งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Heat Stroke 2014.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Heat Stroke 2014."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Heat Stroke 2014

2 ข้อมูลใหม่ พบผู้ป่วย โรคลมร้อน Heat stroke หลังจากการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล หลังเข้ารับการรักษาโรคต่างๆ โดยเฉพาะจาก โรคเพลียแดด (อ่อนล้าจากความร้อน) หรือ Heat exhaust ความเสี่ยงจากการออกกำลัง ที่ส่งผลต่อการเกิด โรคลมร้อน Heat Stroke สูงสุดที่การ ออกกำลัง ตอนเย็น และการปรับปรุงวินัยทหารช่วงกลางคืน

3 ข้อมูลใหม่ จำนวนผู้ป่วย heat exhaust / heat stroke ในกลุ่ม BMI สูงลดลง

4 ลักษณะของผู้ป่วย เพลียแดด (อ่อนล้าจากความร้อน) และโรคลมร้อน จากการฝึกทหารใหม่ผลัด 1/56
Maj. Kanlaya Jongcherdchootrakul Department of Military and Community Medicine, Phramongkutklao College of Medicine

5 ลักษณะของผู้ป่วย เพลียแดด (อ่อนล้าจากความร้อน) (n=41) และโรคลมร้อน (n=14)
Heat exhaustion Heat stroke อายุ Mean ± SD. 21.0 ± 1.0 23.0 ± 3.0 Median 21.0 Min-max น้ำหนัก 68.0 ± 11.1 77.1 ± 7.9 66.5 79.5 ความสูง 168.8 ± 5.4 173.0 ± 6.3 168.0 174.5 ดัชนีมวลกาย 23.8 ± 3.5 25.8 ± 2.5 23.4 25.1

6 เพลียแดด (อ่อนล้าจากความร้อน)
ลักษณะของผู้ป่วย เพลียแดด (อ่อนล้าจากความร้อน) (n=41) และโรคลมร้อน (n=14) Heat Exhaustion เพลียแดด (อ่อนล้าจากความร้อน) Heat Stroke โรคลมร้อน N % n ระดับการศึกษา (n=40) (n=8) ป. 6 12 30 0.0 ม. 3 13 32.5 1 12.5 ม. 6 6 15 ปวช 3 7.5 2 25.0 ปวส 2.5 ปริญญาตรี 4 10 50.0 ปริญญาโท การใช้ยาเสพติด (n=39) (n=9) ใช้ 33.3 44.4 มีโรคประจำตัว (n=10) มี 9 22.5 10.0 ประเภทของการเกณฑ์ (n=38) สมัตร 16 42.1 7 77.8 จับฉลาก 22 57.9 22.2

7 ลักษณะของผู้ป่วย เพลียแดด (อ่อนล้าจากความร้อน) (n=41) และโรคลมร้อน (n=14)
Heat Exhaustion Heat Stroke n % อาชีพ (n=33) (n=10) นักเรียน 3 7.7 30.0 พนักงาน ลูกจ้าง 15 45.5 6 60.0 Worker 4 10.3 0.0 Jobless 2 5.1 1 10.0 Agricultural 15.4 Merchant Other สิ่งแวดล้อมการทำงาน (n=40) (n=9) ห้องปรับอากาศ 12 30 33.3 ในร่ม 9 22.5 44.4 กลางแจ้ง 17 42.5 11.1 5

8 วันที่เกิดอาการ โรคลมร้อน ผลัด 1/56 (n=45)
Number of cases Onset date

9 เวลา ที่เกิดอาการ โรคลมร้อน ผลัด 1/56 (n=45)
Number of cases Onset time

10 ข้อมูลใหม่ การเจ็บป่วยจากความร้อนในการฝึกทหารใหม่ เกิดมากในสัปดาห์ที่ 2 3 และ 4 ตามลำดับ เวลาที่เกิดส่วนใหญ่เกิดขณะหรือหลังจากการออกกำลังช่วงเย็นก่อนรับประทานอาหาร ผู้ที่มีความเสี่ยงได้แก่ BMI > 28 การศึกษาสูง สมัครมาเป็นทหาร ไม่เคยทำงานหนักมาก่อน ทำงานในห้องแอร์ มีประวัติติดสารเสพติด

11 ข้อมูลใหม่ การวัดอุณหภูมิกาย โดยการใช้ปรอท “ส่วนบุคคล” อมใต้ลิ้น หรือ ใต้รักแร้ จะให้ผลอุณหภูมิกาย ใกล้ความเป็นจริงกับอุณหภูมิแกนกาย เครื่องวัดอุณหภมิ ทางช่องหู ใช้ได้ดี แต่จะมีปัญหาในกรณีที่อุณหภูมิแวดล้อมสูง 35 องศาขึ้นไป เครื่องวัดอุณภูมิแบบ แบบอินฟาเรด ยิงหน้าผาก ต้องระวังว่าจะอ่านผลได้ต่ำกว่าความจริงอย่างมาก เมื่อมีเหงื่อออก มีลมพัด ในร่ม

