งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โอปอ (Opal).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โอปอ (Opal)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โอปอ (Opal)

2 โอปอ (Opal) โอปอ (opal) เป็นชื่อที่มาจากภาษาสันสกฤตของคำว่า อุปาลา (upala) opalus มีความหมายว่า หินมีค่า โอปอจัดเป็นสารอสัณฐาน (amorphous) ไม่มีโครงสร้างผลึก แต่มีโครงที่มีลักษณะเฉพาะ ประกอบด้วยอนุภาคทรงกลมของ คริโตแบไลต์ (cristobalite) หรือ ซิลิกาเจล (silica gel) ที่มีขนาดเล็กมากระหว่าง nm เรียงตัวต่อกันแบบ hexagonal หรือ cubic close-packed lattice

3 opal แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
โอปอธรรมดา (common opal หรือ potch) --> ไม่แสดงการเล่นสี ขุ่น เกือบทึบแสง อาจแสดงการเหลือบแสงแบบ opalescence ไม่นิยมนำมาทำเครื่องประดับ พบได้มากในธรรมชาติ มีได้หลายสี เช่น สีขาวขุ่น เหลือง เขียว ฟ้า ส้ม และชมพู นอกจากนี้ยังแบ่งย่อยได้อีกหลายชนิด ได้แก่

4 - Prase opal เป็นโอปอทึบแสง มีสีเขียวแอปเปิล
Pink opal มีสีชมพู เป็นที่นิยมกว่าสีอื่น Resin opal มีสีดำ หรือน้ำตาล ประกายด้าน คล้ายยางไม้

5 - Wood Opal เป็นซากดึกดำบรรพ์ของไม้ที่มีโอปอเข้าไปแทนที่ในส่วนต่างๆ ของลำต้น ซึ่งมักสลับกับเนื้อ คาลซีโดนี

6 - โอปอเปลือกหอย (opalized shell) เป็นซากเปลือกหอยโบราณที่มีซิลิกาชนิดโอปอเข้าไปแทนที่ มีลักษณะกึ่ง โปร่งใส มีประกายคล้ายมุกสีขาวอมเหลือง

7 Cat's Eye Opal Agate Opal
นอกจากนี้โอปอยังมีชื่อทางการค้าอื่นอีกมากมาย เช่น อะเกตโอปอ (Agate opal) และ Cat’s eye opal Cat's Eye Opal Agate Opal

8 โอปอชนิดมีค่า (precious opal) --> เป็น opal ที่แสดงการเล่นสี หรือชนิดใส
มีหลาย variety ที่สำคัญ ยกตัวอย่างเช่น white opal : มีพื้นสีขาว แสดงการเล่นสี โปร่งแสงถึงกึ่งโปร่งแสง black opal : มีพื้นสีดำ เทาดำ แสดงการเล่นสี โปร่งแสง ถึงกึ่งเกือบทึบแสง

9 semiblack หรือ gray opal : มีพื้นเทาอ่อน แสดงการเล่นสี โปร่งแสงถึงกึ่งเกือบทึบแสง
crystal opal : มีพื้นใส แสดงการเล่นสีเด่นชัด โปร่งแสงถึงกึ่งโปร่งใส black crystal opal : เหมือน crystal opal แต่พื้นสีมืด jelly opal หรือ water opal : ใสไม่มีสี ไม่แสดงการเล่นสี หรือแสดงเล็กน้อย โปร่งใสถึงกึ่งโปร่งแสง

10 pinfire opal : การเล่นสีประกอบด้วยจุดสีเล็กๆ อัดตัวกันแน่น
cherry opal : เป็น fire opal ที่มีพื้นสีแดง cherry opal

