งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต
05/12/52 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก Mobile phone : Download ข้อมูลการเรียนจาก : 1 บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต การบริหารการผลิต บทที่ 1 ลักษณะและความสำคัญของการผลิต

2 ให้ นักศึกษาศึกษา เนื้อหาบทที่ 2 พร้อมกับทำแบบฝึกหัดท้ายบทล่วงหน้า พบกันวันเสาร์ที่ 9 มกราคม 2010
การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต

3 บทที่ 2 การพยากรณ์เพื่อการผลิต
3 การพยากรณ์เป็นขั้นตอนสำคัญในการดำเนินการผลิต - รู้จำนวนความต้องการสินค้าและบริการในอนาคต - ต้องมีการคาดการณ์ เช่น - โรงพยาบาลต้องการทราบจำนวนคนไข้ : เพื่อการเตรียมเครื่องมือแพทย์ พยาบาล และ ห้องพยาบาล - บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ ต้องการทราบจำนวนรถยนต์ที่ลูกค้าทั้งหมดที่ต้องการ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

4 ความหมายของการพยากรณ์
4 การพยากรณ์คือ การคาดการณ์ หรือมองเหตุการณ์ในอนาคตโดยอาศัยข้อมูลจากอดีต และการพยากรณ์นั้นต้องประกอบด้วย การประมาณค่าขนาดของตัวแปรต่าง ๆโดยไม่ลำเอียง เป็นการคาดคะเนความต้องการสินค้าและบริการ ของลูกค้าเป้าหมาย ในอนาคต(ล่วงหน้า)ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยอาศัยข้อมูลในอดีตมาช่วยในการวิเคราะห์ความต้องการ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

5 การพยากรณ์ คือ การประมาณ หรือ การคาดคะเนว่าอะไรจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น การพยากรณ์ยอดขายของ 3 ปีข้างหน้า การพยากรณ์มีบทบาทสำคัญกับทุกด้าน ทั้งหน่วยงานของรัฐบาล และเอกชน รัฐบาลต้องประมาณ หรือ พยากรณ์รายได้ รายจ่ายในปีหน้า เพื่อนำมาวางแผน เอกชนต้องพยากรณ์ยอดขาย เพื่อนำมาวางแผนการผลิต สินค้าคงคลัง แรงงาน ฯลฯ ข้อมูลหรือประสบการณ์ในอดีต เทคนิคการพยากรณ์ (กระบวนการพยากรณ์) ผลที่ได้จากการพยากรณ์ แสดงความหมายของการพยากรณ์ 5 การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต การบริหารการผลิต

6 วัตถุประสงค์ของการพยากรณ์
6 วัตถุประสงค์ของการพยากรณ์ที่เกี่ยวกับการผลิตหรือค่าของการพยากรณ์ 1. เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการตัดสินใจในการผลิต วางแผนการขาย และวางแผนปัจจัยในการผลิต 2. เพื่อใช้ข้อมูลในอดีตคาดการณ์คะเนความต้องการในการวางแผนการผลิต ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

7 การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต
ประเภทของการพยากรณ์ 7 ประเภทของการพยากรณ์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. การพยากรณ์เชิงคุณภาพ 2. การพยากรณ์เชิงปริมาณ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

8 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ
8 เป็นการพยากรณ์โดยใช้ความคิดเห็นของผู้บริหาร เช่น ผู้จัดการฝ่ายขาย ฝ่ายจัดซื้อ 6 เทคนิควิธีคือ 1. เดลฟาย : พยากรณ์โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยผ่านแบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ์ ถามต่อเนื่อง 2- 3 ครั้งเป็นกระบวนการหนึ่งของการเก็บรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในอนาคตในเรื่องที่เกี่ยวกับ เวลา ปริมาณ และ/หรือ สภาพการณ์ที่ต้องการจะให้เป็น จากความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่กระจัดกระจายกันให้สอดคล้องกันอย่างมีระบบ โดยใช้วิธีการเสาะหาความคิดเห็นจากการตอบแบบสอบถามของผู้เชี่ยวชาญแทนการเรียกประชุม ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