12 การฝึกซ้อม ควรฝึกการปฏิบัติเมื่อล้มลง นำเข้าที่ร่ม ถอดเลื้อผ้า เช็ดตัว

13

14 ช่วงถึงโรงพยาบาล การตัดสินใจในการส่งต่อ รพ. ในพื้นที่ หรือ รพ.รร.6
ขาดการฝึกซ้อมรับผู้ป่วยลมร้อน ที่ต้องการการดำเนินการที่รวดเร็วและไม่สะดุดติดขัด ขาดการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก คอยแต่ตั้งรับ บางครั้งมีผู้ป่วยนอนอยู่ที่หน่วย ทำให้ล่าช้าส่งผลให้ผู้ป่วยอาการรุนแรง

15 การวินิฉัยอย่างทันท่วงที
การตรวจพบผู้ป่วยโรคลมร้อนแบบ Exertional อย่างทันท่วงทีและดำเนินการลดอุณหภูมิลงอย่างรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ จะทำให้เพิ่มอัตราการรอดชีพ และลดผลกระทบข้างเคียงจากโรคดังกล่าว การรู้ว่าเกิดโรคแล้ว การนำตัวส่งโรงพยาบาล ลดอุณหภูมิได้ทัน ได้รับการพักอย่างทันท่วงที ลดการตาย เพิ่มโอกาสที่จะทำให้อวัยวะต่างๆ รวมถึงสมองกลับมาเป็นปกติ

16 การป้องกันแนะนำใหม่เพิ่มเติม
การถอดเสื้อ เช็ดตัวด้วยผ้าชุบน้ำ ระหว่างพักการฝึก การใช้กระติกน้ำประจำกาย ระมัดระวังการวิ่งเย็นเป็นพิเศษ ผู้ที่มีอาการป่วยใดๆ งดวิ่งเย็น การซ่อมทหาร การงดการฝึกหลังการเจ็บป่วยจากลมร้อน

17 การบาดเจ็บจากความร้อน ในห้วงการฝึก ของกองทัพบก
พ.อ.ผศ.ราม รังสินธุ์ ภาควิชาเวชศาสตร์ทหารและชุมชน วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

18

19 โรคลมร้อนคืออะไร โรคลมร้อนหรือ Heat Stroke เป็นโรคที่มีการผิดปกติของร่างกายหลายระบบจากการได้รับความร้อนทั้งจากภายนอกและจากการออกกำลังกาย แล้วร่างกายระบายความร้อนออกไม่ทัน ซึ่งความร้อนจะทำลายระบบต่างๆจนอาจทำให้เสียชีวิตได้ อุณหภูมิแกนกายสูงกว่า 40◦C และ มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางเช่น การพูดจาสับสน ชัก หรือถึงขั้นหมดสติ

20 โรคลมร้อนป้องกันได้

21 โลกร้อนขึ้น ความอดทนของคนเปลี่ยนไป
โลกร้อนขึ้น ความอดทนของคนเปลี่ยนไป

22 ภาวะโลกร้อน 1993 2000

23 ความอดทนของคนเปลี่ยนไป
มนุษย์ ไม่ทนความร้อน เหมือนเดิมอีกต่อไป

24 จำนวนผู้ป่วยโรคลมร้อนในทหารกองประจำการ

25 จำนวนการป่วยและเสียชีวิตจากโรคลมร้อนในการฝึกทหารกองประจำการ

26 ปัจจัยบุคคล การคัดกรอง BMI การบาดเจ็บ การป่วยก่อนเป็นทหาร ยา ยาแก้หวัดต่างๆ เหล้า และสารเสพติด ความคุ้นชินจากความร้อน การเฝ้าระวังตนเองซึ่งรับรู้โดย (Self-monitor Perceived by) ทหารกองประจำการ ผู้ฝึก/ครูฝึก สิ่งแวดล้อม เวลาที่ออกกำลัง ความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิภายนอก พื้นผิวของสนาม AGENT=ความร้อน การฝึก การระบายความร้อน เครื่องแบบ