11 Play of Colour ในโอปอ

12

13 สาเหตุของการเล่นสี (play of colour) ใน opal
common opal ไม่แสดง play of color เนื่องจากประกอบด้วยทรงกลมของ silica gel ขนาดต่างๆ กัน จึงเรียงตัวกันไม่เป็นระเบียบ หรืออาจมีขนาดใหญ่เกินไป precious opal ประกอบด้วยเม็ดทรงกลมของ silica gel เรียงตัวกันแน่นแบบ hexagonal packing บริเวณที่แสดงหย่อมสีม่วงถึงน้ำเงิน แสดงว่า silica gel มีขนาดเล็กมาก ค่อยๆ เปลี่ยนไปเป็นสีเขียว เหลือง ส้ม และแดง ตามขนาดของ silica gel ที่ค่อยๆ เพิ่มขึ้น ถ้า silica gel มีขนาดเล็ก จะเห็นเป็นสีน้ำเงิน-เขียว ถ้ามีขนาดใหญ่จะเห็นเป็นสีแดง

14

15 แสดงโครงสร้างของ opal ถ่ายด้วยเครื่อง scanning electron microscope

16 Crystallography Physical properties Optical properties
opal เป็น amorphous หรือเป็นแร่ที่มีโครงสร้างไม่เป็นระเบียบ จึงเรียกว่า mineraloid ประกอบด้วยเม็ดกลมของ silica gel ที่มีขนาดเล็กมาก( nm.) อัดตัวกันแน่นเป็นระเบียบ ทำให้แสดงการเปลี่ยนสี ถ้า silica gel มีขนาดแตกต่างกัน และเรียงตัวกันอย่างไม่เป็นระเบียบ จะไม่แสดงการเปลี่ยนสี Physical properties Cleavage : ไม่มี Fracture : แบบก้นหอย ถึงแตกไม่เรียบ Hardness : /2 S.G : (+0.08 ถึง -0.16) Optical properties Luster : คล้ายแก้วถึงคล้ายยางสน Colour : สีพื้น(body colour) มีหลายสี Transparency : โปร่งแสงถึงเกือบทึบแสง

17 Chemical properties Optic character : isotropic
R.I. : ( ถึง ) ชนิด fire opal มีค่า = Fluorescence : black opal ไม่เรืองแสง white opal ไม่เรืองแสง หรือเรืองแสงสีขาว ฟ้าอ่อน เขียว หรือ เหลือง ใน LWUV และ SWUV และอาจเรืองแสงค้าง fire opal ไม่เรืองแสง หรืออาจเรืองแสงสีน้ำตาลอมเขียว ทั้งใน LWUV และ SWUV และอาจเรืองแสงค้าง Absorption spectrum : มีความหลากหลายมาก ไม่แสดงรูปแบบเฉพาะ Chemical properties Chemical formula : SiO2 .nH2O โดย n เป็นปริมาณน้ำในโครงสร้าง มีประมาณ 3-10 % โดยน้ำหนัก ถ้ามีการสูญเสียน้ำ จะเกิดรอยร้าว (crazing) และการเล่นสีอาจหายไป จึงควรเก็บในที่ชื้นหรือแช่ไว้ในน้ำ

18 Diagnostic features opal เป็นอัญมณีชนิดเดียวที่แสดงการเล่นสี ซึ่งแยกจากอัญมณีอื่นได้ง่าย fire opal ชนิดที่ไม่แสดงการเล่นสี มักมีเนื้อขุ่น แสดงลักษณะของ amorphous การที่ opal เกิดเป็นแผ่นบาง แตกหักง่าย จึงนิยมนำมาประกบด้วยแก้วหรือหินสีดำด้านล่าง เพื่อให้แสดงการเล่นสีชัดเจนขึ้นและมีความคงทนต่อการแตกหัก เรียกว่า โอปอประกบ 2 ชั้น (doublet opal) บางครั้งปิดทับด้านบนด้วยแก้วใสโค้งอีกชั้น เรียกว่า โอปอประกบ 3 ชั้น (triplet opal) แยกจาก opal ที่ไม่ได้ประกบ ซึ่งเรียกว่า solid opal ได้โดยดูจากด้านข้างจะเห็นความแตกต่างของชั้นต่างๆ ชัดเจน side view top view doublet opal

