งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
เลขฐานต่างๆ การแปลงเลขฐานต่างๆ เกตพื้นฐาน

2 ELECTRONICS Analog Electronics Digital Electronic Analog signals
Continuous : ค่าที่ต่อเนื่อง Digital Electronic Digital Signals Discrete : ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง

3 Analog Signals +V -V Voltage Time

4 Digital Signals +V -V Voltage Time

5 Analog Voltmeter

6 Digital Voltmeter

7 ระบบดิจิตอล ระบบดิจิตอล เป็นระบบที่การทำงานแสดงด้วยสถานะที่แตกต่างกัน โดยไม่มีความต่อเนื่องระหว่างกัน เช่น สวิทซ์ไฟฟ้า ที่มีการสถานะการปิด และ สถานะการเปิด ระบบตัวเลขฐานสิบที่ใช้ในชีวิตประจำวันที่มีตัวเลข 10 ตัว เป็นต้น ในระบบดิจิตอลเองก็ยังแบ่งย่อยลงไปตามจำนวนค่าที่ใช้งาน ระบบที่นำมาใช้งานในคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ ระบบไบนารี่ (Binary system) ที่จำนวนสถานะหรือค่าที่ใช้มีเพียง 2 ค่าที่ตรงกันข้าม

8 ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Electronics)
ระบบดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์นั้น เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่การทำงานแสดงด้วยค่าความต่างศักย์เป็นระดับ ๆ ที่แตกต่างกัน เช่นการใช้ค่าแรงดัน 10 ค่าสำหรับแทนค่าตัวเลขในฐานสิบแต่ละตัว เนื่องจากระบบดิจิตอลที่นิยมใช้กันคือ ระบบไบนารี่ ที่มีเพียง 2 ค่า ระบบอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลที่นำมาใช้กันในปัจจุบันจึงเป็นระบบที่ใช้ค่าความต่างศักย์ที่แตกต่างกัน 2 ระดับ คือความต่างศักย์ค่าต่ำ และความต่างศักย์ค่าสูง เช่น ค่า 0 โวลท์ และ +5 โวลท์ เป็นต้น

9 ระบบตัวเลข (Number System)
ระบบตัวเลขที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ คือ ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ที่มีตัวเลขเพียง 2 ตัวคือ 0 และ 1 สำหรับตัวเลขในฐานอื่น ๆ ที่นำมาใช้เป็นตัวเลขที่สัมพันธ์กับเลขฐานสอง เราใช้เพื่อช่วยในการใช้งานเลขฐานสองให้ใช้ได้สะดวกขึ้น ได้แก่ เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก และระบบตัวเลขที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบเลขฐานสิบ

10 ระบบตัวเลข (Number System)
Binary เลขฐานสอง Octal เลขฐานแปด Decimal เลขฐานสิบ Hexadecimal เลขฐานสิบหก

11 ระบบเลขฐานสอง (Binary Number Systems)
ระบบเลขฐานสอง เป็นระบบตัวเลขที่มีเลขที่ใช้เขียนจำนวน 2 ตัวคือเลข 0 และ เลข 1 เช่น 0, 1001, , เป็นต้น

12 ระบบเลขฐานสอง 1000 1 1001 10 1010 11 1011 100 1100 101 …. 110 1111 111 10000 1000

13 Number of combinations = 2N
ระบบเลขฐานสอง Most Significant Bit 101100 MSB LSB Least Significant Bit Maximum count = 2N – 1 Number of combinations = 2N N is the number of bit

14 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
ระบบเลขฐานสิบ 10n 10n-1 …… ระบบเลขฐานสอง MSB LSB 2n 2n-1 ……

15 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
395410 (3×103) + (9×102) + (5×101) + (4×100) = = 3954 101102 (1×24 ) + (0×23 ) + (1×22 ) + (1×21 ) + (0×20 ) = = 22

16 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
ตัวอย่าง จงแปลง เป็นเลขฐานสิบ × × × × × × × (1×64)+(0×32)+(0×16)+(0×8) + (1×4) + (1×2) + (1 ×1) = = 71

17 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
ตัวอย่าง จงแปลง ไปเป็นเลขฐานสิบ × × × × × × × (1×8) + (0×4) + (0×2) + (0×1) + (1×0.5)+(1×0.25)+(1×0.125) = = 8.875

18 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
ตัวอย่าง จงแปลง 4510 ไปเป็นระบบเลขฐานสอง วิธีที่1 1 1 1 1 45-32 = 13 13-8 = 5 5-4 = 1 1-1 = 0 4510 =

19 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
ตัวอย่าง จงแปลง 4510 ไปเป็นระบบเลขฐานสอง วิธีที่2 2 ) 45 2 ) เศษ 1 LSB 2 ) เศษ 0 2 ) เศษ 1 2 ) เศษ 1 เศษ 0 MSB 4510 =