27 IDENTIFY HAZARDS: Key Risk Factors for EHI
Environment Higher temperature High humidity (WBGT) Activities High exertion Heavy loads/gear Repeated strenuous days Lack of Acclimatization Individual: Poor fitness (2 mi run > 16 min) Body mass index (BMI) > 26 Age>40 Gender (female) Minor illness Medication (e.g. antihistamine, blood pressure, decongestants) Alcohol past 24 hours Prior heat injury Skin rash, sunburn, or poison ivy Blood donation (<3 days) Sleep deprived ALSO: Highly motivated Most commonly though of risk factors are the climate/temperature and the level of physical activity /exertion, however there are numerous individual risk factors to be aware of – especially consider when a single individual has more than one of listed risk factors – the more risk factors the greater the potential risk of EHI. DRUGS THAT INTERFERE WITH TEMPERATURE REGULATION: Antihistamines (benadryl, atarax, ctm) Decongestants (sudafed) High Blood Pressure (diuretics, beta blockers) Psychiatric Drugs (tricyclic antidepressants, antipsychotics NOTE: Despite certain Army policies and training documentation that has been published, to date ( 2013) there is currently NO scientific evidence that caffeine, energy drinks, “fat burners” or dietary supplements affect the body’s ability to regulate heat. Why Highly motivated personnel are at risk- the desire to meet or exceed standards may lead some soldiers to continue to push themselves as early signs/symptoms of EHI occur. These soldiers should not be discouraged from pushing themselves but cadre should be aware of their tendency to push it so that they can be watched more closely.

28 แยกกลุ่มเสี่ยงที่มีโรคประจำตัว เพื่อง่ายต่อการเฝ้าระวัง

29

30 จำนวนผู้ป่วยโรคลมร้อน
จำนวนผู้ป่วยจากโรคลมร้อนในทหารกองประจำการกองทัพบกและสัดส่วน (%) จำแนกตามสัปดาห์ของการฝึกทหารใหม่ที่เริมเกิดอาการ สัปดาห์ของการฝึก จำนวนผู้ป่วยโรคลมร้อน สัดส่วน (%) 1 5 12.82 2 11 28.21 3 6 15.38 4 7 17.95 10.26 5.13 7 - 10

31 ห้วงเวลาที่เกิดอาการ จำนวนผู้ป่วยโรคลมร้อน
จำนวนผู้ป่วยจากโรคลมร้อนในทหารกองประจำการกองทัพบกและสัดส่วน (%) จำแนกตามห้วงเวลาการฝึกของแต่ละวันของการฝึกทหารใหม่ที่เริ่มเกิดอาการ ห้วงเวลาที่เกิดอาการ จำนวนผู้ป่วยโรคลมร้อน สัดส่วน (%) 0601 – 0900 5 12.82 0901 – 1200 1201 – 1500 4 10.26 1501 – 1800 21 53.85 1801 – 2100 3 7.69 2101 – 0600 1 2.56

32 จำนวนผู้ป่วยเจ็บโรคลมร้อนจากการฝึก ปี 56 ห้วงเวลาที่เกิดอาการ
สัปดาห์ที่ของ การฝึก จำนวนผู้ป่วย สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 4 สัปดาห์ที่ 3 7 สัปดาห์ที่ 4 1 สัปดาห์ที่ 5 5 สัปดาห์ที่ 6 ห้วงเวลาที่เกิดอาการ จำนวนผู้ป่วย 2 3 9 หลัง 2100 4

33 ดัชนีมวลกาย ของผู้ป่วยโรคลมร้อน 2556
รายที่ BMI 1 29.3 2 18.97 3 28.73 4 32.87 5 24.6 6 7 27.73 ดัชนีมวลกาย > 28 = 71.4 %

34 ปัจจัยเสี่ยงของโรคลมร้อน
อายุมากกว่า 40 ปี ยา: anticholinergics: Dramamine Dextrometrophan Benadryl antihistamines ACEI Skin diseases (eczema, poison ivy, skin graft, burns) โรคเฉียบพลันต่างๆ ไข้หวัด ทางเดินหายใจอักเสบ ท้องเสีย เป็นไข้ การขาดน้ำ การขาดการฝึกเพื่อเพิ่มความคุ้นชินกับความร้อน มี BMI ที่สูง สารเสพติด ยาม้า (Methamphetamine) การบริโภคอัลกอฮอล์อย่างหนัก การอดนอน เคยได้รับบาดเจ็บจากความร้อนมาก่อน

35 กลุ่มโรค การป่วยจากความร้อน (heat illness)
ผดหรือโรคผื่นร้อน – มีอาการผื่นคันตามร่างกายจากการอักเสบของต่อมเหงื่อ Hyperventilation การบวมจากความร้อน – มีการบวมบริเวณเท้า ขา มือ เริ่มใน 1 – 2 วันแรก โรคลมแดด – หน้ามืดเป็นลม หมดสติไป โรคตะคริวแดด – ปวดเกร็งบริเวณน่อง ต้นขา หรือไหล่ โรคเพลียแดด – มีอาการอ่อนเพลีย, วิงเวียน, มึนงง, ปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, ปวดกล้ามเนื้อ แต่ยังรู้สึกตัวตามปกติ อุณหภูมิแกนกายสูงขึ้นเล็กน้อย กล้ามนื้อสลายตัวจากความร้อน Heat related rhabdomyolysis โรคลมร้อน Heat Stroke

