ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Rationale ของการทำวิจัย
โดย ดร. พงษ์วิทย์ บัวล้อมใบ ศูนย์อ้างอิงทางห้องปฏิบัติการโรคติดต่อนำโดยแมลง
2
เอกสารคำแนะนำ ท่านได้รับการเชิญชวนให้มารับฟังการบรรยายเรื่อง Rationalของการวิจัย วันที่ 15 กรกฎาคม 2552 การบรรยาย ในครั้งนื้ จะนำไปสู่การได้รับความเข้าใจบางส่วนในการเขียนโครงร่างวิจัยอย่างสมบูรณ์ โดยเนื้อหาบางส่วน อาจจะมีการยกตัวอย่างบางประโยคที่คล้ายคลึงกับเนื้อหาของโครงการวิจัยของบางท่าน แต่จะไม่เกิดอันตรายหรือมีการเปิดเผยชื่อท่านแต่อย่างใด แต่ท่านอาจจะเกิดอาการหงุดหงิดนิดหน่อย แต่ไม่ช้าก็จะหายไปเอง โดยท่านสามารถอนุญาติ ให้หยุดหรือข้ามบางประโยคในระหว่างบรรยาย หรือให้หยุดการบรรยายได้ แต่ท่านยังคงที่จะได้รับการตอบข้อสงสัยได้อย่างกระจ่างแจ้ง
3
กระบวนการยินยอม กระบวนการนี้ คือกระบวนการยินยอมด้วยวาจา หากท่านตัดสินใจที่เข้าร่วมรับฟัง ขอให้ท่านแสดงการยินยอมด้วยวาจา
4
สำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ
9
ประโยชน์ของการทบทวนเอกสาร
ประชากร ค่าตัวอย่าง Error
10
หัวข้องานวิจัยที่ดี ต้อง
1. ใช้หลัก อรัยสัจ สี่ มีแนวคำตอบปัญหา มากกว่า 1 คำตอบ 2. มีแนวโน้มในทางนโยบาย 3. ขนาดของปัญหาสุขภาพ 4. ผลกระทบด้านสังคม 5. ไม่เคยมีผู้ทำวิจัยมาก่อน 6. มีความหลากหลายในทางปฏิบัติ 7. ความเป็นไปได้ในการนำไปเปลี่ยนแปลงในระดับผู้ปฏิบัติ 8. เป็นที่สนใจของสาธารณ, สังคม และแหล่งให้ทุน
11
หลักการกำหนดปัญหาหรือหัวข้องานวิจัย
ไม่กว้างจนเกินไป การจำกัดขอบเขต โดยบุคคล โดยระยะเวลา โดยทางภูมิศาสตร์ โดยสาขาการผลิต
12
ก่อนไปหลักอริยสัจ 4 หัวข้องานวิจัยที่ดี ต้อง
อธิบายเหตุผลและความจำเป็นของการศึกษาในขอบเขตความรู้ปัจจุบัน ภายใต้กิจกรรมและวัตถุประสงค์ของงาน ควรจะมีข้อความเกี่ยวกับ กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบ, สังคม, ผลกระทบทางด้านสุขภาพ, นโยบาย, การให้บริการ, หรือโปรเกรมที่เกี่ยวข้อง อธิบายสมมุติฐานที่กำลังจะถูกทดสอบ และจุด end point ที่จะศึกษา เพื่อพิสูจน์สมมุติฐาน WHO, 1991
13
หัวข้อ วิจัยที่ดี Feasible Interesting Novel Ethical Relevant
- adequate number of subjects - adequate technical expertise - affordable in time & money Interesting - to investigator - to funding agency Novel - original study - extending works of others Ethical - to human/animal subjects Relevant - to scientific knowledge - to clinical and health policy - to future research directions
14
ประเภทงานวิจัย เชิงทฤษฎี แบบบริสุทธิ์ เพื่อค้นหา และบุกเบิก
วิจัยเอกสาร เชิงประจักษ์ ประยุกต์ เพื่อคาดการณ์ เชิงสังเกตุ เชิงปฏิบัติ เชิงพรรณา เชิงทดลอง เชิงวิเคราะห์ เชิงศึกษาต่อเนื่องระยะยาว เฉพาะกรณี
15
เปรียบเทียบงานวิจัย เชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ
Subject:Naïve to experimental hypothesis Participants: Involved in research, are fully informed Reliability: involves measurements without error Reliability: Not relevant Goal: Truth, explain, predict, confirm conjectures, extend knowledge Goal: describe, interpret, critique, revise, change
16
คำตอบเกี่ยวกับปัญหา คำตอบ เกี่ยวกับปัญหา
รู้ปัญหาที่ต้องวิจัย หรือหาคำตอบ โดยแยกปัญหาให้ถ่องแท้ - รู้อะไรเป็นปัญหา - รู้ว่าสิ่งนั้น ควรเป็นอย่างไร ปัญหา = ( สิ่งที่ควรเป็น - สิ่งที่เป็นอยู่) x ความกังวล/ความอนาทร รู้อะไรเกี่ยวกับปัญหา - ความชุก/อุบัติการของปัญหา - เกิดที่ไหน - เกิดกับใคร
17
- สาเหตุของปัญหา มีอะไรบ้าง
- ปัญหานั้น พอจะแก้ไขได้ไหม - สามารถตอบปัญหานั้น ได้หมดไหม 2. ความสำคัญของปัญหา - ยังคงเป็นปัญหาหรือไม่ - ปัญหาเกิดจากคนจำนวนมาก - ปัญหาเกิดเฉพาะบางกลุ่ม - สามารถศึกษาปัญหานั้น ได้ไหม - มีทางแก้ปัญหาหรือไม่
18
พักสายตา
19
ประโยชน์ของการทบทวนเอกสาร
ให้พื้นฐานทางทฤษฎี ทบทวน/เชื่อมโยง สิ่งที่จะนำเสนอกับ สิ่งที่ได้ทำการศึกษาไปแล้ว ช่วยในการออกแบบการทดลอง ช่วยในการตั้งหัวข้อเรื่อง
20
การตั้งคำถาม แบ่งคำถามย่อย ออกเป็นส่วนๆ จัดกลุ่มของคำถาม
21
อริยสัจ 4 ทุกข์ สมุทัย นิโรจ มรรค
22
1. การวิเคราะห์ปัญหา 2. 3. 4. 1.สถานภาพของปัญหา
2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง กับสิ่งที่เป็นจริง 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ
23
1. การวิเคราะห์ปัญหา(ต่อ)
ปัญหา(ในทางสาธารณสุข)คือ = เหตุการณ์ หรือภาวะของโรคที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง ที่มี ผลกระทบ ต่อสุขภาพของคน หรือสัตว์ ( ทั้งๆที่ในช่วงนั้น มีวิธีการ หรือเทคโนโลยี ในการแก้ไขปัญหานั้นแล้ว) สถานภาพของปัญหา ควรทำการศึกษาวิจัย ไม่ต้องทำการศึกษาวิจัย
24
1. การวิเคราะห์ปัญหา(ต่อ)
ปัญหา(ในทางสาธารณสุข)คือ = เหตุการณ์ หรือภาวะของโรคที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง ที่มี ผลกระทบ ต่อสุขภาพของคน หรือสัตว์ ( ทั้งๆที่ในช่วงนั้น มีวิธีการ หรือเทคโนโลยี ในการแก้ไขปัญหานั้นแล้ว) สถานภาพของปัญหา ควรทำการศึกษาวิจัย ไม่ต้องทำการศึกษาวิจัย
25
ตัวอย่างการขบวนตั้งหัวข้อเรื่อง 1
1.สถานภาพของปัญหา จากผลการสำรวจ ในตำบล เกาะ ก พบว่า การสำรวจสตรี 1,000 คน ได้รับยาคุมกำเนิดมาโดยตลอด แต่ผลสำรวจ เดือนที่ผ่านมา ไม่มีสตรีผู้ใด ได้รับยาคุมกำเนิด 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง กับสิ่งที่เป็นจริง สตรีทั้ง 1,000 คน ควร มีคุมกำเนิด โดยการกินยา แต่จากการ สำรวจที่ผ่านมา ไม่มีสตรีคนใด มีการคุมกำเนิดเลย 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม มีปัจจัยใด ที่ทำให้ สตรี ไม่ได้รับยาคุมกำเนิด 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ จากการสำรวจในเดือนที่ผ่านมา พบว่า เกิดน้ำท่วม จากฤดู มรสุม พัดพา ยาที่นำไปส่ง หายไปหมด และพบว่า ยาเก่า ที่เคยเอาไปให้ ถูกใช้หมดแล้ว คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?