20 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
ตัวอย่าง จงแปลง ไปเป็นระบบเลขฐานสอง MSB 0.75 x = 0.5 x = LSB =

21 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
ตัวอย่าง จงแปลง ( )10 ไปเป็นระบบเลขฐานสอง วิธีทำ 2 ) 41 2 ) เศษ 1 LSB 2 ) เศษ 0 2 ) เศษ 0 2 ) เศษ 1 เศษ 0 MSB 4110 = ( คำตอบส่วนที่ 1)

22 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
MSB วิธีทำ (ต่อ) x = x = x = x = x = LSB = ( คำตอบส่วนที่ 2) =

23 ระบบเลขฐานแปด (Octal number system)
ในระบบเลขฐานแปด มีตัวเลขแตกต่างกัน 8 ตัว คือ จาก 0 ถึง 7 ตัวอย่าง จงนับเลขฐานแปดจาก จนถึง 7108 666 667 670 671 .. 676 677 700

24 ระบบเลขฐานแปด n0 n1 n2 n3 n4 n5 n6 n7

25 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
เนื่องจากเลขฐานสอง 3 บิตสามารถแทนค่าได้ 8 ค่าเท่ากับระบบเลขฐานแปด 1 หลัก การแปลงจึงทำได้โดยการแบ่งกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 บิต เริ่มจากขวาไปซ้าย แล้วแปลงแต่ละกลุ่มเป็นเลขฐานแปด 1 หลัก แล้วนำมาเขียนเรียงต่อกัน ตัวอย่าง แปลง เป็นเลขฐานแปด =

26 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
จงแปลง ไปเป็นเลขฐานแปด ตอบ =

27 การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
ในการแปลงจากฐานแปดกลับไปเป็นระบบเลขฐานสองนั้น เรานำแต่ละหลักของเลขฐานแปดมาเขียนเป็นเลขฐานสอง (1 หลักได้ 3 บิต) แล้วนำมาเขียนเรียงต่อกัน เช่น แปลงเป็นเลขฐานสองได้ดังนี้ =

28 ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal number system)
ระบบเลขฐาน 16 คือระบบที่มีเลขจำนวน 16 ตัว โดยใช้เลข 1 ถึง 9 และอักษรภาษาอังกฤษคือ A, B, C, D, E, และ F รวม 6 ตัว แทนค่าที่ต่อจาก 9 (คือ ค่า ในฐานสิบ) ตามลำดับคือ A B C D E และ F

29 ระบบเลขฐานสิบหก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 10 11 12 13 14 15 16 17
1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 1A 1B 1C 1D 1E 1F 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 2A 2B 2C 2D 2E 2F . n0 n1 n2 n3 n4 n5 n6 n7 n8 n9 nA nB nC nD nE nF

30 เลขฐานสิบหก ตัวอย่าง จงเขียนเลขฐาน 16 จาก AE9 ถึง B00 วิธีทำ AE8 AE9
…… AEE AEF AF0 AF1 AFE AFF B00

31 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
การแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหกทำได้ในลักษณะเดียวกับการแปลงเลขเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด เพราะเลขฐานสอง 4 บิตสามารถแทนค่าได้ 16 ค่าเท่ากับเลขฐานสิบหก 1 หลัก ในการแปลง เราแบ่งเลขฐานสองออกกลุ่มละ 4 บิตเริ่มจากขวาไปทางซ้ายแล้วแปลงแต่ละกลุ่มเป็นเลขฐานสิบหก 1 บิตแล้วนำมาเขียนเรียงต่อกัน หากกลุ่มซ้ายสุดมีไม่ครบ 4 บิต ให้เติม 0 ลงไปข้างหน้าให้ครบแล้วจึงแปลงเป็นเลขฐานสิบหก ในกรณีของทศนิยมให้เริ่มจากขวา(บิตแรกหลังจุดทศนิยม)ไปซ้าย

32 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
ตัวอย่าง จงแปลง ไปเป็นเลขฐาน 16 วิธีทำ B = B916

33 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
ตัวอย่าง จงแปลง ไปเป็นเลขฐาน 16 วิธีทำ B = B.916

34 การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง
วิธีการแปลงทำได้โดยการแทนเลขฐานสิบหก 1 หลักด้วยเลขฐานสอง 4 บิตแล้วนำมาเขียนเรียงกัน ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง จงแปลง C3A616 เป็นระบบเลขฐานสอง วิธีทำ C A C3A616 =

35 การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง
ตัวอย่าง จงแปลง C3.A616 เป็นระบบเลขฐานสอง วิธีทำ C A C3.A616 =