36

37 ผดหรือโรคผื่นร้อน เกิดจากการอุดกั้น อักเสบของต่อมเหงื่อ
ที่กำลังทำงานอย่างหนัก ไม่ใช่ผลเสียของความร้อนโดยตรง

38 เกร็งแดด หายใจเร็วหอบเกร็ง Hyperventilation

39 การบวมจากความร้อน พบในระยะการปรับตัวของร่างกายต่อการทนความร้อน
ไม่ได้เกิดจากการกินน้ำมากเกิน อาจเกี่ยวข้องกับการขับเกลือออกลดลง ไม่ต้องให้ยาขับปัสสาวะ ไม่ใช่ผลเสียของความร้อนโดยตรง

40 ลมแดด

41 โรคตะคริวแดด (Heat Cramps)

42 เพลียแดด Heat exhaustion “อ่อนล้าจากความร้อน”
เหงื่อออกมาก ออ่นล้า หมดกำลัง อย่างมาก เวียนหัว สับสน คลื่นไส้ ปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, ปวดกล้ามเนื้อ ยังรู้สึกตัว อุณหภูมิแกนกายสูงขึ้นเล็กน้อย หายใจเร็ว ตื้น หยุดฝึกอย่างน้อย 3 วัน

43 เพลียแดด Heat exhaustion อ่อนล้าจากความร้อน
ล้มลง ทรุดลง ไม่ไหว อุณหภูมิแกนกายสูงขึ้น แต่ยังไม่ถึง 40 องศา เร่งด่วนในการหยุดการออกกำลัง !!!!!! เร่งด่วนในการระบายความร้อน !!!!!!

44 โรคลมร้อนคืออะไร โรคลมร้อนหรือ Heat Stroke เป็นโรคที่มีการผิดปกติของร่างกายหลายระบบจากการได้รับความร้อนทั้งจากภายนอกและจากการออกกำลังกาย แล้วร่างกายระบายความร้อนออกไม่ทัน ซึ่งความร้อนจะทำลายระบบต่างๆจนอาจทำให้เสียชีวิตได้ อุณหภูมิแกนกายสูงกว่า 40◦C และ มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางเช่น การพูดจาสับสน ชัก หรือถึงขั้นหมดสติ

45 Exertional heat stroke ผู้สูงอายุโดนคลื่นความร้อน
Classical heat stroke Exertional heat stroke ฝึกทหาร นักกีฬา ผู้สูงอายุโดนคลื่นความร้อน

46 Physiology of Severe Exercise-Heat Strain
Core High Metabolic Activity High Body Temperatures High Skin Blood Flow Reduced Gut Blood Flow Reduced Brain & Muscle Blood Flow Dehydration & Energy Depletion Elevated Brain Metabolism Sawka & Young ACSM Adv. Exerc. Physiol 2006

47 ความร้อนมาจากไหน ? การออกกำลัง ความร้อนจากภายนอก ความชื้นในอากาศ Core

48 Cardiovascular Responses
เมื่ออกกำลัง อุณหภูมิสูงขึ้น เกิน 37 องศา จาก ภายใน โดยกล้ามเนื่อ ภายนอก อุณหภูมิอากาศ ความชื้น และ ความแตกต่างของอุณหภูมิการกับอากาศภายนอก เลือดไหลเวียนจาก อวัยวะภายใน ไปเลี้ยงผิวหนัง เพิ่ม จาก 250 ML/min  8 L/min

49 ร่างกายระบายความร้อนด้วยเหงื่อ
อาศัยการระเหยดูดความร้อนออกไป หากความชื้นอากาศสูงเหงื่อไม่ระบายความร้อน หากผิวหนังผิดปกติ เหงื่อจะไม่ระบาย

50

51 42 องศา เซลเซียส

52 Heat Injured Liver 3-days Post-Exposure
Non-Heated Control Heated Survivor Leon, Progress Brain Research 2007

53 กลไกระบายความร้อนออกจากร่างกาย
ในสภาพอากาศแห้ง การระบายความร้อน ออกจากร่างกายอาศัยเหงื่ออาจทำได้ถึง ~600 kcal/hr (มีเหงื่อออก 1020 cc/ช.ม.) คนแข็งแรงปกติอาจมีเหงื่อได้สูงสุดถึง 3 ลิตร ต่อ ช.ม. การระเหยของเหงื่อล้มเหลวถ้าความชื้นสัมพัทธ์สูงถึง 75%

