวัคซีน ร้อยละ WR วัคซีน 1 ขวดจะให้บริการเด็กได้  100 – WR คน ดังนั้น ถ้าจะใช้วัคซีน 100-WR โด๊ส ต้องเตรียมวัคซีนเผื่อไว้ 100 โด๊ส ถ้าต้องการใช้วัคซีน n โด๊ส ต้องเตรียมวัคซีนไว้ = n x 100/ (100-WR) โด๊ส

10 อัตราสูญเสียวัคซีน (WR) ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน (WMF) และขนาดขวดบรรจุจำแนกรายวัคซีนที่ใช้ในประเทศไทย
รายการ OPV dT BCG MMR DTP DTP-HB HB JE IPV เด็ก <5ปี ป.1 ป.6 หญิง มี ครรภ์ แรก เกิด ขนาด บรรจุ โด๊ส/ขวด 20 10 1 2 อัตรา สูญเสีย (%) 25 50 WMF 1.33 1.11 1.01

11 การคำนวณการใช้วัคซีน
สูตรคำนวณจำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ D = A x B C A : จำนวนประชากรกลุ่ม เป้าหมายทั้งหมดที่มารับบริการ B : ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน (WMF) C : จำนวนโด๊สต่อขวด D : จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ กรณี สถานบริการมีการให้บริการมากกว่าเดือนละ 1 ครั้ง ต้องคำนวณปริมาณความต้องการใช้ในแต่ละครั้ง แล้วจึงนำผลของแต่ละครั้งมารวมกันเป็นประมาณการใช้วัคซีนใน 1 เดือน

12 การคำนวณอัตราสูญเสีย (หลังจากใช้วัคซีน)
= จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ (โด๊ส) - จำนวนคนที่ได้รับวัคซีน(คน) x 100 จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ (โด๊ส) จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ = ขวด X ขนาดบรรจุ รวมวัคซีนที่ตกแตก หมดอายุ และเสื่อมคุณภาพ

13 การคำนวณการใช้วัคซีน
ตัวอย่าง ในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 รพ.โชคชัย มีประชากรกลุ่มเป้าหมาย เด็กก่อนวัยเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ 80 ราย มีเด็กนอกพื้นที่มารับบริการจำนวน 20 ราย ให้คำนวณจำนวนวัคซีน OPV ที่ต้องการใช้ A : จำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด = = ราย B : ตัวคูณการสูญเสียวัคซีน (WMF) ของ OPV = 1.33 C : จำนวนโด๊สต่อขวดบรรจุของ OPV = 20 D : จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ = A x B C = 100 x 1.33 20 = ขวด ( เศษปัดเป็น 1 ขวด ) ดังนั้นจำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้  = 7 ขวด

14 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
การรับวัคซีน หน่วยบริการมารับวัคซีนจาก CUP ด้วยตนเอง ตรวจสอบอุปกรณ์ที่นำมารับวัคซีน » ตรวจสอบกระติก และ ice packs ที่นำมา รับวัคซีนให้ครบถ้วนและได้มาตรฐาน » ซองน้ำแข็งที่ใส่ในกระติก/กล่องโฟม ต้อง ทำให้เริ่มละลาย(Conditioning Icepack) ก่อนบรรจุ CUP ส่งวัคซีนให้หน่วยบริการ หน่วยบริการ ตรวจรับวัคซีนตามรายการ » กระติก หรือ กล่องโฟมอยู่ในสภาพดี » ice pack/ gel pack ยังละลายไม่หมด » จำนวนวัคซีน Lot. No. และวันหมดอายุ ครบถ้วนและตรงตามที่ระบุในใบนำส่ง » ไม่มีวัคซีนแตกเสียหาย » เครื่องหมาย VVM อยู่ในสภาพดี