9 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ)
ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต 05/12/52 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) 9 2. วิธีวิจัยตลาด (Market Research) ประกอบด้วยการออกแบบสอบถาม กำหนด วิธีการเก็บข้อมูล สุ่มตัวอย่างมาสัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลมาประมวลผลและเคราะห์ตามลำดับ วิธีนี้ใช้กับการพยากรณ์ในระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาวได้ แต่เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายสูงและต้องพิถีพิถันในการปฏิบัติหลายขั้นตอน ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 1 ลักษณะและความสำคัญของการผลิต

10 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ)
10 3.ความคิดเห็นของผู้บริหาร (Executive Opinion) ใช้พยากรณ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ยังไม่ออกสู่ท้องตลาดมาก่อน จึงใช้ความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีประสบการณ์คนหนึ่งหรือหลายคนมาช่วยพยากรณ์และกำหนดกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น การนำผลิตภัณฑ์สู่ตลาดต่างประเทศ ข้อจำกัดของวิธีนี้ คือ มักใช้เวลาของกลุ่มผู้บริหารในการประชุมสรุปการพยากรณ์มากจึงเป็นวิธีที่มีค่าใช้จ่ายสูงและไม่ควรใช้ผู้บริหารฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพยากรณ์ตามลำพังโดยไม่ได้สรุปร่วมกับผู้บริหารฝ่ายอื่น เพราะผลของการพยากรณ์กระทบทุกฝ่ายขององค์การ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

11 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ)
11 4.การประมาณการของพนักงานขาย (Sale Force Estimates) ใช้การประมาณการของพนักงานขายซึ่งเป็นผู้ที่ได้สัมผัสกับสภาพของตลาดมากที่สุด ใกล้ชิดกับลูกค้ามากที่สุด พนักงานขายจะพยากรณ์โดยรวบรวมยอดขายแต่ละเขตพื้นที่ซึ่งตนรับผิดชอบเท่านั้น แล้วส่งมายังสำนักงานใหญ่ แต่วิธีนี้ก็มีข้อผิดพลาดได้เนื่องจากพนักงานขายบางคนเป็นผู้มองโลกแง่ดีเกินไป หรือพนักงานขายมักจะรู้ดีว่ายอดขายของการพยากรณ์จะถูกใช้ในการกำหนดโควตาการขายจึงประมารการไว้ต่ำเพื่อเอายอดขายเกินเป้าได้ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

12 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ)
12 5. วิธี Penet Concencus เป็นการระดมความคิดการรวมกลุ่มของผู้เชี่ยวชาญมาอภิปราย สรุปปัญหา 6. วิธี Grass – root forecasting - การสอบถามบุคคลที่ใกล้ชิดกับปัญหา เช่น ผู้ทำงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ใช้บริการ หรือผลิตภัณฑ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

13 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ)
13 7. การพยากรณ์โดยยึดติดกับอดีตเป็นหลัก - เป็นการพยากรณ์โดยนำเหตุการณ์ในอดีต มาเป็นฐานในการพยากรณ์(เหตุการณ์หนึ่งมาใช้ในการพยากรณ์ในอีกเหตุการณ์หนึ่ง) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

14 การพยากรณ์เชิงปริมาณ
14 การพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative methods) เป็นการพยากรณ์ที่ใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) ในอดีตเพื่อนำมาพยากรณ์ค่าในอนาคต โดยสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ เช่น แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ตัวแบบอนุกรมเวลา และ ตัวแบบเหตุผล ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

15 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
15 ตัวแบบอนุกรมเวลา (Time series Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้เฉพาะข้อมูลในอดีตของตัวแปรที่ต้องการพยากรณ์ เพื่อพยากรณ์ค่าของตัวแปรนั้นในอนาคต เช่น ใช้ข้อมูลยอดขายปี เพื่อพยากรณ์ยอดขายปี 2552 เป็นการพยากรณ์โดยการศึกษาการเคลื่อนที่ของข้อมูลชุดหนึ่งตามงวดระยะเวลาในอดีตว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรจนถึงปัจจุบัน โดยพิจารณาจากอิทธิพลของปัจจัย 4 ประการคือ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