54 แนวทางการป้องกัน การคัดกรอง ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคลมร้อน ออกจากทหารกองประจำการอื่นๆ เพื่อเฝ้าระวังเป็นพิเศษ มีขั้นตอนการฝึกทหารใหม่ที่ค่อยๆ เพิ่มความหนักขึ้นเพื่อให้เกิดความคุ้นชินกับความร้อน ในช่วงสองสัปดาห์แรกของการฝึก มีการปรับความหนักของการฝึกตามสภาพความร้อนและความชื้นในอากาศ มีการเฝ้าระวังติดตามอาการ การชั่งน้ำหนัก และวัดอุณหภูมิร่างกายทหารที่รับการฝึกเป็นประจำทุกวัน มีการเตรียมพร้อมการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นที่รวดเร็ว และถูกต้อง และนำส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด

55 การดื่มน้ำให้พอ

56 สังเกตสีน้ำปัสสาวะด้วยตนเอง
ต้องรีบแจ้งครูฝึก/ ผู้ช่วยครูฝึก และต้องถูกนำส่งพบแพทย์ทันที ต้องดื่มน้ำให้มากขึ้นกว่าปกติ และรอสังเกตสีน้ำปัสสาวะ ต้องดื่มน้ำทุกครั้งที่พักการฝึกและพยายามดื่มให้มากขึ้นเท่าที่จะดื่มได้ ควรรักษาการดื่มน้ำในปริมาณเดิม ให้ได้ตลอดทั้งวัน

57 เครื่องแต่งกาย เครื่องป้องกันต่างๆ ที่ทหารหรือนักกีฬาสวมใส่ จะมีส่วนในการลดศักยภาพในการระบายความร้อนจากร่างกายของบุคคลทำการฝึกได้

58 โรงนอน ช่วงกลางคืนเป็นเวลาที่ ความร้อนในร่างกายควรจะได้ลดลง จากความร้อนที่ฝึกมาทั้งวัน โรงนอนทหาร ไม่มีอากาศระบายเพียงพอ ร้อนอบอ้าว มีความหนาแน่นมาก บางครั้งปิดหน้าต่าง ระบายความร้อนไม่ได้ ความร้อนละสม อดนอน ร่วมด้วย

59 การอดนอน การอดนอนเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญมากประการหนึ่งของการเกิดการเจ็บป่วยจากความร้อน ตามปกติของร่างกายของเรานั้น อุณหภูมิแกนกายขณะพักจะเปลี่ยนแปลงไปตามห้วงเวลาของวันโดยจะต่ำสุดในตอนกลางคืน และสูงเพิ่มขึ้น 0.5°C to 1°C ในช่วงบ่ายและค่ำ การอดนอนจะส่งผลต่อสมดุลย์ของการเปลี่ยนแปลงอุณภูมิกายตามวงรอบวันดังกล่าว โดยจะทำให้ร่างกายปรับอุณหภูมิเข้าสู่จุดกำหนดขณะพัก (set point at rest) ได้ช้าลง และจะไปเปลี่ยนแปลงกลไกการปรับอุณหภมิในช่วงการออกกำลังกาย ผลของการอดนอนจะรวมไปถึงการทนความร้อนที่ลดลงของร่างกาย และทำให้ขั้นตอนการฝึกแบบค่อยเป็นค่อยไปเพื่อความคุ้นชินจากความร้อนได้ผลน้อยลง การเกิด EHS ในทหารที่ออกปฏบัติงานในการรบ จำนวน 10 ราย พบว่า 7 รายมีประวัติการนอนไม่เพียงพอก่อนการเกิดอาการ นอกจากนั้นในการทบทวนวรรณกรรมเรื่องเดียวกันนี้ยังพบว่าการมีประวัตินอนไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการชีวิตของผู้ป่วย EHS โดยการอดนอนอาจจะทำให้เกิดหารเปลี่ยนแปลงของ ระดับ cortisol ในร่างกาย หรือทำให้เกิดการลดลงของ growth hormone ซึ่งมีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย

60 ความร้อนในร่างกายนั้นสะสมได้
การฝึกจะลดความเสี่ยงจากการปรับเครื่องแต่งกาย การลดความเข้มข้นของการฝึก การลดระยะเวลาการฝึก และเพิ่มช่วงการพัก และการลดอุณหภูมิจากสิ่งแวดล้อม การเค่งครัดต่อวงรอบการฝึกการพัก การปฏิบัติตามตารางการฝึกที่ค่อยๆเพิ่มความเข้มข้นเพื่อให้เกิดความคุ้นชินจากความร้อน และ การให้น้ำดื่มที่เพียงพอเหมาะสม จะช่วยเพิ่มการทนความร้อนได้

