ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับผักสวนครัว
บทที่ 2 การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับผักสวนครัว
2
ดิน : เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมพื้นผิวของโลก
เกิดจากการแปรสภาพของหิน แร่ และอินทรีย์วัตถุผสมคลุกเคล้ากันตามธรรมชาติ
3
ภาคตัดขวางของดินแสดงให้เห็นการทับถมของดิน
4
ลักษณะของดิน ดินชั้นบน ดินชั้นล่าง 1. ดินนับจากผิวดินจนถึงดินที่ลึกประมาณ 20 cm 2. ดินที่มีสารอินทรีย์สะสมมาก ทำให้ดินมีสีคล้ำ 3. เม็ดดินมีขนาดโต ทำให้ช่องว่างระหว่างเม็ดดินมีขนาดใหญ่ น้ำและอากาศผ่านสะดวก 1. ดินที่อยู่ลึกกว่า 20 cm ขึ้นไป 2. ดินที่มีสารอินทรีย์สะสมน้อย ทำให้ดินมีสีจาง 3. เม็ดดินมีขนาดเล็ก ทำให้ช่องว่างระหว่างเม็ดดินมีขนาดเล็ก น้ำและอากาศผ่านยาก
5
ชั้น โอ (O-horizon) เป็นช่วงชั้นดินที่มีสารอินทรีย์สะสมตัวอยู่มาก มักมีสีเทาหรือเทาดำ
ชั้น เอ (A-horizon) เป็นเขตการซึมชะ (Zone of Leaching) เป็นชั้นที่น้ำซึมผ่านจากชั้นบน แล้วทำปฏิกิริยากับแร่ บางชนิด เกิดการสลายตัวของแร่ สารละลายที่ได้จะซึมผ่านลงไปสะสม ตัวในชั้นต่อไปทำให้ดินชั้นนี้ มีสีจาง ชั้น บี (B-horizon) เป็นเขตการ สะสมของแร่ในชั้นดิน ( Zone of Accumulation ) เป็นชั้นที่มีการตกตะกอน และสะสมตัวของแร ่จากสาร ละลายที่ไหลลงมาจากชั้น เอ ชั้นดิน มักมีสีแดง หรือน้ำตาลแดงตามสีแร่ที่มาสะสมตัวอยู่ ชั้น ซี (C-horizon) เป็นชั้นหินผุ (Weathered rock) ที่หินบางส่วนผุพัง กลายเป็นดินปะปนกับเศษหิน ที่แตกหัก มาจากชั้นหินดานเดิม
8
ความสำคัญของดินที่มีต่อพืช
1. แหล่งน้ำ 2. แหล่งอากาศ 3. สิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต 4. ยึดเหนี่ยวรากพืช
10
ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืชผัก
1. มีความลึกพอประมาณ (หน้าดิน) 2. ร่วนซุย 3. ถ่ายเทอากาศดี 4. ระบายน้ำดี 5. มีอินทรียวัตถุสูง 6. ปราศจากโรคและแมลง
13
องค์ประกอบของดิน 1. อนินทรีย์วัตถุในดิน (Mineral or inorganic matter) 2. อินทรียวัตถุในดิน (Organic matter)
16
หน้าที่หลักของอินทรียวัตถุ
- ให้ธาตุอาหารไนโตรเจนแก่พืช - ช่วยอุ้มน้ำ ดูดซับน้ำ - ดูดยึดธาตุอาหาร - อนุภาคดินจับยึดกันเป็นเม็ดดิน - ร่วนโปร่ง - ระบายน้ำ - ถ่ายเทอากาศดี
19
3. น้ำในดิน (Soil water) 4. อากาศในดิน (Soil air) จำเป็นต่อ - พืช - กิจกรรมจุลินทรีย์ 5. จุลินทรีย์ในดิน
20
เนื้อดิน (Soil texture)
เนื้อดิน : ความหยาบหรือความละเอียดของดิน โดยคิดจากสัดส่วนของอนุภาคที่เป็นอนินทรีย์สารขนาดต่าง ๆ หรือปริมาณสัดส่วนของอนุภาค Sand Silt หรือ Clay
21
สัดส่วนการกระจายตัวของอนุภาคดิน
สัดส่วนการกระจายตัวของอนุภาคดิน
22
1. Sand อนุภาคเม็ดทรายมีขนาดอนุภาคใหญ่ที่สุด
- มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง มม. - ลักษณะหยาบ - มีเหลี่ยมมุม - มักอยู่เดี่ยว ๆ ไม่จับกัน - ไม่ดูดยึดน้ำ ธาตุอาหาร
23
Sandy soil
24
2. Silt เป็นแร่ที่มีลักษณะเป็นแผ่นแบน