15 Vaccine vial moniter

16 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
จัดทำทะเบียนรับ » จำแนกตามรายชนิดวัคซีน Lot. no. และวัน หมดอายุให้ครบถ้วนถูกต้อง จัดทำทะเบียนจ่าย » จ่ายวัคซีนตามหลัก First Expire First Out (FEFO) » ลงบันทึกการจ่ายวัคซีน แยกเป็นรายหน่วยบริการ (CUP) /รายครั้ง » มีรายละเอียดจำนวนวัคซีน Lot.no.และวันหมดอายุ (CUP/หน่วยบริการ) ๔. การจัดทำ ทะเบียน ยอดคงคลังของวัคซีนเป็นปัจจุบัน

17 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๕. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็น ตู้เย็นเก็บวัคซีนโดยเฉพาะ ระดับคลังวัคซีน » ชนิด 2 ประตู » ความจุไม่ต่ำกว่า 18 คิว » ฉนวนไม่น้อยกว่า 30 มม. ระดับหน่วยบริการ » ชนิด 1 หรือ 2 ประตู » ความจุไม่ต่ำกว่า 5 คิว » ฉนวนไม่น้อยกว่า 30 มม.

18 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๕. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็น กระติกวัคซีนใบเล็ก » ความหนาของฉนวนไม่ต่ำกว่า 30 มม. » ปริมาตรความจุ ≥ 1.7 ลิตร » ฝาปิดได้สนิท ไม่มีรอยแตก, สะอาด » มีซองน้ำแข็ง 4 แผ่น ที่บรรจุได้เต็มรอบด้าน » รักษาอุณหภูมิในช่วง +2 oC ถึง +8oC อย่างน้อย 24 ชม.

19 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๕. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ระบบลูกโซ่ความเย็น Icepack » ในระดับหน่วยบริการ อย่างน้อย 4 อัน เทอร์โมมิเตอร์ » ในระดับหน่วยบริการ สอบเทียบ / เทียบเคียงปีละ 1ครั้ง

20

21

22 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
การเก็บรักษาวัคซีนในขณะให้บริการ ให้บริการในที่ร่ม เก็บวัคซีนในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิอยู่ในช่วง +2OC ถึง +8OC วางขวดวัคซีนให้ตั้งตรง โดยไม่ให้ขวดวัคซีนสัมผัสกับ icepack ที่ยังไม่ละลาย หรือน้ำแข็งโดยตรง ดูดวัคซีนใส่ไซริงค์ แล้วให้บริการทันที ห้าม เตรียมไว้เป็นจำนวนมาก ห้าม มีเข็มปักคาขวดวัคซีน ถ้าให้บริการไม่ต่อเนื่อง

23

24

25 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
ปริมาณวัคซีนคงคลัง ในระดับคลังวัคซีน มีวัคซีนแต่ละชนิดคงเหลือไม่เกิน 2 เดือน หลังจ่ายให้หน่วยบริการ ในระดับหน่วยบริการ มีวัคซีนแต่ละชนิดคงเหลือไม่เกิน 1 เดือน หลังให้บริการ

26 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๗. การควบคุมอุณหภูมิตู้เย็น ๗.๑ ตรวจสอบอุณหภูมิ เช้า – น. เย็น – น. ให้ T อยู่ในช่วง +2OC ถึง +8OC ๗.๒ บันทึกอุณหภูมิ บันทึกต่อเนื่องทุกวัน และตรวจสอบให้ถูกต้องตามความเป็นจริง แล้วเก็บ ไว้เพื่อตรวจสอบการทำงานของตู้เย็น ไม่น้อยกว่า 6 เดือน