61 ใครเสี่ยงอีก การปฏิบัติตนแบบมีระเบียบวินัยอย่างเต็มที่
โดยบุคคลดังกล่าวหากมีปัจจัยเสี่ยงเพิ่มเติม ไม่ว่าจะเป็นด้านสิ่งแวดล้อม ระบบองค์กร หรือในระดับบุคคล ก็จะเป็นเหตุสำคัญที่จะนำไปสู่การเกิด โรคลมร้อนแบบ Exertional ขึ้นได้ มีการออกกำลังที่ไม่สอดคล้องกับระดับความพร้อมของแต่ละบุคคล การมีระบบการคักแยกผู้ป่วยที่ไม่มีประสิทธิภาพหรือไม่มีระบบเลย การไม่สนใจคำแนะนำในเรื่องความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึกต่างๆ

62 การวินิฉัยอย่างทันท่วงที
การตรวจพบผู้ป่วยโรคลมร้อนแบบ Exertional อย่างทันท่วงทีและดำเนินการลดอุณหภูมิลงอย่างรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ จะทำให้เพิ่มอัตราการรอดชีพ และลดผลกระทบข้างเคียงจากโรคดังกล่าว

63 การวัดอุณหภูมิ การวัดอุหภูมิทางทวารหนักเป็นการวัดอุณหภูมิกายเพียงอย่างเดียวที่สามารถวัด core temperature ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ หากใช้แบบอื่น ต้องเข้าใจว่าจะได้อุณหภูมิที่ต่ำกว่าแกนกาย อาจถึง 1 องศาเซลเซียส นอกจะวัดได้ต่ำจากความเป็นจริงแล้วค่าดังที่ได้จากการวัดอุณหภูมิจากร่างกายภายนอกดังกล่ายังทำให้เกิดความรู้สึกปลอดภัยจากภาวะโรคจากความร้อนแบบผิดๆ (false sense of security) ดังนั้นการวัดอุณหภูมิในผู้ป่วยกลุ่มนี้ในมือของแพทย์และที่โรงพยาบาลต้องวัดจาก rectal temperature เท่านั้น

64 การไม่ได้รับการรักษาหรือได้รับการรักษาล่าช้า
โดยทั่วผู้ป่วย EHS ที่ไม่ได้อยู่ในการดูแลของผู้เชี่ยวชาญมักจะถูกปล่อยให้นอนอยู่ข้างสนามฝึก ห้องพัก หรือโรงยิม โดยผู้ดูแลไม่คิดว่าผู้ป่วยจะเป็นอะไรมากและจะมีอาการดีขึ้นเองในระยะเวลาอันสั้นหลังจากได้พัก ความผิดพลาดนี้ต้องได้รับการแก้ไขโดยการฝึกอบรมอย่างทั่วถึงอย่างต่อเนื่อง

65 การลดอุณหภูมิ ที่ไม่มีประสิทธิภาพ
ที่สำคัญคือระยะเวลาที่ใช้ในการลดอุณหภูมิ ตั้งแต่ล้มลงจะกระทั่งอุณหภูมิแกนกายลดลงถึงต่ำกว่า 40◦C ว่าจะสามารถทำได้ใน 30 นาทีหรือไม่ จะเป็นตัวกำหนดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตที่สำคัญ หากทำได้พบว่าจะไม่ทำให้เสียชีวิต

66 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เป้าหมายการลดอุณหภูมิ ลดลงให้ อุณหภูมิแกนกายต่ำกว่า 40 องศา ภายใน 30 นาที ถอดเสื้อผ้า แล้วรีบลดอุณหภูมิ ห่อหุ้มตัวด้วยผ้าเย็นจัด แช่น้ำแข็ง เช็ดตัว ด้วยน้ำอุณหภูมิปกติ เป่าให้น้ำระเหย ส่งต่อโดยด่วน ทำแผนการส่งต่อ ที่เร็วที่สุด !!!!!!

67 วิธีที่ดีที่สุดการนำผู้ป่วยที่ถอดเสื้อผ้าออกแล้วนอนแช่ลงในอ่างน้ำแข็ง และทำการคนน้ำแข็งและน้ำเย็นอย่างต่อเนื่องเพื่อให้นำความร้อนออกจากผิวหนังผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด และทำร่วมกับการใช้ผ้าชุบน้ำเย็นจัดบนศรีษะผู้ป่วยที่อยู่พ้นน้ำ

68 Temperature - duration area
The severity of the illness is a function of the temperature-duration area above a critical temperature (40.5oC ; 105oF), not so much the absolute max temperature