36 แผนภูมิการแปลงเลขฐานต่าง ๆ
เลขฐานสิบหก เลขฐานสอง เลขฐานสิบ เลขฐานแปด เลข BCD

37 LOGIC GATE ลอจิกเกต

38 คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานในลักษณะเดียวกับการทำงานของสมองมนุษย์ที่ต้องมีความสามารถหลัก 2 ส่วนประกอบกันคือ ความสามารถในการคิดคำนวณหรือการประมวลผล และความสามารถในการจำ วงจรหรืออุปกรณ์ทางดิจิตอลที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ 2 ประเภทคือ เกต (Gate) สำหรับการประมวลผล และ ฟลิป-ฟลอป (Flip-Flop) สำหรับการจำ

39 เกต (Gates) เกตเป็นอุปกรณ์หรือวงจรที่ใช้ในการดำเนินการต่าง ๆ ที่เรียกว่าการประมวลผล (Processing) เกตพื้นฐานมี 3 ชนิดคือ - อินเวอร์เตอร์ (INVERTER - NOT) - แอนด์ (AND) - ออร์(OR) เพื่อความสะดวกในการใช้งานจึงได้มีการสร้างเกตขึ้นมาอีกหลายชนิดโดยการนำเกตพื้นฐานมาประกอบกันเป็นเกตใหม่หลายชนิด เช่น - แนนด์ (NAND) - นอร์(NOR) - เอ็กซ์คลูซีฟ-ออร์ (XOR) - เอ็กซ์คลูซีฟ-นอร์ (XNOR)

40 เกต (Gates) เกตเป็นอุปกรณ์หรือวงจรที่มี input ตั้งแต่ 1 input ขึ้นไป และมี 1 output โดยค่าของ output จะขึ้นกับค่าของ input หรือการประกอบกันของค่าของ input ค่าของ input แต่ละตัวมีค่า 2 ค่า คือ 0 หรือ 1 ค่าของ output แต่ละตัวมีค่า 2 ค่า คือ 0 หรือ 1

41 เกต (Gates) การแสดงการทำงานของเกตใช้ตารางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง input และ output ในทุกกรณีของ input ที่เป็นไปได้ที่เรียกว่า ตารางความจริง (Truth Table) Input Output A B Y 1

42 อินเวอร์เตอร์ (Inverter / NOT)
อินเวอร์เตอร์ เป็นเกตที่มี 1 input 1 output วงจรจะให้ output ที่ตรงกันข้ามกับ input input = 0 0utput = 1 และ input = 1 output = 0

43 อินเวอร์เตอร์ (Inverter / NOT) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง
Input Output A Y 1 Inverter Truth Table

44 อินเวอร์เตอร์ (Inverter / NOT)
1 1

45 แอนด์ เกต (AND Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input ทุกตัวมีค่าเป็น 1 กรณีอื่น ๆ ของ input ค่า output จะมีค่า 0

46 แอนด์ เกต (AND Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง
Input Output A B Y 1 Truth Table

47 ออร์ เกต (OR Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input ตัวใดตัวหนึ่งมีค่าเป็น 1 เมื่อ input ทุกตัวมีค่า 0 ค่า output จะมีค่า 0

48 ออร์ เกต (OR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง
Input Output A B Y 1 Truth Table

49 แนนด์ เกต (NAND Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มีการทำงานตรงกันข้ามกับ AND gate (วงจรจะให้ output เป็น 0 เมื่อ input ทุกตัวมีค่าเป็น 1 กรณีอื่น ๆ ของ input ค่า output จะมีค่า 1)

50 แนนด์ เกต (NAND Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง
Input Output A B Y 1 Truth Table

51 นอร์เกต (NOR Gate) เป็นเกตที่มี input ตั้งแต่ 2 input ขึ้นไป มีการทำงานตรงกันข้ามกับ OR gate (วงจรจะให้ output เป็น 0 เมื่อ input ตัวใดตัวหนึ่งมีค่าเป็น 1 เมื่อ input ทุกตัวมีค่า 0 ค่า output จะมีค่า 1)

52 นอร์ เกต (NOR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง
Input Output A B Y 1 Truth Table

53 เอ็กซ์คลูซิฟออร์ เกต (XOR Gate)
เป็นเกตที่มี input 2 input มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input มีค่าต่างกัน ให้ output เป็น 0 เมื่อ input มีค่าเหมือนกัน

54 เอ็กซ์คลูซิฟออร์ เกต (XOR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง
Input Output A B Y 1 Truth Table

55 เอ็กซ์คลูซิฟนอร์ เกต (XNOR Gate)
เป็นเกตที่มี input 2 input มี 1 output วงจรจะให้ output เป็น 1 เมื่อ input มีค่าเหมือนกัน ให้ output เป็น 0 เมื่อ input มีค่าต่างกัน

56 เอ็กซ์คลูซิฟนอร์ เกต (XNOR Gate) สัญลักษณ์ สมการบูลลีน และตารางความจริง
Input Output A B Y 1 Truth Table


ดาวน์โหลด ppt ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google