27 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๘. การดูแล บำรุงรักษา อุปกรณ์ ระบบลูกโซ่ความเย็น ตู้เย็น » ทำความสะอาดรอบนอกตู้เย็น » ขอบยางฝาตู้เย็นไม่ให้มีเชื้อราเกาะติด » วางตู้เย็นตั้งตรงและห่างจากฝาผนัง แต่ละด้านไม่ต่ำกว่า 6 นิ้ว » ประตูตู้เย็นปิดสนิท ( ป้องกันไม่ให้ความเย็นไหลออกตรวจสอบโดยใช้กระดาษ A4 สอดเข้าไป แล้วปิดฝาตู้ หากสามารถดึงกระดาษออกได้ แสดงว่าขอบยางเสื่อม และอาจทำให้ฝาตู้เย็นปิดไม่สนิท ) ปลั๊กตู้เย็น » มี Breaker เฉพาะของตู้เย็น หรือ » เต้าเสียบชนิดเดี่ยว พันเทปกาวปิด ทับให้แน่น หรือ » ถ้ามีหลายเต้าเสียบ ให้ใช้เทปกาวปิด ช่องที่เหลือ หรือ » ไม่ใช่ปลั๊กต่อพ่วง

28 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๘. การดูแล บำรุงรักษา อุปกรณ์ ระบบลูกโซ่ความเย็น ละลายน้ำแข็งใน ช่องแช่แข็ง » เมื่อหนาเกิน 5 มิลลิเมตร » ใส่ขวดน้ำที่มีฝาปิด หรือ Cool Pack ไว้ในช่องแช่ ผัก เพื่อ รักษาอุณหภูมิ ตู้เย็น

29 การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
๘. การดูแล บำรุงรักษา อุปกรณ์ ระบบลูกโซ่ความเย็น กระติกหรือกล่องโฟม » ล้างให้สะอาด และตาก ไว้ในที่ร่ม » ตรวจสอบรอยแตกร้าว ซองน้ำแข็ง » เก็บในช่องแช่แข็ง » ระดับน้ำในซองน้ำแข็ง ต้องไม่มากกว่าระดับที่ กำหนด เทอร์โมมิเตอร์ » แขวนหรือวางไว้ชั้นกลาง ตู้เย็น » ระวังอย่าให้หลุด หรือ หล่น » สอบเทียบ/เทียบเคียง ปี ละ 1 ครั้ง

30 การบริหารจัดการกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ในระบบลูกโซ่ความเย็น

31 การจัดทำแผนเตรียมความพร้อม (กรณีไฟฟ้าดับหรือตู้เย็นเสีย )
มีแผนเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น มีผังควบคุมกำกับการปฏิบัติงาน ติดไว้ในที่มองเห็นชัด (ระบุชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ ของผู้รับผิดชอบ) ซ้อมเตรียมความพร้อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

32 ตัวอย่างผังการเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น
WBC/รพ.สต. ชื่อผู้รับผิดชอบ ตู้เย็นเก็บวัคซีน รถส่งวัคซีนเสีย ขณะขนส่งวัคซีน ไฟฟ้าดับไม่เกิน 3 ชั่วโมง* ตู้เย็นเก็บวัคซีนเสีย ปิดประตูตู้เย็นไว้ห้ามเปิดเด็ดขาด ขอยืมรถจากหน่วยงานใกล้เคียง (ขณะขนส่งวัคซีน ควรมีเทอร์โมมิเตอร์ในกระติกวัคซีน) ไฟฟ้าดับเกิน 3 ชั่วโมง ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปเก็บไว้ ในตู้เย็นอื่น หรือ ใส่กระติก ที่มีอุณหภูมิ +2 ถึง +8 oC กรณีที่ไม่มีตู้เย็น/กระติก หรือมีกระติก แต่ไม่เพียงพอ ที่จะเก็บวัคซีน นำวัคซีนไปฝากไว้ในตู้เย็น ของหน่วยงานที่อยู่ใกล้เคียง นำวัคซีนไปฝาก รพ.แม่ข่าย 32 *กรณีตู้เย็นมีสภาพดี 32

