ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMyles Brooks ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
วงรอบ การให้ผลผลิต ของโคนม Lifecycle Production Phases
356443
2
จุดประสงค์ นักศึกษาที่ผ่านการเรียนบทนี้ สามารถอธิบาย
นักศึกษาที่ผ่านการเรียนบทนี้ สามารถอธิบาย วัฏจักรชีวิตของแม่โคนม ปัญหาการสืบพันธุ์ที่พบบ่อยในฟาร์มโคนม 2
3
Definition CALF - ลูกโค HEIFER – โคสาว COW – โคนาง MATERNITY FERTILITY
PUBERTY Male calf Young bull Bull Steer Stag Ox 3 3
4
Definition Estrus / Heat Breed / Bred Pregnancy ; Gestation
Calving ; Calving interval Estrus cycle ; Estrus synchronization 4 4
5
Lifecycle Production Phases
Calf พักรีด 60 วัน รีดนม 305 วัน คลอดลูก Weaning ผสมติดใหม่ หลังคลอด 85 วัน Peak ≈ 5 wk หลังคลอดลูก Heifer อุ้มท้อง 280 วัน คลอดลูก ผสมพันธุ์ อายุ 15 เดือน นน. 60% นน. โตเต็มที่ 5 5
6
วัฏจักร ชีวิตแม่โคนม เฉลี่ยการให้นม 5-6 lactations
ระยะเวลาอุ้มท้อง = 285 วัน ระยะการให้นม = ~300 วัน ระยะพักรีดนม = days Generation Interval = ~2 ปี 6 6
7
วัฏจักร ชีวิตแม่โคนม ลูกโค: แยกจากแม่โค หลังคลอด และนำไปเลี้ยงคอกลูกโค
หย่านมที่อายุ ~8 สัปดาห์ โคสาว : แบ่งกลุ่มตามขนาด / อายุ เริ่มเข้ารอบการเป็นสัด เมื่ออายุ เดือน ผสมพันธุ์ อายุ เดือน ให้ลูกตัวแรก อายุ 2 ปี 7 7
8
วัฏจักร ชีวิตแม่โคนม แม่โครีดนม : เริ่มผสมพันธุ์ ~60 วัน หลังคลอดลูก
เริ่มผสมพันธุ์ ~60 วัน หลังคลอดลูก ควรจะตั้งท้อง หลังคลอด 85 วัน ( วัน) พักรีดแม่โค หลังรีดนม 10 เดือน: รีดนม ~305 วัน พักรีด ~ วัน ก่อนการคลอดครั้งใหม่ แม่โค ควรให้ลูกตัวที่ 2 เมื่ออายุ 3 ปี เริ่มให้นม lactation ที่2 ย้อนกลับเข้าวงรอบอีกหน 8 8
9
Life of Dairy Cow 9 9
10
Life of Dairy Cow Remate/ Birth Cull 10 6 ปี 2 ปี 4 ปี 5 ปี 2 15 24
26-28 35 37 39-41 48 50 52-54 61 63 65-67 74 76 Remate/ Cull Birth หย่านม ผสมครั้งแรก คลอดลูกตัวแรก ผสมครั้งที่สอง Dry คลอดลูกตัวที่สอง ผสมครั้งที่สาม Dry คลอดลูกตัวที่สาม ผสมครั้งที่สี่ Dry คลอดลูกตัวที่สี่ ผสมครั้งที่ห้า Dry คลอดลูกตัวที่ห้า 10
11
คำแนะนำ น้ำหนักผสมและคลอดของโคสาว
พันธุ์ นน.ผสม (กก.) นน.คลอดลูก (กก.) Ayrshire Brown Swiss Guernsey Holstein Jersey 11
12
Month 12 12 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Dry Period Lactating
Phase 3 Fresh Far Off Close Up Phase 4 Phase 5 Phase 6 Peak DMI Peak Milk Tail End Dry Matter Intake Phase 1 Phase 2 Milk Production Dry Period Body Weight Lactating Month 12 12
13
ระยะเวลาของแต่ละ Phase
Phase 3: 0 to 14 days Fresh Phase 4: 12 to 80 days Peak Milk Phase 5: 80 to 200 days Peak DMI Phase 6: 200 to 300 days Tail End Phase 1: 1st 45 days dry Far Off Phase 2: Last 21 days dry Close Up 13 13
14
Phase 3 - Fresh Cow แม่โคเริ่มเข้าสู่การให้นม : 0 → ~ 10-15 กก.
ความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น - ให้นม 15 กก. : Mcal/Day - ช่วงพักรีด : 13 Mcal/Day เป้าหมาย : ให้แม่โคปรับตัว กินอาหารให้พอกับการให้นมสูงสุด แม่โคเข้าสู่สภาพ สมดุลพลังงานเป็นลบ negative energy balance การกินอาหารจะกินได้ ~2.5% of BW/day 14 14
15
Phase 4 – Peak Production
A 680 kg Cow can produce ~63 kg/day during this period ระยะนี้ แม่โคน้ำหนักลดลงตลอด เพราะ กินอาหารได้ไม่พอกับความต้องการพลังงานในการสร้างน้ำนม คงสภาพร่างกาย สมดุลพลังงานเป็นลบ ปรกติแม่โคให้นมสูงสุด ประมาณวันที่ 50 – 60 หลังคลอดลูก โคสาว ประมาณวันที่ หลังคลอดลูก แม่โค กินอาหารได้ประมาณ 3.5%BW 15 15
16
Phase 5: Peak DMI แม่โคเริ่มให้นมลดลง
เมื่อเริ่มระยะนี้ : นน. ตัวของแม่โคจะต่ำสุด แม่โคกินอาหารได้เพิ่มขึ้น และเริ่มมี นน.ตัวเพิ่ม สภาพสมดุลพลังงานไม่เป็นลบ ควรให้แม่โคมีอาหารกินตลอดเวลา แม่โคให้นมสูง อาจจะกินอาหารได้มากถึง 4%BW ตอนปลายของระยะนี้ แม่โคกินอาหารได้ลดลง ประมาณ 3.5%BW 16 16
17
Phase 6 – Tail End แม่โคเริ่มให้น้ำนมลดลงเห็นได้ชัด
การกินอาหารลดลงเช่นกัน นน.ตัวเพิ่มรวดเร็ว เท่ากับตอนเริ่มรีดนม แม่โคท้องแก่ขึ้น แต่ความต้องการอาหารยังไม่เพิ่ม แม่โคกินอาหารได้ 2.5 – 3% BW 17 17
18
Dry Period พักรีดนมแม่โค ระยะ 1: ต่อมน้ำนมฝ่อตัวรวดเร็ว
ระยะ 2 : เริ่มกระบวนการ Lactogenesis และ colostrogenesis เปลี่ยนอาหารแม่โค ให้มีสัดส่วนอาหารหยาบสูงขึ้น : DMI ลดลงเหลือ ~ 2 %BW ระดับพลังงานในอาหารลดลง แม่โคต้องการพลังงานประมาณ 13 Mcal/day อาหารแม่โคมีราคาถูกที่สุด เปลี่ยนแปลงระดับแร่ธาตุ เป็นระดับป้องกัน Metabolic Disease 18 18
19
ระยะเวลาของแต่ละ Phase
แม่โคให้นม kg ความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น Negative energy balance DMI ~2.5% of BW/day Phase 4 แม่โคน้ำหนักลดลงตลอด แม่โคให้นมสูงสุด DMI ~ 3.5%BW Phase 5 แม่โคเริ่มให้นมลดลง BW จะต่ำสุด DMI ↑(4%BW) → BW ↑ Positive energy balance Phase 6 น้ำนมลดลงเห็นได้ชัด DMI ↓(2.5 – 3% BW) BW ↑ Phase Dry ต่อมน้ำนมฝ่อตัวรวดเร็ว Lactogenesis และ colostrogenesis DMI ลดลงเหลือ ~ 2 %BW ระดับพลังงานในอาหารลดลง ป้องกัน Metabolic Disease 19 19
20
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Lactating Dry Period 20 20 Phase 6
Milk kg -energy bal DMI ~2.5%BW Milk Lowest BW DMI ↑(4%BW) → BW ↑ + energy balance Milk DMI ↓ (2.5 – 3% BW) BW ↑ Milk ↑ DMI ~ 3.5%BW BW Mammary gland Lactogenesis colostrogenesis DMI ~ 2 %BW 20 20
21
Phase 4 Phase 5 Phase 6 Phase 3 Lactating Dry Period 21 21
22
การให้คะแนนระบบ 1-5 ไขมันพอกเต็ม บริเวณโคนหาง ปุ่มกระดูกเชิงกราน
กลมมนมาก มีไขมันพอก แต่ออกแรงกดมาก ๆ ก็ยังสามารถสัมผัส ไขมันมาพอกโคนหางมาก เมื่อออกแรงกดลงไป ปุ่มกระดูกเชิงกราน และปีกกระดูกสันหลัง จะมองไม่เห็น โคนหางจะเป็นหลุมลึก กระดูกเชิงกรานและ ปีกกระดูกสันหลัง เป็นร่องและเห็นชัดเจน ไม่มีไขมันปกคลุม หลุมบริเวณโคนหางตื้นขึ้น ไขมันเริ่มมีการสะสมเพิ่มขึ้น บริเวณโคนหางและบริเวณ ปุ่มกระดูกเชิงกราน กระดูกเชิงกรานยังเด่นชัด ไม่มีหลุมโคนหาง ไขมันปกคลุมมากขึ้น ปุ่มกระดูกเชิงกราน เริ่มไม่เด่นชัด
23
วงรอบการเป็นสัดของโค
Metoesturs วันที่ 2-4 ของการเป็นสัด หยุดแสดงอาการเป็นสัด Oesturs Dominant follicle มีการเจริญเติบโตเต็มที่ เกิดการตกไข่ (ovulation) มีการสร้าง Corpus luteum Pro-oesturs Follicleเจริญอย่างรวดเร็ว Dioesturs วันที่ 5-17 หลังจากการเป็นสัด Corpus luteum ฝ่ออย่างรวดเร็ว Corpus luteum เจริญเต็มที่ 23 23