16 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
16 อนุกรมเวลา 1. อิทธิพลของแนวโน้ม ข้อมูลอาจจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง จำนวนประชากร แนวโน้มอิทธิพลของกองทุนเพื่อความมั่งคั่งในตลาดการเงินโลก แนวโน้มของกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย แนวโน้มภูมิอากาศของโลก แนวโน้มการเคลื่อนไหวจะมีลักษณะ เส้นตรง โค้ง ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

17 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
17 2. อิทธิพลของฤดูกาล เสื้อกันหนาวจะขายดีในฤดูหนาว การพยากรณ์ยอดการขายสินค้า ที่จำหน่ายตามฤดูกาล จะมีอิทธิพลต่อการพยากรณ์ยอดการผลิตสินค้า 3 อิทธิพลของวัฏจักร - เช่นการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษบกิจ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

18 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
18 4. อิทธิพลของเหตุเหนือความคาดหมาย มีผลต่อการพยากรณ์ยอดการขาย ซึ่งมีกระทบต่อการการผลิตด้วย - เช่นการนัดหยุดงาน - การเกิดภัยธรรมชาติอย่างรวดเร็ว เช่น สึนามิ - การเกิดเศรษฐกิจตกต่ำแบบเฉียบพลัน - การเกิดอัคคีภัย - การเกิดสงครามหรือการจลาจล ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

19 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
19 ลักษณะของการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา นิยมใช้ในการพยากรณ์ยอดการขาย 1. การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย 2. การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้ำหนัก 3. การปรับเรียบโดยใช้เลขชี้กำลัง ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

20 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
20 1. การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย เหมาะกับ - การพยากรณ์ระยะสั้น - ค่าของตัวแปรที่ต้องการพยากรณ์เปลี่ยนแปลงไม่มากนักในหน่วยของเวลาที่ทำการพยากรณ์ - วิธีการพยากรณ์ นำยอดการขายที่เกิดขึ้นระหว่างคาบเวลาในอดีตติดต่อกัน หารด้วยจำนวนคาบเวลาทั้งหมดที่นำมารวมกัน(ตัวอย่าง : หน้าที่ ) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

21 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
21 2.การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้ำหนัก เป็นการให้น้ำหนักความสำคัญแก่ยอดการขายในคาบเวลาต่าง ๆ ไม่เท่ากัน โดยให้ยอดการขาย ณ คาบเวลาปัจจุบันมีน้ำหนักมากกว่ายอดการขาย ณ เวลาที่เก่ากว่าลงไป ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

22 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
22 วิธีการพยากรณ์(ตัวอย่าง หน้าที่ 29-30) นำยอดการขายจริง คูณกับน้ำหนักที่นำมาถ่วง ให้ความสำคัญกับยอดการขาย ณ คาบเวลาในปัจจุบันที่สุด เช่น 3 คาบเวลา ณ ปัจจุบันมากที่สุดคูณ 3 และลดหลั่นลงไป เป็น 2 และ 1 ตามลำดับ จากนั้น ให้หารด้วยผลรวมของน้ำหนักที่นำมาถ่วง ผลที่ได้คือยอดการพยากรณ์ ของคาบเวลาถัดไป (ค่าเฉลี่ยนของ 4 คาบเวลา) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

23 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
23 3. การปรับเรียบโดยเลขชี้กำลัง -เป็นการพยากรณ์โดยข้อมูล ยอดขายจริง แทนสัญลักษณ์ D ห้อย t (Dt ยอดการขายที่เกิดขึ้นจริง ณ คาบเวลาที่ปัจจุบันที่สุด) Dt – 1,2… ยอดการขายที่เกิดขึ้นจริง ณ คาบเวลาที่ผ่านมา 1 และ 2 ตามลำดับ Dt +1,…… คาบเวลาในอนาคต ซื่งต้องอาศัยยอดการพยากรในอดีต ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