33 เครื่องปั่นไฟฟ้าสำรอง
ในระดับคลังวัคซีนที่มีเครื่องปั่นไฟสำรอง มีการทดสอบการใช้งานเครื่องปั่นไฟ อย่างน้อย 1 ครั้ง / สัปดาห์ มีการตรวจสอบ ซ่อมบำรุงระบบไฟฟ้าสำรองอย่างน้อย1ครั้ง / ปี กรณีไฟดับ ถ้าเครื่องปั่นไฟสำรองไม่สามารถใช้งานได้ ภายใน 3 ชั่วโมง ให้ ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปไว้ในกระติกหรือกล่องโฟมที่มีอุณหภูมิ +2OC ถึง +8OC

34 ในระดับคลังวัคซีน หรือหน่วยบริการ ที่ไม่มีเครื่องปั่นไฟฟ้าสำรอง
กรณีไฟฟ้าดับไม่เกิน 3 ชั่วโมง ปิดประตูตู้เย็นไว้ ห้ามเปิดเด็ดขาด สอบถามการไฟฟ้าว่าจะจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ภายใน 3 ชั่วโมงหรือไม่ กรณีไฟฟ้าดับเกิน 3 ชั่วโมง ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปเก็บไว้ใน กระติก หรือกล่องโฟมที่อุณหภูมิ +2OC ถึง +8OC

35 กรณีตู้เย็นเก็บวัคซีนเสีย
ย้ายวัคซีนทั้งหมดไปเก็บไว้ในตู้เย็นอื่น หรือ กระติก หรือกล่อง โฟมที่อุณหภูมิ +2OC ถึง +8OC ดำเนินการแจ้งซ่อม / หรือจัดหาใหม่ หรือนำวัคซีนไปฝากไว้ที่ สถานบริการใกล้เคียง

36

37 มาตรฐานที่ ๓ การบันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลงานสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรค

38 การบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ
รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่ สนย. กำหนด

39 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสชนิดวัคซีน รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 010 BCG บีซีจี ฉีด Z23.2 011 BCGs บีซีจีเอส ป1 021 dTs1 ดีทีเอส1 Z23.5,Z23.6 022 dTs2 ดีทีเอส 2 023 dTs3 ดีทีเอส 3 ป2 024 dTs4 ดีทีเอส 4 ป6 031 DTP1 ดีทีพี1 2 Z27.1 032 DTP2 ดีทีพี2 4 033 DTP3 ดีทีพี3 6 034 DTP4 ดีทีพี กระตุ้น 1 18 035 DTP5 ดีทีพี กระตุ้น 2 48

40 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสชนิดวัคซีน รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 041 HBV1 ตับอักเสบบี 1 ฉีด Z24.6 042 HBV2 ตับอักเสบบี 2 2 043 HBV3 ตับอักเสบบี3 6 051 JE1 ไข้สมองอักเสบเจอี 1 18 Z24.1 052 JE2 ไข้สมองอักเสบเจอี 2 Z241 053 JE3 ไข้สมองอักเสบเจอี 3 30 061 MEASLES/MMR หัด คางทูม หัดเยอรมัน 9 Z27.4 072 MMRs ป1 073 MMR2 2 ปี 6 เดือน

41 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 081 OPV1 โอพีวี 1 กิน 2 Z24.0 082 OPV2 โอพีวี 2 4 083 OPV3 โอพีวี 3 6 084 OPV4 โอพีวี กระตุ้น 1 18 085 OPV5 โอพีวี กระตุ้น 2 48 086 OPVs1 โอพีวีเอส 1 ป1 087 OPVs2 โอพีวีเอส2 088 OPVs3 โอพีวีเอส 3 ป2 089 OPVC โอพีวีซี ให้การรณรงค์

42 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 201 dTANC 1 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 1 ฉีด สำหรับหญิงมีครรภ์ Z23.5,Z23.6 202 dTANC 2 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 2 203 dTANC 3 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 3 204 dTANC 4 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 4 (กระตุ้น) 205 dTANC 5 ดีทีเอเอ็นซี เข็ม 5 (กระตุ้น) 101 TT1/dT1 ทีที/ดีที เข็ม 1 บาดแผล Z23.5 102 TT2/dT2 ทีที /ดีที เข็ม 2 103 TT3/dT3 ทีที/ดีที เข็ม 3 104 TT4/dT4* ทีที/ดีที เข็ม 4 (กระตุ้น) 105 TT5/dT5 * ทีที/ดีที เข็ม 5 (กระตุ้น) X