19 Occurrence opal พบอยู่ในบริเวณใกล้ผิวโลก เกิดจากการหมุนเวียนของระดับน้ำบาดาล หรือน้ำแร่ร้อน opal เกิดแทรกอยู่ในสายหรือช่องว่างของหิน หรืออาจเข้าแทนที่ไม้หรือสารอินทรีย์อื่นที่ฝังตัวอยู่ในเถ้าภูเขาไฟ แหล่งสำคัญที่พบ precious opal คือ Australia ส่วน fire opal พบในประเทศ Mexico และในประเทศ Brazil แหล่งอื่นที่พบ ได้แก่ Indonesia Honduras และ United States Name คำว่า opal มาจากภาษาสันสกฤต upala แปลว่า หินมีค่า

20 Species Opal variety common opal หรือ potch precious opal white opal
black opal crystal opal fire opal cherry opal pinfire opal

21 Tourmaline ทัวร์มาลีน

22 ทัวร์มาลีน (Tourmaline)
ทัวร์มาลีน เป็นตระกูลแร่ (group) ประกอบด้วยแร่ประเภท (species) ต่างๆ หลายประเภท แต่ในทางอัญมณี จัดให้ทัวร์มาลีนประเภทต่างๆ เป็นอัญมณีชื่อเดียว คือ ทัวร์มาลีน เพื่อให้ง่ายในการแยกเป็นชนิด(variety)

23 Tourmaline เป็นอัญมณีที่ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ มีหลากหลายสีที่สุด พบได้ทุกสี และมีหลายสีในเม็ดเดียวกัน นอกจากนั้นยังใช้ประโยชน์ในทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลายด้าน เนื่องจากสามารถนำไฟฟ้าได้ดี Crystallography ระบบ hexagonal มองตั้งฉากแกน C เห็นเป็นรูปสามเหลี่ยม บางครั้งแสดงขอบโค้งซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของทัวร์มาลีน และใช้แยกจากแร่อื่นได้

24 ผลึกทัวร์มาลีนส่วนใหญ่เกิดเป็นผลึกเดี่ยวที่มีรูปผลึกสมบูรณ์ บางครั้งอาจพบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม (massive aggregate) หรือเรียงตัวเป็นรัศมี (radiating) หรือเกิดเป็นผลึกเล็กยาวเหมือนเส้นใยอยู่รวมกัน ชนิดที่มีมลทินเป็นท่อกลวง (tabular cavities) จำนวนมากเรียงตัวขนานกับแกน C ทำให้แสดงลักษณะตาแมว เรียกว่า cat’s eye tourmaline

25 Physical properties Optical properties
Cleavage : ไม่แสดงรอยแตกเรียบ Fracture : แตกแบบก้นหอย Hardness : /2 Optical properties Luster : vitreous Transparency : transparent ถึง opaque Optic character : Uni - R.I. : ω = ε = ( ถึง ) Birefringence : Dispersion : Pleochroism : แสดงชัดเจนมาก เป็นลักษณะเด่นของ tourmaline Fluorescence : ส่วนใหญ่ไม่เรืองแสง สีชมพูบางเม็ดอาจเรืองแสงสีแดงถึงม่วงอ่อน

26 Absorption spectrum : ชนิดสีเขียวและน้ำเงิน แสดงแถบดูดกลืนแสงตั้งแต่ nm. ชนิดสีชมพู แดง และม่วงอมแดง แสดงแถบมืดในบริเวณสีเขียว และเส้นดำที่ 451 และ 458 nm.

27 Colour พบทุกสี เป็นอัญมณีที่มีสีหลากหลายที่สุด ชนิดที่เป็นอัญมณีส่วนใหญ่อยู่ในประเภท (species) elbaite และ liddicoatite ซึ่งมี Li อยู่ในโครงสร้าง และประเภท dravite ซึ่งมี Na และ Mg อยู่ในโครงสร้าง

28 ชื่อทางการค้า หรือชนิดของ tourmaline เรียกตามสีดังนี้
Rubellite : สีชมพู หรือสีแดง อาจมีสีน้ำตาล ส้ม หรือสีม่วงปน สีเกิดจากธาตุ Mn Achroite : ใสไม่มีสี Verdelite : สีเขียวอมน้ำเงิน หรือเขียวอมเหลือง สีเกิดจากธาตุ Fe Paraiba : สีเขียว-น้ำเงิน มีสีเจิดจ้า สีเกิดจากธาตุ Cu Chrome tourmaline : มีสีเขียวสด สีเกิดจากธาตุ V / Cr