26
ตัวอย่างการขบวนตั้งหัวข้อเรื่อง 2
1.สถานภาพของปัญหา จากผลการสำรวจ ในตำบล เกาะ ที่เกิดน้ำท่วมจากมรสุม ประจำ ต่อมา ทางราชการ ได้พัฒนาระบบการขนส่งยา โดยฤดูมรสุม จะมีเรือเร็วนำของไปส่งยังจุดศูนย์กลางรับยาของตำบล แต่พบว่า ถึงแม้ได้ดำเนินมาตรการนี้ แล้ว สตรีเหล่านั้น ยังคงไม่ได้รับยาอยู่ดี 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง กับสิ่งที่เป็นจริง ระบบการขนส่ง น่าจะทำให้สตรี ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง แต่เหตุการณ์ ไม่ได้เป็นเช่นนั้น 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม ทำไมระบบการขนส่ง ถึงไม่สามารถนำยาไปให้สตรี เหล่านั้นได้ 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ การสั่งซื้อยา ล่าช้า ไม่ได้นำมาส่ง ก่อนฤดูมรสุม เกิดขึ้น เรือเก่า เจ้าหน้าที่แก่ เจ้าหน้าที่ยังไม่เข้าใจ ขั้นตอน/ วิธีการ ของมาตรการนี้ คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?
27
ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา 1
1.สถานภาพของปัญหา จากผลการสำรวจ ในตำบล เกาะ พบว่า มี 2 หมู่บ้าน มีอัตราการใช้ยาคุมกำเนิด แตกต่างกันมาก ทั้งๆที่ ทั้ง 2 หมู่ ได้รับมาตรการ การส่งยา เหมือนๆ กัน จึงทำให้อัตราการเกิด แตกต่างกันมาก ( 80 % และ 20 % ตามลำดับ) 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง กับสิ่งที่เป็นจริง มาตรการ การขนส่ง น่าจะทำให้ทั้ง 2 หมู่ มีอัตราการใช้ยาคุม พอๆ กัน แต่เหตุการณ์ หาเป็นเช่นนั้นไม่ 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม มีปัจจัยใดทำให้ อัตราการใช้ยาคุมกำเนิด ระหว่าง 2 หมู่บ้านนี้ แตก ต่างกัน 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ ประชากร ในสองหมู่บ้าน มีความแตกต่างกันทางด้านอาชีพ ประเพณี ศาสนา และสังคม ระยะทางระหว่างหมู่บ้าน ถึงจุดรับยา จำนวนโรง เรียน สอ ไฟฟ้า น้ำประปา มีความแตกต่างกันในเรื่อง ระบบค้ำจุนการใช้ยาคุมกำเนิด เช่น ความ เข้มแข็งของผู้นำหมู่บ้าน การมีศูนย์แม่และเด็ก การมีหน่วยงาน NGO ไปให้การช่วยเหลือ คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?
28
ฝึกสมอง 1
29
ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา 2
1.สถานภาพของปัญหา คนอีสาน เป็นพยาธิ ใบไม้ตับการมาก 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง กับสิ่งที่เป็นจริง มีการรณรงค์ให้คนกินปลาสุก แต่ หลายคนยังกินปลาดิบอยู่ 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม ทำไมคน จึงกินปลาดิบ 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ ความไม่รู้ว่า กินปลาดิบแล้วเป็นพยาธิใบไม้ตับ ความเคยชินในรสชาติ ความเคยชินในการปรุง ความสะดวกในการปรุง คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?
30
ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา 2
1.สถานภาพของปัญหา คนอีสาน เป็นพยาธิ ปากขอ 2 ความคาดเคลื่อน ของสิ่งที่คาดหวัง กับสิ่งที่เป็นจริง ถ่ายในหลุมขุดลงไป 2 ศอก และคนยังพยาธิปากขอ 3.ตั้งปัญหาเป็นรูปคำถาม พยาธิขึ้นมาไชเท้าคนได้อย่างไร 4. เตรียมคำตอบที่เป็นไปได้ ไม่น้อยกว่า 1 คำตอบ พยาธิไชใต้ดิน/ผิวดิน พยาธิแนวตั้ง/แนวนอน พยาธิชอบไปหาที่ร้อนๆ พยาธิชอบว่ายทวนกระแสน้ำ คำถาม ควรทำการศึกษาวิจัยไหม ?
