ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAusten Cunningham ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM
การสนับสนุนและชดเชยการบริการ เพิ่มเติมจากงบเหมาจ่ายรายหัวปกติ(On-top payment) เป้าหมายเพื่อ ค้นหาผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ระยะเริ่มแรก (Early Detection) รักษาผู้ป่วยตั้งแต่ต้น (Prompt Rx) เพิ่มคุณภาพการรักษาผู้ป่วย (Improve Quality of Rx)
2
ความแตกต่างระหว่างปี 2555 และปี 2556
งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง (บริการควบคุม ป้องกันความรุนแรงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง) ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การสนับสนุนการชดเชยค่าบริการ 1.วิธีการคิดงบประมาณ 1.1 จัดสรรตามจำนวนผู้ป่วยที่มีในทะเบียน (80%) จาก OP individual จัดสรรตามความครอบคลุมและคุณภาพบริการ (20%) จาก P4P และ สำรวจของ CRCN 2. วิธีการจัดสรรผ่านจังหวัดงบประมาณ 2.1 จัดสรรให้หน่วยบริการ (≥90%) ค่าบริการดำเนินการร่วมกันระดับจังหวัด(<10%) 3. โอนตรงให้หน่วยบริการ (รูปแบบ CUP) เหมือนเดิม
3
ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง
3.งบบริหารการบริการ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2556
4
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงจากปี 55
1. ยกเลิก Co pay ในผป. HD รายเก่า (ก่อน 1 ตค 51 ) [ ออกประกาศ HD ฉ 3 แล้ว ] 2 บูรณาการ 3 กองทุน 1. จัดให้มีเกณฑ์การบำบัดทดแทนไตเดียวกันทั้ง 3 ระบบ [ ตามสมาคมโรคไตประกาศ ] 2. ให้ผู้ป่วยที่เปลี่ยนสิทธิการรักษาพยาบาลมีความต่อเนื่องในการรักษาด้วยวิธีบำบัดทดแทนไตโดยไม่ต้องเปลี่ยนวิธี 3. ปรับ dose ยา EPO Hct >30 ให้ตามจริงไม่เกิน U x 4/ด. Hct<30 ให้ตามจริงไม่เกิน 4000U X 8/ด.
5
บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD)
ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การแบ่งประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยรายเก่าที่มีสิทธิ หมายถึง ผป.UC และผป.ที่เปลี่ยนสิทธิจากระบบอื่น ซึ่งทำ HD มาก่อน 1 ต.ค. 51 และไม่ประสงค์ทำ CAPDผป.ต้องร่วมจ่ายครั้งละไม่เกิน 500 บาท สปสช.สนับสนนุนครั้งละ 1,000บาท หรือ 1,200 บาท ผป. HD รายใหม่ที่มีสิทธิ หมายถึงผป.ที่มีข้อบ่งชี้ไม่สามารทำ CAPD หรือต้องเปลี่ยนจาก CAPD มาเป็น HD และผ่านคกก.ฯไตจังหวัด ทั้งก่อนและหลัง 1 ต.ค. 51 สปสช.สนับสนุนครั้งละ 1,500บาท หรือ 1,700 บาท ผป. HD รายใหม่ตั้งแต่ 1 ต.ค. 51 ไม่สมัครใจทำ CAPD และไม่ผ่านผ่านคกก.ฯไตจังหวัด เพื่อให้ใช้วิธี HD ผป.รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง ยกเลิกการร่วมจ่าย 500 สำหรับผู้ป่วยรายเก่าที่มีสิทธิ (หมายถึง ผป.UC ทำ HD ก่อน 1 ต.ค. 51 หรือผป.สิทธิอื่น ซึ่งทำ HD จากสิทธิเดิม หากเปลี่ยนมาใช้ UC )สปสช.สนับสนุน 1,500 บาท หรือ 1,700 บาท เหมือนเดิม
6
บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD)
ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การชดเชยให้หน่วยบริการ ค่าฟอกเลือด รายเก่าครั้งละ 1,000 บาท ( ร่วมจ่าย500 บาท) รายใหม่ที่มีสิทธิครั้งละ 1,500 บาท กรณีผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และมีโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอวัยวะอื่นร่วมด้วย และฟอกเลือดในหน่วยบริการที่มีการให้บริการไอซียู ชดเชยรายเก่าครั้งละ 1,200 บาท รายใหม่ที่มีสิทธิครั้งละ 1,700 บาท 2. ยา Erythropoietin Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(8,10)ต่อเดือน Hct > 30 – 36% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(4,5)ต่อเดือน 3. ค่าทำเส้น HD การชดเชย ผป.รายเก่าและรายใหม่ ครั้งละ 1,500 บาท กรณีผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และมีโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอวัยวะอื่นร่วมด้วย และฟอกเลือดในหน่วยบริการที่มีการให้บริการไอซียู จ่ายครั้งละ 1,700 บาท Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U * 8 ต่อเดือน Hct > 30% ให้ยา EPOขนาดไม่น้อยกว่า4000 U * 4 ต่อเดือน เหมือนเดิม