43 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 101 TT1 ทีที เข็ม 1 ฉีด บาดแผล Z23.5 102 TT2 ทีที เข็ม 2 103 TT3 ทีที เข็ม 3 104 TT4 ทีที เข็ม 4 (กระตุ้น) 105 TT5 ทีที เข็ม 5 (กระตุ้น) 106 dT1 ดีที เข็ม 1 107 dT2 ดีที เข็ม 2 108 dT3 ดีที เข็ม 3 109 dT4* ดีที เข็ม 4 (กระตุ้น) 110 dT5 * ดีที เข็ม 5 (กระตุ้น)

44 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 091 DTPHB 1 ดีทีพีตับอักเสบบี 1 เข็ม 2 Z27.1,Z24.6 092 DTPHB 2 ดีทีพีตับอักเสบบี 2 4 093 DTPHB 3 ดีทีพีตับอักเสบบี 3 6 111 Rabies Vaccine 1 วัคซีนพิษสุนัขบ้า Z24.2 112 Rabies Vaccine 2 113 Rabies Vaccine 3 114 Rabies Vaccine 4 115 Rabies Vaccine 5 815 Flu ไข้หวัดใหญ่ Z25.1 816 Need for immunization agains influenza ไข้หวัดใหญ่2009 Z25.1 ( เพิ่มเติม มค.53) 901 dTC ดีทีซี ฉีด สำหรับการรณรงค์ Z23.5 Z23.6

45 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM J11 JE1:Lived attenuated ฉีด 1 ปี Z24.1 J12 JE2:Lived attenuated 2 ปี 6 เดือน 401 IPV-P 4 เดือน Z24.0 310 HPVs1 นร.หญิง ป.5 Z25.8 320 HPVs2 นร.หญิง ป.5 ห่างเข็มแรกอย่างน้อย 6 เดือน 311 HPVs+ กรณีให้เข็มแรกเมื่ออายุมากกว่า หรือเท่ากับ 15 ปี R11 RV2-1 กิน 2 เดือน ( ไม่เกิน 15 สัปดาห์ ) R12 RV2-2 4 เดือน ( ไม่เกิน 32 สัปดาห์ ) R21 RV3-1 R22 RV3-2 R23 RV3-3 6 เดือน ( ไม่เกิน 32 สัปดาห์ )

46 ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ (เดือน) รหัส ICD_10 _TM 074 MRC ฉีด 9 เดือนขึ้นไป Z24.4 Z24.5 075 MRs ป.1 076 MMRC Z27.4

47 การบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ
มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI เด็กแรกเกิด : BCG และ HB แรกเกิด เด็กก่อนวัยเรียน : DTP-HB, DTP, OPV, MMR และ JE นักเรียน ชั้น ป.1 : MR , dT, OPV, BCG ( ขึ้นกับประวัติการได้รับ วัคซีนในอดีต ) นักเรียน ชั้น ป.6 : dT หญิงตั้งครรภ์ : dT

48 การบันทึกข้อมูลผู้รับบริการ
ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการ ให้ครบถ้วน ถูกต้อง Print out รายงานมาตรวจสอบกับทะเบียนให้บริการ หรือตรวจสอบจาก family folder เปรียบเทียบกับข้อมูลในคอมพิวเตอร์ บันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป ในกรณีที่ผู้รับวัคซีนไม่มาตามนัด ให้บันทึกเลื่อนนัด เพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนครบทุกคนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น มาลงในคอมพิวเตอร์ โดยบันทึกสถานที่รับวัคซีนในช่อง “ที่อื่น

49 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google