31
สมมุติฐานของการเกิดปัญหาที่มีเหตุผล
ผลกระทบ สาเหตุจริง ปัญหา สาเหตุจริง สาเหตุต้น ผลกระทบ สาเหตุต้น สาเหตุจริง เชิดลาภ วสุวัต 1983
32
ฝึกสมอง 2
33
พักสายตา
34
การสร้างสมมุติฐาน เป็นการคาดเดา โดยต้องมีข้อมูลหรือความรู้สนับสนุน แบ่งเป็น การตั้งจากความแตกต่าง ( Method of Difference) หมู่บ้าน ก มีอัตราการใช้ยาคุม สูงกว่าหมู่บ้าน ข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การตั้งจากความเห็นพ้อง (Method of Agreement) หมู่บ้าน ก และ ข มีอัตราการใช้ยาคุมเท่าๆกัน การตั้งจากหลักอุปมา อุปมัย ( Method of Analogy) อัตราการใช้ยาคุมต่ำ น่าจะเกิดจาก จำนวนโรงเรียน มีไม่เท่ากัน การตั้งจากความสัมพันธ์ของข้อมูล ( Method of Concomitant Variation) การมีอัตราการคุมกำเนิดไม่เท่ากัน น่าจะเกิดจาก ระยะทางจากหมู่บ้าน ถึงจุดศูนย์รับ ไม่เท่ากัน
35
การกำหนดวัตถุประสงค์
เพื่อจะบอกทิศทาง บอกตัวแปร ตัวอย่าง และลักษณะของการวิจัย วัตถุประสงค์ทั่วไป คือเป็นปัญหากว้างๆ ครอบคลุมปัญหาย่อยซึ่งจะเป็น วัตถุประสงค์ ย่อย คือ การนำเอาวัตถุประสงค์ทั่วไป หรือปัญหาใหญ่นั้น มาแยกออกเป็นปัญหาย่อยๆ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างสมมุติฐาน การ เก็บข้อมูล หรือการวิเคราะห็ข้อมูลนั่นเอง โดยจะเขียนเป็นประโยคบอก เล่า หรือคำถามก็ได้
36
Malaria
37
1. การหา ปัจจัย ที่จะนำไปสู่รูปแบบการป้องกันและควบคุมโรค อย่างยั่งยืน
ทางด้านระบาดวิทยา ทางด้านการควบคุมพาหะนำโรค ทางด้าน สังคมศาสตร์ และการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ทางด้านการตรวจวินิจฉัย และรักษา 1. การหา ปัจจัย ที่จะนำไปสู่รูปแบบการป้องกันและควบคุมโรค อย่างยั่งยืน 1. การวิเคราะห์ ต้นทุน- ประสิทธิผล วิธีการควบคุมยุงพาหะ 1. การประยุกต์รูปแบบ Communication Bahavioral Integration ( COMBI) มาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน 1. การหาประสิทธิภาพของยารักษา (Drug efficacy) 2. การหาประชาการกลุ่มเสี่ยง และแนวโน้มการระบาดของโรค ในช่วงหลังจาก การบูรณาการ โรคมาลาเรียเข้าสู่จังหวัด 2. การหาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกที่มีผลต่อ ชีวนิสัยของยุงพาหะ 2. การหา Knowledge Attitude Practice (KAP) ของ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่ดูแลผู้ป่วยมาลาเรีย ในโรงพยาบาล ชุมชน 2. การหา จลศาสตร์ของยารักษามาลาเรีย(Pharmokinetic) 3. การนำ GIS มาใช้ในการพยากรณ์โรค 3. การทำ sentinel site ควบคุมยุงพาหะ ในท้องที่ ปลอดการแพร่เชื้อมาลาเรีย B2 และPA 3. การนำวิธีการPharmocovi-gilance มาใช้ในการหาประสิทธิผลของยารักษา 4. การบูรณาการภูมิปัญญา (Interdisciplinary Approach) : เพื่อสร้างรูปแบบการควบคุมการระบาดของโรค 4. การหา ขบวนการ ที่ยุงพาหะ ต่อต้าน หรือ ตอบสนองต่อสารเคมี เพื่อนำไปสู่ การเพิ่มประสิทธิภาพวิธีการทดสอบความไวของยุงพาหะต่อสารเคมี 4. การค้นหามาลาเรียอาการหนัก อย่างรวดเร็ว (Early detection of Severe Malaria) 5. การกำหนดพื้นที่เสี่ยงโรคมาลาเรีย ต่อนักท่องเที่ยว 5. การตรวจติดตามเฝ้าระวัง ในท้องที่ ที่ยังมีการแพร่เชื้อมาลาเรีย แต่ไม่มีการพ่นสารเคมีแล้ว 5. การพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัย และควบคุมภาพ การตรวจหาเชื้อ Plasmodium vivax 6. การหาปัจจัย ที่ผู้ป่วยตายด้วยโรคมาลาเรีย 6. การวิเคราะห์ ต้นทุน-ประสิทธิผล และการยอมรับวิธีการ Integrate Vector Management ( IVM) 6. การพัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัย และควบคุมภาพ การตรวจหาเชื้อ Plasmodium knowlesi 7. การประเมิน วิธีการชุบมุ้ง แบบ Impregnated Bed Net ( IBN) และ Long Lasting Net ( LLN) 7. การหาหรือ พัฒนายารักษามาลาเรียชนิดใหม่ 8. การนำ เครื่องมือ WHO Std Kit (CDC): มาใช้ในการตรวจติดตามเฝ้าระวัง การดื้อต่อสารเคมีของ ยุงพาหะ 8. การทดลอง วัคซีน ต่อโรคมาลาเรีย 9. การทำ ธนาคารยีน ของโรคมาลาเรีย(Gene Bank)
38
DF/DHF Dengue
39
1. การนำ GIS มาใช้ในการพยากรณ์โรค
ทางด้านระบาดวิทยา ทางด้านการควบคุมพาหะนำโรค ทางด้าน สังคมศาสตร์ และการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ทางด้านการตรวจวินิจฉัย และรักษา 1. การนำ GIS มาใช้ในการพยากรณ์โรค 1. การวิเคราะห์ ต้นทุน- ประสิทธิผล วิธีการควบคุมยุงพาหะ 1. การประยุกต์รูปแบบ Communication Bahavioral Integration ( COMBI) มาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน 1. การพัฒนาวิธีการชันสูตรโรคไข้เลือดออก 2. การบูรณาการภูมิปัญญา (Interdisciplinary Approach) : เพื่อสร้างรูปแบบการควบคุมการระบาดของโรค 2. การหาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกที่มีผลต่อ ชีวนิสัยของยุงพาหะ 2. การหา Knowledge Attitude Practice (KAP) ของ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่ดูแลผู้ป่วยไข้เลือดออก ในโรงพยาบาล ชุมชน 2. การหาสารที่ต่อต้านการleak ของ พลาสมาMediators : antileakage 3. การหา ขบวนการ ที่ยุงพาหะ ต่อต้าน หรือ ตอบสนองต่อสารเคมี เพื่อนำไปสู่ การเพิ่มประสิทธิภาพวิธีการทดสอบความไวของยุงพาหะต่อสารเคมี . 3. การตรวจหา free viral antigen NS1 ของโรคไข้เลือดออก 4. การวิเคราะห์ ต้นทุน-ประสิทธิผล และการยอมรับวิธีการ Integrate Vector Management ( IVM) 2. การหา Knowledge Attitude Practice (KAP) ของ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่ดูแลผู้ป่วยมาลาเรีย ในโรงพยาบาล ชุมชน 4. การพัฒนาวิธีการตรวจทางน้ำเหลืองแบบใหม่(New serological test) 5. การฝึกอบรม เจ้าหน้าพ่นสารเคมี แบบ Competency - base 7. การหาหรือ พัฒนายารักษาโรคไข้เลือดออก 6. การนำ เครื่องมือ WHO Std Kit (CDC): มาใช้ในการตรวจติดตามเฝ้าระวัง การดื้อต่อสารเคมีของ ยุงพาหะ 8. การทดลอง วัคซีน ต่อโรคไข้เลือดออก 9. การทำ ธนาคารยีน ของโรคไข้เลือดออก(Gene Bank)
40
Filariasis& Leishmaniasis
41
Epidemio -logy Vecor/Malaria Control IEC & Social Diag and Treatment
Factors to Everlasting Prev. Model Evaluation of Fil.Cont in Cat COMBI Dev. Detection for Ag/Ab Model for taking care of Fil patient by community Insectiside-impregneted collar in Cat: impact on Lym Fil KAP of H. Officers in surveillnace of Leismaniasis Detection: animal reservoirs Post surveillance Model for Fil. ( PELF) Vec. Bionomic& ecology: land uses& climage change. Persistence: Ab of Bm. In animal reservoirs after Tx. GIS tool for prediction IRS/INS to control Mos and Sandfly in Mixed Foci Mal + Leish. Salted DEC: LF in Narathiwat P. Interdisciplinary Approach: Epidemic Surv. of Leish. : WHO SOP
42
พักสายตา
43
The end ขอขอบคุญทุกๆท่านที่อดทนฟังจนจบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.