69 ข้อแนะนำในการเฝ้าระวัง
การคัดกรองผู้ที่เสี่ยงสูง อ้วน บาดเจ็บ ติดยา ป่วย เมาเหล้า จำแนกกลุ่มเสี่ยงออกจากการฝึกปกติ ทำเครื่องหมาย ติดตามอย่างใกล้ชิด ทำการเฝ้าระวังตนเอง โดยร่วมกับครูฝึก เพื่อให้ผู้ฝึก/ครูฝึก ได้รับรู้ผลของการเฝ้าระวังของทหารไปด้วยกันโดยทันที เฝ้าระวังอาการของการป่วยจากความร้อน เป็นลม ตะคริว เพลียแดด โรคลมร้อน “ทุกวัน” ทำการ ชั่งน้ำหนัก และ วัดอุณหภูมิกาย ก่อนนอน “ทุกวัน” ยังคงทำการเฝ้าระวังอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ ชักธงสัญญลักษณ์ เพื่อปรับการฝึกเหมือนเดิม

70 ข้อแนะนำในการป้องกันเพิ่มเติม
คัดแยก คนอ้วน เจ็บป่วย มีไข้ ท้องเสีย กินยา ออกแยกเป็นกลุ่มฝึกแยก เค่งครัดวงรอบการฝึกรายชั่วโมง ฝึก พัก ดื่มน้ำ ตามสัญญาณธง มีการเช็ดตัวระบายความร้อน ในช่วงการพักทุกชั่วโมง พักอาบน้ำในช่วงบ่าย ผู้ที่เจ็บป่วยจากความร้อนงดการฝึกอย่างน้อย 3 วัน สังเกตสีปัสสาวะตลอดเวลา เพิ่มการดื่มน้ำหากสีเข้ม

71 กระบวนการลดไข้ ถอดเสื้อผ้าออกให้หมด เปิดพัดลม
เช็ดตัวด้วยน้ำอุณหภูมิห้องให้ทั่วร่างกายรวมทั้งด้านหลัง (ไม่ใช้ น้ำเย็น, ไม่ใช้ alcohol) พ่นน้ำอุณหภูมิห้องด้วยเครื่องฉีด เป่าแห้งใช้ dryer ปรับอุณหภูมิเป็นพ่นด้วยลมอุ่น ทำ step 3-5 ซ้ำ จนกว่า core body temp ต่ำกว่า 38oc (คาดว่า core body temp ลดต่ำกว่า 38oc ภายใน 20 นาทีแรก) ใส่ NG tube lavage ด้วย saline in ice -สังเกต NG content ถ้ามี UGI bleeding ให้ทำจน clear -ถ้ายังมี core body temp > 39oc ให้ทำ cold lavage จนกว่า core body temp < 38oc

72 การปฐมพยาบาล ถอดเสื้อผ้าออก แช่น้ำแข็ง / ห่อหุ้มด้วยผ้าเย็นจัด
(พ่นละออง เช็ดตัว เป่าด้วยลมอุ่น) ส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด

73 การรักษาเมื่อถึงโรงพยาบาล
V/S วัด Core temp (Rectal Monitor) ABC IV fluid NSS (4 Celsius) French Retain Foley catheter เช็ดตัว เป่าลม Cooling blanket

74 ช่วงถึงโรงพยาบาล ขาดการวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก
ผู้ป่วยส่วนหนึ่งถูกส่งไปยัง รพ สาธารณสุข ไม่เข้าใจเรื่องการลดอุณหภูมิอย่างทันท่วงที ให้ต่ำกว่า 40 องศา ใน 30 นาที เมื่อมี case เข้าพร้อมๆ กันรับมือไม่ทัน รู้สึกกลัวที่จะวินิจฉัย Heat Stroke เมื่อผู้ป่วยกลับไปแล้วไม่ได้มีกระบวนการติดตามให้เกิดการพักอย่างแท้จริงผู้ป่วยเพลียแดด บางรายกลับมาใหม่เป็น Heat Stroke

75 หลักการดูแลผู้ป่วย กรณี โรคลมร้อนจากการฝึก ในบุคคลที่อายุน้อย
ลดอุณหภูมิร่างกายให้ต่ำกว่า 40 องศา ภายใน 30 นาที

76 ถอดเสื้อผ้าออก ทำการลดอุณหภูมิทันที !!

77 ข้อแนะนำเพิ่มเติม ทำการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
ผู้ฝึกทหารใหม่ นายสิบพยาบาล หน่วยฝึกทหารใหม่ แพทย์ โรงพยาบาลค่าย แพทย์ โรงพยาบาลชุมชนในพื้นที่ใหล้เคียงกับหน่วยฝึกทหารใหม่

78 ทหารแต่ละคน ทนความร้อนได้ไม่เท่ากัน

79 กล้าที่จะหยุดการฝึก !