29 Indicolite : สีน้ำเงินอมม่วง ถึงอมเขียว สีเกิดจากธาตุ Fe
Dravite : สีเหลือง ถึงน้ำตาลโทนมืด Liddicoatite : แสดงแถบสี เด่นชัด ขนานกับหน้า pyramid Watermelon : แกนกลางสีชมพู มีขอบสีเขียว Particoloured : มีหลายสีในเม็ดเดียวกัน Bicoloured : มี 2 สีในเม็ดเดียวกัน

30 Chemical properties Chemical formula : แร่ในตระกูลทัวร์มาลีน มีสูตรเคมีเป็น XR3Al6B3Si6O2.7(OH)4 ธาตุที่เข้าไปอยู่ในตำแหน่ง X และ R แตกต่างกันตามชนิดแร่ ได้แก่ ตำแหน่ง R อาจถูกแทนที่ด้วยธาตุให้สีบางส่วน Cr / V --> ให้สีเขียวสด (chrome tourmaline) Cu > ให้สีเขียว-น้ำเงิน (paraiba) Mn > ให้สีชมพู-แดง (rubellite) Fe > ให้สีน้ำเงินหรือเขียว

31 Occurrence Diagnostic features
ลักษณะเด่นของทัวร์มาลีน ที่ใช้แยกจากอัญมณีอื่น คือ ค่า birefringence ที่สูงถึง และแสดง pleochroism เด่นชัดมาก Occurrence ส่วนใหญ่เกิดในหิน Pegmatite โดยพบร่วมกับอัญมณีอื่นหลายชนิด ชนิด dravite พบในหินอ่อน แหล่งทัวร์มาลีน ที่สำคัญคือ Madagascar Namibia Mozambique Afghanistan Brazil (เทือกเขา Ural) Sri Lanka Myanmar และ USA

32 Occurrence

33 Name คำว่า tourmaline มาจากภาษาสิงหล “ tourmali” แปลว่าหินหลายสี คำว่า dravite มาจากชื่อแคว้น Drave ใน Austria คำว่า liddicoatite มาจากชื่อ R.T. Liddicoat อดีตประธานของ GIA คำว่า elbaite มาจากชื่อเกาะ Elba คำว่า paraiba มาจากชื่อเมือง Paraiba ใน Brazil คำว่า achroite มาจากภาษากรีก “ achroos ” แปลว่าไม่มีสี คำว่า rubellite มาจากภาษาลาติน แปลว่า สีแดง

34 Species Tourmaline variety Cat’s eye Achroite Rubellite(Mn)
Verdelite (Fe) Paraiba (Cu) Liddicoatite tourmaline Chrome tourmaline (Cr / V) Indicolite Bicoloured Particoloured Dravite Watermelon (Fe)

35 การ์เนต ( Garnet )

36 การ์เนต (Garnet) โกเมนหรือ garnet เป็นอัญมณีตระกูลใหญ่ที่มีสีหลากหลาย มิใช่มีเฉพาะสีแดงดำ ดังที่เคยเข้าใจกันมานาน ความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้นเนื่องจากสีแดงดำเป็นสีที่พบบ่อยและมีอยู่มากที่สุด ปัจจุบันสีที่เป็นที่นิยมและมีราคาแพง คือสีเขียว และสีส้ม

37 Crystallography ระบบ isometric : dodecahedron trapezohedron หรือทั้ง 2 ฟอร์มผสมกัน

38 Physical properties Optical properties Cleavage : ไม่แสดงแนวแตกเรียบ
Fracture : ที่เป็นผลึกเดี่ยวแตกแบบก้นหอย ชนิด hydrogrossular แตกแบบไม่เรียบ Hardness : ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบทางเคมี S.G : ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบทางเคมี Optical properties Luster : vitreous - subadamantine Colour : มีหลายสี ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบทางเคมี Transparency : translucent-semitranslucent ชนิด hydrogrossular --> transparent to opaque Optic character : isotropic มักแสดง anomalous double refraction R.I. : ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบทางเคมี Dispersion : ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบทางเคมี Fluorescence : ส่วนใหญ่ไม่เรืองแสง