- มีขนาด มม. - ลักษณะไม่ค่อยจับเกาะกันเอง - จับกับอนุภาคอื่น - เรียงซ้อนกันเป็นแผ่น - เนื้อสัมผัสมีลักษณะคล้ายแป้ง - ไม่ค่อยดูดยึดน้ำและแร่ธาตุ - มักเป็นตัวการไปอุดตันตามช่องว่างในดินและกีดขวางการซึมของน้ำในดิน
25
Silt Soil
26
3. Clay เม็ดดินเหนียว - เป็นเศษแร่ขนาดเล็ก ละเอียดที่สุด - มีขนาดเล็กกว่า มม. - มีคุณสมบัติชอบดูดยึด มักรวมกันเองเป็นก้อน - ดูดยึดน้ำและอาหารบางชนิดไว้ได้
27
Dry Heavy Clay Soil
28
อนุภาคของดิน
29
ประเภทเนื้อดิน Sand ดินทราย 2. Loamy sand ดินร่วนทรายหรือดินทราย 3. Sandy loam ดินร่วนปนทราย 4. Loam ดินร่วน 5. Silt loam ดินร่วนปนซิลต์หรือดินร่วนปนตะกอน หรือดินร่วนปนทรายแป้ง
30
6. Silt ทรายแป้งหรือซิลต์หรือดิน ตะกอน
7. Sandy clay loam ดินร่วนเหนียวปนทราย 8. Clay loam ดินร่วนเหนียวหรือดินร่วนปน ดินเหนียว 9. Silty clay loam ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินร่วนเหนียวปนซิลต์หรือ ดินร่วนเหนียวปนตะกอน
31
10. Sandy clay ดินเหนียวปนทราย
11. Silty clay ดินเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินเหนียวปนซิลต์หรือดิน เหนียวปนตะกอน 12. Clay ดินเหนียว
32
ความเป็นกรด-ด่างของดิน
นิยมบอกเป็นค่า pH ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลและสภาพแวดล้อม
33
ระดับ pH ควบคุม - การเจริญเติบโตของพืช - การเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช - คุณสมบัติของดิน - กิจกรรมของจุลินทรีย์
34
pH ที่เหมาะสมสำหรับการปลูกผักบางชนิด
หน่อไม้ฝรั่ง บีท กะหล่ำปลี แตงเทศ ถั่วลันเตา ผักกาดหัว, กะหล่ำดอก, ขึ้นฉ่าย, ถั่วลันเตา,ผักกาดหอม
35
soil pH affects the availability of many mineral elements
soil pH affects the availability of many mineral elements. A pH of 6 to 7 ensures a good supply of most elements. The exceptions are Fe, Mn, Zn, Cu and Co. Most plants have developed means to solublelize these elements at moderate pH values.
39
การปรับปรุงและแก้ไขดินให้เหมาะสำหรับปลูกผัก
1. การปรับปรุงแก้ไขคุณสมบัติทางกายภาพของดิน
40
1.1 ดินทรายและดินร่วนปนทราย (Sandy soils)
- ขนาดเม็ดดินใหญ่ - อุ้มน้ำได้น้อย - มีอาหารพืชน้อย - ถูกความร้อนก็ร้อนจัด
42
การปรับปรุงดินทรายและดินร่วนปนทราย
ก. ใส่อินทรีย์วัตถุ
43
ข. ใส่ปูนขาว
45
ค. ใส่ปุ๋ยคอก
46
ง. ปลูกพืชตระกูลถั่วแล้วไถกลบ
47
1.2 ดินเหนียว (Clayey soils)
- ขนาดเม็ดดินเล็ก - อุ้มน้ำไว้มาก - เมื่อเปียกจะเหนียวจัด - เตรียมดินยาก - เมื่อแห้งจะแข็ง ย่อยยาก
48
วิธีการปรับปรุงดินเหนียว
ก. ใส่อินทรีย์วัตถุ ข. ใส่ทราย ค. ใส่ปูนขาว ง. ทำร่องระบายน้ำ จ. ปลูกพืชตระกูลถั่วแล้วไถกลบ ฉ. ไถหรือขุดดินตากแดด
49
ปัญหาที่เกิดกับดิน
51
แผ่นภาพดิน โครงสร้างดิน (Soil Structure)
แบบก้อนกลม (Granular) ขนาด 1-10 มม. มักพบในดินชั้นบน ระบาย น้ำ/อากาศ ได้ดี มีรากพืชปนอยู่มาก แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky) ขนาด 1-5 ซม. มักพบในดินชั้นล่าง น้ำ/อากาศ ซึมได้ มีรากหญ้าปานกลาง แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic) ขนาด 1-10 ซม. มักพบในดินชั้นล่างน้ำ/อากาศ ซึมได้ ปานกลาง แบบแท่งหัวมน(Columnar) ขนาด 1-10 ซม. ยอดบนเป็นเกลือ มักพบในเขตแห้งแล้ง น้ำ/อากาศ ซึมได้น้อย แบบแผ่น (Platy) เรียงตัวแนวระนาบ ซ้อนเหลื่อมเป็นชั้น มักพบในดินที่มีการอัดตัว ขัดขวางรากพืช น้ำ/อากาศ ซึมได้ยาก แบบอนุภาคเดี่ยว (Single Grained) ไม่มีการยึดตัวติดกันเป็นก้อน มักพบในดินทราย น้ำ/อากาศ ซึมผ่านได้ดี การยึดตัวของดิน (Soil Consistence) แบบก้อนทึบ (Massive) ดินเนื้อละเอียด ยึดตัวติดกันเป็นพืด ไม่แตกตัวเป็นเม็ด น้ำ/อากาศ ซึมผ่านได้ยาก ร่วนมาก (Loose) ร่วนน้อย (Friable) แน่น (Firm) แน่นมาก (Extremely Firm) © The LESA Project
52
การปรับปรุงคุณภาพดิน
วิธีการอนุรักษ์ดิน การปลูกพืชคลุมดิน
53
การปลูกพืชหมุนเวียน
54
การใส่ปูน ไถกลบเพื่อแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
การใส่ปูน ไถกลบเพื่อแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
55
การไถกลบพืชที่เก็บเกี่ยวแล้ว ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุให้ดิน
การไถกลบพืชที่เก็บเกี่ยวแล้ว ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุให้ดิน
56
สีของดิน สีของดินจะทำให้เราทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ปริมาณอินทรียวัตถุที่ปะปนอยู่และแปรสภาพเป็นฮิวมัสในดิน ทำให้สีของดินต่างกันถ้ามีฮิวมัสน้อยสีจะจางลงมีความอุดมสมบูรณ์น้อย ลักษณะโครงสร้างที่ดีของดิน ได้แก่ สภาพที่เม็ดดินเกาะกันเป็นก้อนเล็ก ๆ อยู่รวมกันอย่างหลวม ๆ ตลอดชั้นของหน้าดิน
57
ปลูกแฝกเป็นรูปตัวเอส
การปลูกแฝกเพื่ออนุรักษ์ดิน ปลูกแฝกเป็นรูปตัวเอส
58
ปลูกแฝกขวางแนวลาดชัน
ปลูกแฝกขวางแนวลาดชัน
59
รากแฝกที่หยั่งรากในดิน
รากแฝกที่หยั่งรากในดิน
60
โสนอัฟริกัน ถั่วพร้า
61
การใช้แกลบเพื่อปรับปรุงดิน
การใช้แกลบเพื่อปรับปรุงดิน
62
กระบวนการกำเนิดดิน จากหินและแร่ที่เกิดการผุพังรวมกับสารอินทรีย์กลายเป็นดิน
63
การเตรียมดิน ไถด้วยผาลสาม 1 ครั้ง ลึก เซนติเมตร ตากดิน 2-3 สัปดาห์ พรวนด้วยผาลเจ็ด 1 ครั้ง ปรับระดับดินให้ สม่ำ เสมอแล้วคราดเก็บเศษซาก ราก เหง้า หัวและไหลของวัชพืชข้ามปีออกจากแปลง
65
การไถพรวนดินอย่างถูกวิธี เป็นการกลับดินเพื่อทำให้อากาศและน้ำ แทรกลงไปในดิน เป็นประโยชน์ต่อพืช การพรวนดินเป็นการเพิ่มอากาศให้แก่ดิน ไม่ควรใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่เหยียบย่ำ ดินมากจนเกินไป ควรมีการไถดินให้ลึก เมื่อดินมีชั้นดินดานตื้น
66
การรักษาความชุ่มชื้นในดิน โดยใช้ฟางหรือใบไม้คลุมดิน การปลูกพืช คลุมดินไม่ให้ผิวดินว่างเปล่า ช่วยรักษา ความชุ่มชื้นในดินได้อย่างดี
67
การปลูกพืชคลุมดินและปลูกพืชบำรุงดิน พื้นที่ว่างเปล่า หรือพื้นที่ ระหว่างแถวต้นไม้ผล ควรปลูกพืชตระกูลถั่วเพื่อบำรุงดินและเพิ่มปุ๋ยให้กับดิน ดินที่อยู่ตามพื้นที่ลาดชันควรปลูกหญ้าหรือแฝกปกคลุมดิน กันการชะกร่อน เนื่องจากฝนตก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.