80 ลดอุณหภูมิร่างกายเร็วที่สุด และส่งต่อทันที
Assume Heatstroke in any collapsed athlete in hot conditions; COOL FAST! หากพบว่า ทหารล้มลง สับสน หรือ หมดสติ สงสัยว่าเป็น โรคลมร้อน ทุกราย !!! ลดอุณหภูมิร่างกายเร็วที่สุด และส่งต่อทันที

81 ข้อพิจารณาจากข้อมูล ผลัด 1/56
การฝึก การวินิจฉัย ปฐมพยาบาล การส่งผู้ป่วย การรับการรักษาที่โรงพยาบาล การให้ออกจากโรงพยาบาลและทุเลาฝึก

82 ดัชนีมวลกาย ของผู้ป่วยโรคลมร้อน 2556
รายที่ BMI 1 29.3 2 18.97 3 28.73 4 32.87 5 24.6 6 7 27.73 ดัชนีมวลกาย > 28 = 71.4 %

83 ช่วงการฝึก การถึงโรงพยาบาลล่าช้า ส่วนหนึ่งเกิดจากการไม่แน่ใจว่าจะส่งดีหรือไม่ เป็นมากจริงหรือเปล่า เมื่อล้มลง ไม่ได้ฝึกการปฐมพยาบาลทันท่วงที โดยการถอดเสื้อผ้า และลดความร้อน การอดนอนเป็นปัจจัยสำคัญ สภาพโรงนอน การปรับปรุงวินัยตอนกลางคืน ทหารกลับจากโรงพยาบาลไม่ได้พักอย่างแท้จริงกลับไปฝึกและเกิดโรคที่รุนแรงขึ้น สีปัสสาวะเป็นสิ่งบ่งบอกอาการที่ดีทั้ง heat injury และ Rhabdomyolysis เกิดโรคลมร้อนได้แม้สีธงจะเป็นสีขาว เหลือง หรือเขียว

84 ช่วงการฝึก หน่วยบางหน่วยไม่ให้ความสนใจการดูแลโรคลมร้อนอย่างจริงจังคิดว่าการฝึกสำคัญกว่าและการดำเนินการป้องกันเป็นเรื่องยุ่งยาก และรบกวนการฝึก การฝึก กับการเอาใจใส่เรื่องลมร้อน เป็นเรื่องที่ขัดแย้งกัน การตัดสินใจพามาโรงพยาบาลผ่านการตกลงใจหลายขั้นตอนจนมาถึงช้า และมีการจัดเตรียมยานพาหนะที่ใช้ได้จริง ส พยาบาล ขาดความมั่นใจใจการทำหน้าที่ จำนวนไม่เพียงพอต่อการทำการคัดกรองและจัดทำเอกสารการรายงาน การปรับปรุงวินัย นอกการฝึกตามตารางฝึก มีผลต่อการเกิดโรค นอกเหนือไปจากการวิ่งตอนเย็น

85 ช่วงการฝึก หน่วยฝึกรู้สึกว่า การคัดกรอง การวัดอุณหภูมิกาย การชั่งน้ำหนัก ยุ่งยากไม่สอดคล้องกับการฝึก วัดไข้รายวันทำได้จริงเฉพาะผู้ที่ป่วยมาพบ ส พยาบาลเพื่อขอยา การติดสัญลักษณ์กลุ่มเสี่ยง ไม่มีผลต่อการฝึกใดๆ การระบาดของโรคระบบทางเดินหายใจเช่นไข้หวัด ส่งผลต่อเกรเกิด Heat stroke ในที่สุด ผู้ป่วยลมร้อน ส่วนหนึ่งมีประวัติเจ็บป่วยอื่นๆ มาก่อน นอกจากไข้หวัด แล้ว บางรายเป็นโรคทางจิตเวช หอบหืด เป็นต้น การเจ็บป่วยของทหารไม่ได้มีแต่ลมร้อน แต่มีโรคอื่นๆ ด้วยอีกมาก แต่การเป็นโรคอื่นๆ ทำให้ทหารเสี่ยงต่อลมร้อนมากขึ้น ดังนั้นการฝึกในกลุ่มทหารที่ป่วยจะต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง เช่ยงดวิ่งเย็นเป็นต้น ไม่เข้าใจอาการเพลียแดด heat exhaustion ไม่สามารถจำแนกอาการต่างๆ ได้ ทั้งๆที่ เพลียแดด เป็นกลุ่มอาการที่สำคัญ เราต้องการให้ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลเร็วที่สุด เพราะถ้าลดความร้อนทันจะไม่เป็น heat stroke

86

87 เพลียแดด Heat exhaustion “อ่อนล้าจากความร้อน”
เหงื่อออกมาก อ่อนล้า หมดกำลัง อย่างมาก เวียนหัว สับสน คลื่นไส้ ปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, ปวดกล้ามเนื้อ ยังรู้สึกตัว อุณหภูมิแกนกายสูงขึ้นเล็กน้อย หายใจเร็ว ตื้น หยุดฝึกอย่างน้อย 3 วัน ???


ดาวน์โหลด ppt Heat Stroke 2014.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google