39 Chemical properties Garnet เป็นแร่ silicate ตระกูลใหญ่ สูตรเคมีทั่วไป คือ A3B2SiO4 A : ธาตุที่มีประจุ + 2 B : ธาตุที่มีประจุ + 3 Garnet แบ่งได้เป็น 2 ชุด(series) คือ 1. Pyralspite series มี B เป็น Al +3 2. Ugrandite series มี A เป็น Ca +2 โครงสร้างของ garnet

40 Garnet ประเภท(species) ต่างๆ ในชุด pyralspite และชุด Ugrandite

41 ไพโรป (Pyrope) มี Fe และ Cr เข้าแทนที่ Mg > ให้สีส้มอมแดง แดงมืด แดงอมม่วง Hardness = S.G = (+0.09 ถึง ) R.I. = ( ถึง ) Dispersion = Fluorescence : ไม่เรืองแสง Absorption spectrum : แสดงแถบดูดกลืนแสงเป็นแถบกว้าง nm และดูดกลืนแสงตั้งแต่ จนถึง nm

42 โรโดไลต์ (rhodolite) เป็น garnet ที่ประกอบด้วย pyrope และ almandine
มีสีแดงอมม่วง ม่วงอมแดง มีสมบัติต่างๆ อยู่ระหว่าง pyrope กับ almandine Hardness = S.G = (+ 0.10) R.I. = ( ถึง ) Dispersion = Fluorescence : ไม่เรืองแสง Absorption spectrum : เหมือน almandine Pyrope : เกิดในหิน ultrabasic เช่น peridotite kimberlite(พบร่วมกับเพชร) แหล่งสำคัญ คือ Czechoslovakia ซึ่งเดิมชื่อ Bohemia จึงเรียก Bohemian garnet Rhodolite : เกิดในหิน eclogite แหล่งทางการค้าที่สำคัญ คือ Sri Lanka India Tanzania และ Zimbabwe

43 แอลมันดีน (Almandine)
Almandine บริสุทธิ์ มีส่วนประกอบเป็น Fe3Al2Si3O > ไม่พบในธรรมชาติ Almandine ที่เป็นอัญมณีจึงมีส่วนประกอบระหว่าง almandine และ pyrope เดิม เรียกว่า คาร์บันเคิล(carbuncle) มีสีส้มอมแดงมืด ถึง แดงอมน้ำตาล แดง และแดงม่วง Hardness = S.G = (+0.25 ถึง ) R.I. = ( ) Dispersion = Fluorescence : ไม่เรืองแสง Absorption spectrum : Occurrence : พบในหินที่แปรสภาพแบบ regional metamorphism แหล่งสำคัญ คือ รัฐ Idaho และ India บางเม็ดแสดงสตาร์ 4 หรือ 6 ขา

44

45 สเปสซาร์ทีน (Spessartine)
พบน้อย มีสี ส้มอมเหลือง ถึง ส้มอมแดง สีส้ม เกิดจาก Mn Hardness = S.G = ( ) R.I. = ( ถึง ) Dispersion = Fluorescence : ไม่เรืองแสง Absorption spectrum : Occurrence : พบในหินที่แปรสภาพแบบ contact metamorphism โดยพบร่วมกับ แร่อื่นที่มี Mn เช่น rhodonite แหล่งสำคัญ คือ Myanmar Sri Lanka Madagascar Brazil และ USA.