7
การล้างไตทางช่องท้อง (CAPD)
ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การสนับสนุน/ชดเชยค่าบริการ น้ำยา CAPD ไม่เกิน 150 ถุงต่อเดือน ยา Erythropoietin Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(8,10)ต่อเดือน Hct > 30 – 36% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(4,5)ต่อเดือน 3. สาย TK 1 สาย/ผู้ป่วย 1 ราย/ปี 4. ชดเชยค่าบริการแบบเหมาจ่าย 5. ค่าภาระงาน 1. น้ำยา CAPD ไม่เกิน 124 ถุงต่อเดือน 2. ยา Erythropoietin Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาด ไม่น้อยกว่า4000 U * 8 ต่อเดือน Hct > 30% ให้ยา EPO ขนาด ไม่น้อยกว่า4000 U * 4 ต่อเดือน ข้อ 3-5 เหมือนเดิม
8
การปลุกถ่ายไต (KT) Mr.ESRD รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 KT
การชดเชย ก่อนการปลูกถ่ายไต 1.1 ผู้บริจาค 1.2 ค่าใช้จ่ายสำหรับเตรียมผู้ป่วย 2. ระหว่าง ปลูกถ่ายไต เหมาจ่ายค่าผ่าตัดปลูกถ่ายไตตามแผนการรักษา 3. ค่าใช้จ่าย ยากดภูมิ หลังการปลูกถ่ายไต เหมือนเดิม
9
4.งบบริการเฉพาะโรค ปีงบประมาณ 2556
10
cataract ปีงบประมาณ 2556 หน้า 108
11
cataract ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556
เป้าหมาย senile cataract ตั้งเป้ารวมประเทศ หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ ค่าผ่าตัด (รวมค่าภาระงาน 1,200 บาท) Non-complication (รหัส 2060,2070) ข้างละ 7,000 บาท - Complication (รหัส , ) ข้างละ 9,000 บาท ค่าเลนส์ - Foldable Lens ชดเชยข้างละ 2,800 บาท - Non- Foldable Lens ชดเชยข้างละ 700 บาท 1. เป้าหมายรายเขต 9,984 ดวงตา 2. หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ Non-complication, และ Non-comorbidity (รหัส 2060,2070) ชดเชยข้างละ 7,000 บาท Complication, Comorbidity (รหัส , ) ชดเชยข้างละ 9,000 บาท เหมือนเดิม 11
12
Asthma & COPD หน้า 92
13
แนวทางการบริหารงบปี 56 ที่แตกต่างจากปี 55
รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 1. Asthma & COPD 1.1 Asthma การชดเชย (เพิ่มเติม) - ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดสเตียรอยด์ จำนวน 1,000 บาท/ราย - ชดเชยตามผลลัพธ์การให้บริการ จำนวน ไม่เกิน 2,000 บาท/ราย - เหมือนเดิม การส่งข้อมูล - บันทึกในโปรแกรม Easy asthma clinic - ส่งชุดข้อมูล (data set) ผ่าน Website สปสช. 1.2 COPD - ชดเชยการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกจำนวน 100 บาทต่อครั้งที่ให้บริการ - ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว จำนวน 1,000 บาทต่อราย ชดเชยการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด จำนวน 1,000 บาทต่อราย - ชุดข้อมูล (data set ) ผ่าน Website สปสช. 13
14
อัตราการรับเข้าไว้นอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหืดที่เข้าคลินิก
Amd rate =0 รพ.แม่วงก์ รพ.บ้านไร่ รพ.ห้วยคต รพ.ทรายทองวัฒนา รพ.วังทรายพูน รพ.โพทะเล รพ.ค่ายจิรประวัติ รพ.ร่มฉัตร รพ.บึงสามัคคี Amd ratr > 13 รพ.วัดสิงห์ รพ.สรรพยา รพ.บรรพตพิสัย รพ.ไพศาลี รพ.ลานสัก รพ.ปางศิลาทอง
15
การดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง และการบริหารยาMorphine
หน้า 118
16
แนวทางการบริหารงบปี 56 ที่แตกต่างจากปี 55 (ต่อ)
รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 Morphine ในผู้ป่วยระยะสุดท้าย จัดสรรตามเครือข่ายบริการ ผ่าน สปสช.เขต บริหารจัดการตามการดำเนินงานของ สปสช.เขต ส่งข้อมูลผ่านระบบ E-Claim ครอบคลุมเฉพาะการให้ยามอร์ฟีน จัดสรรให้หน่วยบริการ ตามข้อมูลผลงานที่กำหนด ในระบบ E–Claim (ตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง เดือนมิ.ย. 56 โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 1 ส.ค. 56) ครอบคลุมการให้ยามอร์ฟีน บริการทำความสะอาดแผล และบริการการให้ออกซิเจนเพื่อบรรเทาอาการที่บ้าน (จำนวนผลงานคิดจากจำนวนวันที่ผู้ป่วยได้รับยามอร์ฟีน ชุดทำความสะอาดแผล และออกซิเจนสำหรับใช้ที่บ้าน คูณกับน้ำหนักของบริการ) การจัดสรร แบ่งเป็น 2 งวด ดังนี้ - งวด 1 จัดสรรให้ตามผลงานบริการตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง ธ.ค. 55 ภายใต้วงเงินร้อยละ 20 ของวงเงินทั้งหมด โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 15 ม.ค. 56 - งวด 2 จัดสรรเพิ่มเติมจากที่ได้รับจัดสรรแล้วในงวดที่ 1 ตามผลงานที่เพิ่มขึ้น โดยใช้ข้อมูลผลงานรวมตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง เดือน มิ.ย. 56 ภายใต้วงเงินงบประมาณทั้งหมด โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 1 ส.ค. 56
17
STEMI & STROKE หน้า 68
18
แนวทางการบริหารงบปี 56 ที่แตกต่างจากปี 55 (ต่อ)
รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 STEMI การชดเชย ค่ารักษาพยาบาล ตาม DRGs On top ค่ายาละลายลิ่มเลือด ได้แก่ 1. SK 10,000 บาท 2. rt-PA 50,000 บาท DRG + On top ค่ายาละลายลิ่มเลือด ได้แก่ 1. SK 10,000 บาท 2. rt-PA ปรับลดเป็น ,000 บาท การส่งข้อมูล ผ่านระบบ Eclaim และ DMIS เหมือนเดิม Stroke On top ค่ายาละลายลิ่มเลือด (rtPA) ค่า CT Scan และ/หรือกายภาพบำบัด เหมาจ่าย ต่อราย 60,600 บ. โดยต้องมีข้อมูลครบทั้ง 3 เงื่อนไข DRG + On top เป็นค่ายาละลายลิ่มเลือด (rtPA) เหมาจ่ายต่อราย 49,000 บ. (โดยหน่วยบริการต้องมีการให้บริการและบันทึกข้อมูลครบทั้ง CT Scan ก่อน/หลังให้ยา และ การยาละลายลิ่มเลือด และ/หรือ PT) ผ่านระบบ Eclaim STEMI, Stroke: ค่ายา rtPA ปรับลดลงจากเดิม เนื่องจากคำนวณราคายาอ้างอิงราคากรมบัญชีกลาง Stroke: DRGs Version 5 ครอบคลุม CT และ PT แล้ว 18
19
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
การบริหารจัดการ นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ปีงบประมาณ 2556 หน้า 116
20
หลักการบริหารจัดการ ส่วนที่แตกต่างจากปี 55 มีการปรับการบริการจัดการ เพื่อควบคุมคุณภาพบริการสลายนิ่วแบบ - จ่ายแบบเหมาความสำเร็จ ในหน่วยบริการนิ่วเอกชน / และ รพ.รัฐ ที่ใช้ out source - ใช้ CPG ของสมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะฯ - มีระบบ post audit 20
21
การบริหารจัดการนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 อัตราการจ่ายชดเชยค่าบริการ Class 1 Open / PCNL ราคา 25,000 บาท(รวมค่าภาระ 5,000 บาท) ไตข้างละ 1 ครั้ง/คน/ปี 2. Class 2 ส่องกล้อง ราคา 16,000 บาท (ค่าภาระงาน 3,000 บาท) ไตข้างละ 1 ครั้ง/คน/ปี 3. Class 3 ESWL ราคา 6,500 บาท (ค่าภาระงาน 1,200 บาท/ครั้ง) เบิกไม่เกิน 4 ครั้ง/ข้าง/คน/ปี Class 1 Open / PCNL เหมือนเดิม 2. Class 2 ส่องกล้อง เหมือนเดิม 3. Class 3 เปลี่ยนแปลง ดังนี้ 3.1 ชดเชย ESWL ราคา6,500 บาท (ค่าภาระงาน 1,200 บาท/ครั้ง) เบิกไม่เกิน 4 ครั้ง/คน/ปี 3.2 ชดเชยเป็น Episode 16,000 บาท/ข้าง/คน/ปี ESWL ไม่จำกัดจำนวนครั้ง โดยจะมีการ Audit ก่อนจ่าย หมายเหตุ –หน่วยบริการของรัฐสามารถเลือกการจ่ายชดเชยตามข้อ 3.1 หรือ 3.2 - หน่วยบริการของรัฐที่ outSource และ เอกชน จะจ่ายชดเชยตามข้อ 3.2 เท่านั้น หมายเหตุ การเหมาจ่ายตามราคากลางที่กำหนด โดยไม่หักเงินเดือน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.