24 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
สมการที่ใช้ Ft = KD +(1- K)KD +(1-K) KD +(1-K) KD + 2 3 t t-1 t-2 t-3 ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

25 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
25 การพยากรณ์โดยใช้ตัวแบบเหตุผล มีอยู่หลายวิธี การพยากรณ์โดยการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย หลักการว่าค่าของตัวแปรที่เปลี่ยนแปลง “ ตัวแปรตาม(Dependent Variable) จะถูกกำหนดโดยตัวแปรอิสระ (Independent Variable) อาจจะเดียวหรือหลายตัว ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

26 ตัวแปรตาม - ครัวเรือน อุตสาหกรรม ธุรกิจ ตัวแปรอิสระ 26
การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต การบริหารการผลิต

27 การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ)
27 สมมติฐาน 2 ประการ ของการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย 1. ตัวแปรอิสระและตามต้องมีความสัมพันธ์กัน 2. ค่าตัวแปรตามจะขึ้นอยู่กับตัวแปรอิสระตัวเดียว โดยให้ตัวแปรอิสระอื่น ๆ คงที่ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

28 การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต
ปัจจัยพยากรณ์(Y) Y = ปัจจัยตาม(ขึ้นอยู่กับปัจจัยx) Y = a+bx X = ปัจจัยอิสระ(ปัจจัยที่เกิดก่อน) b = ความลาดชันของเส้นตรง a = ค่าคงที่ } ปัจจัยพยากรณ์(X) Σy -bΣx a = ดูตัวอย่าง หน้า n ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

29 การปรับยอดการพยากรณ์
กระทำเพราะความแปรเปลี่ยนของปัจจัยต่าง ๆ มีวิธีการปรับยอดการพยากรณ์หลายวิธี การหาค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยสัมบูรณ์ (MAD : Mean Absolute Deviation) ความแตกต่างระหว่างยอดการขายจากการพยากรณ์กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริง จะเป็นบวกหรือลบก็ได้ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

30 การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ)
ตัวแบบแสดงความสัมพันธ์ At แทนยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงในคาบเวลา t MAD = Σ At- Ft N Ft แทนยอดการขายที่พยากรณ์ไว้ในคาบเวลา t N แทนจำนวนคาบเวลาที่นำมาหาค่าเฉลี่ย แทนเครื่องหมายแสดงค่าสัมบูรณ์ที่ไม่คำนึงว่าจะเป็นเครื่องหมายบวกและลบ Σ แทนเครื่องหมายแสดงว่าต้องบวกเข้าด้วยกันให้ครบจำนวน ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

31 การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ)
การหาค่าผิดพลาดเฉลี่ยกำลังสอง (MSE : Mean Square Error) ซึ่งจะเริ่มต้นด้วยการหาผลต่างระหว่างยอดการขายที่ทำการพยากรณ์กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงก่อน ภายใต้เครื่องหมายวงเล็บแล้วยกกำลังสอง (At- Ft) 2 MSE Σ = N การนำค่า MSEไปใช้ต้องถอดรากที่สองก่อน ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

32 การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ)
การหาค่าผิดพลาดเฉลี่ย( Mean Forecast Error : MFE) เป็นการหาผลต่างระหว่ายอดการขายที่พยากรณ์ กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงก่อนแล้ว หาผลรวมของความแตกต่างนั้นทุกคสบเวลาเข้าด้วยกัน แล้วหารด้วยจำนวนคาบเวลาที่ใช้ทั้งหมดมาหาค่าเฉลี่ย ค่า MFE ที่ได้ถ้ายิ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 0 เท่าใด ยิ่งแสดงว่าการพยากรณ์มีความแม่นยำมาก At- Ft MFE Σ = N ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

33 การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ)
การหาค่าผิดพลาดร้อยละเฉลี่ยสัมบูรณ์( Mean Absolute Percentage Error : MAPE) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

34 การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 ให้ทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 ทุกข้อ ในสมุดฉีกแบบฝึกหัด ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต


ดาวน์โหลด ppt ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google