46 Garnet ที่มีส่วนประกอบผสมกันระหว่าง pyrope และ spessartine มี 2 ชนิด คือ
(Mg,Mn)3Al2(SiO4)3 1. มาลาเอีย(Malaia) มีสีส้มอมแดง ส้มอม เหลือง คล้ายกับ spessatine และ hessonite 2. การ์เนตเปลี่ยนสี (Colour-change garnet) Hardness = S.G = ( ถึง ) R.I. = ( ถึง ) Fluorescence : ไม่เรืองแสง Absorption spectrum : แสดงเส้นดูดกลืนแสงชัดเจนที่ และ 430 nm เช่นเดียวกับ spessatine

47 กรอสซูลาไรต์ (Grossularite)
Hessonite : สีเหลือง-ส้ม ถึง ส้ม-น้ำตาล เกิดจาก Mn และ Fe Tsavorite : สีเขียว เกิดจาก V Pink grossularite : สีชมพูเกิดจาก Fe Hydrogrossular : มี OH อยู่ในโครงสร้าง สีเขียว ถึงเขียวอมน้ำเงิน ชมพู ขาว และเทา

48 Hardness = 7 S.G = ( ถึง ) R.I. = ( ถึง ) Fluorescence : ไม่เรืองแสง Absorption spectrum : ชนิดสีเขียวเข้มอาจแสดงแถบดูดกลืนแสงที่ nm สีอื่น อาจเห็นที่ nm. green grossularite hessonite Occurrence : เกิดในหินที่แปรสภาพมาจากหินปูนสกปรก แหล่ง hessonite ที่สำคัญ คือ Sri Lanka และ Canada แหล่ง tsavorite พบแห่งเดียว คือ วนอุทยาน Tsavo แหล่ง pink grossularite คือ Mexico และ South Africa

49 แอนดราไดต์ (Andradite)
เป็น garnet สีเหลือง ถึง เขียว น้ำตาล และดำ ที่จัดเป็นอัญมณีมี สีเขียว ถึงเขียวอมเหลือง เรียกว่า ดีมานทอยด์(Demantoid) สีเขียวสด เกิดจาก Cr เข้าแทนที่ Fe เพียงเล็กน้อย มีประกายแวววาวดีเหมือนเพชร

50 อูวาโรไวต์ (Uvarovite)
Hardness = S.G = (+ 0.03) R.I = ( ถึง ) Dispersion = Fluorescence : ไม่เรืองแสง มลทินรูปหางม้า Absorption spectrum : แสดงแถบดูดกลืนแสงชัดเจนที่ nm. Occurrence : แหล่งสำคัญของ demantoid อยู่ที่เทือกเขา Ural ใน USSR เมือง Piemont ใน Italy และเมือง Zermatt ใน Switzerland ชนิดตาแมว มาจากรัฐ California อูวาโรไวต์ (Uvarovite) เป็น garnet สีเขียว ประกายดี ไม่ค่อยพบในตลาดอัญมณี เนื่องจากมีขนาดเล็ก

51 Specific Gravity Refractive Index
Spessartine 4.15 ( )  ( ) Almandine 4.05 ( ) ( ) Andradite 3.84 ( ) ( )  Demantoid  3.84 ( ) ( ) Rhodolite 3.84 ( ) ( ) "Malaia“ ( ) ( ) "Pyrope“ ( ) ( ) Grossular 3.61 ( ) ( )    Hessonite    Tsavorite

52 Name คำว่า garnet มาจากภาษาลาติน granutus แปลว่า เม็ด (grain)
คำว่า pyrope มาจากภาษากรีก แปลว่า เหมือนไฟ คำว่า rhodolite มาจากภาษากรีก rhodon แปลว่า กุหลาบ คำว่า almandine มาจากชื่อเมือง Alabanda เป็นแหล่งเจียระไน garnet คำว่า spessartine มาจากชื่อแคว้น Spessart ใน Bavaria ซึ่งพบ spessartine เป็นครั้งแรก คำว่า malaia มาจากภาษา Buntu แปลว่า นอกคอก คำว่า grossularite มาจากชื่อ gooseberry เนื่องจากมีสีเขียวเหมือนกัน คำว่า hessonite มาจากภาษากรีก แปลว่า ผู้ด้อยกว่า คำว่า andradite มาจากชื่อนักแร่วิทยาชาวโปตุเกส ชื่อ d’ Andrada คำว่า demantoid มาจากการที่มีประกายแวววาวเหมือนเพชร

53 Garnet group Variety Species Variety pyrope rhodolite malaia almandine
colour-change spessartine hessonite grossularite tsavorite hydrogrossularite demantoid andradite uvarovite


ดาวน์โหลด ppt โอปอ (Opal).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google