24
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนในรอบการเป็นสัด
24 24
25
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนในรอบการเป็นสัด
25
26
การควบคุมระบบสืบพันธุ์ในสัตว์เพศเมีย
ต่อมไร้ท่อและอวัยวะ ฮอร์โมน หน้าที่หลักของฮอร์โทน ไฮโปธาลามัส (Hypothalamus) GnRH กระตุ้นการหลั่ง FSH และLH จาก Pituitary ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior Pituitary gland) FSH กระตุ้นการเจริญของกระเปาะไข่และไข่สุก LH กระตุ้นกระเปาะไข่สุก ทำให้เกิดการตกไข่สร้าง และรักษาสภาพ corpus Iuteum รังไข่ (Ovary) Estrogens กระตุ้นอาการเป็นสัด กระตุ้นการหลั่ง GnRH ก่อนการตกไข่ Progesterone เตรียมเยื่อบุมดลูกเพื่อการฝังตัวของตัวอ่อน รักษาสภาพการตั้งทอง ลดการหลั่ง GnRH จึงเป็นการยับยั้งการตกไข่ มดลูก (Uterus) Prostaglandin การสลาย corpus luteum 26
27
การควบคุมระบบสืบพันธุ์ในสัตว์เพศเมีย
27
28
วิธีตรวจสอบการเป็นสัด
Chin ball markers 28 28
29
วิธีตรวจสอบการเป็นสัด
Heat mount detectors / Heat detection pad : Kamar® mount 29 29
30
วิธีตรวจสอบการเป็นสัด
Heat mount detectors / Heat detection pad : Kamar® mount 30 30
31
วิธีตรวจสอบการเป็นสัด
Vasectomized bulls Teaser bull 31 31
32
Efficiency of Heat Detection
Number of times observed Observed Period (min) 1X daily % 31% 36% 39% 2X daily 33% 43% 55% 61% 3X daily 45% 55% 65% 71% 4X daily 49% 61% 71% 78% 32
33
Express signs of heat during the night.
: Onset of heat activity follows a distinct pattern : Occurring in the late evening, through the night, and in the early morning : 70% - 7:00 (night) and 7:00 (morning) 33 33
34
ปัจจัยอื่นที่มีอิทธิพลต่อการแสดงอาการเป็นสัด
ประเภทของโรงเรือนที่แม่โคอาศัย (stanchion barn, free stall, pasture, walking path along a fence, etc.) ขนาดของฝูงแม่โค เช่น แม่โคสองตัว เป็นสัด เวลาเดียวกัน เป็นเหตุให้ เกิด กิจกรรมปีนทับเพิ่มเป็นสามเท่า อากาศร้อน และชื้น ลม ฝน หิมะ พื้นที่ขังจำกัด ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ ลื่น ล้ม กีบเจ็บ มีแนวโน้มไปยับยั้งการ แสดงอาการเป็นสัด 34 34
35
แม่โคไม่เป็นสัด แม่โคอาจจะไม่เป็นสัด เนื่องจาก : โคท้อง
แม่โคอาจจะไม่เป็นสัด เนื่องจาก : โคท้อง โคเพิ่งคลอดลูก : Silent heat ทุโภชนาการ (poor nutrition) ติดเชื้อใน ทางเดินอวัยวะสืบพันธุ์ หรือ เกิด ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดลูก แม่โคมีถุงน้ำในรังไข่ - cystic ovarian การสังเกตสัดไม่ดี 35 35
36
A.I (ARTIFICIAL INSEMINATION)
ข้อดีของผสมเทียม : โอกาสอย่างกว้างขวางในการเลือกพ่อพันธุ์ ไม่ต้องเสียค่าเลี้ยงดูและความเสี่ยงในการเลี้ยงพ่อ พันธุ์ ลดความเสี่ยงในการติดต่อโรคทางการสืบพันธุ์ และความบกพร่องทางพันธุกรรม (e.g., mule foot) 36 36
37
A.I (ARTIFICIAL INSEMINATION)
การผสมเทียม ทำให้ต้องพัฒนาระบบเครื่องหมายตัวสัตว์ และการทำบันทึกการเป็นสัดและผสมเทียม การบันทึกที่ถูกต้องแม่นยำ จำเป็นต่อการพัฒนาการจัดการสืบพันธุ์ และการให้ข้อมูลแก่สมาคมบำรุงพันธุ์ เพื่อความแม่นยำของสมุดคุมฝูง (herd books) 37 37
38
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แม่โคส่วนใหญ่เป็นสัดนาน ≈ 18 ชั่วโมง
ไข่จะตกจากรังไข่ พร้อมที่จะรับการผสมพันธุ์ ≈ 10 – 12 ชั่วโมง หลังจากหมดสัด หลังการตกไข่ ไข่จะคงความพร้อมรับการผสมอีก ≈ 6 ชั่วโมง ตัวอสุจิ มีชีวิตอยู่ได้ในร่างกายแม่โคนาน ≈ 24 ชั่วโมง ตัวอสุจิควรจะพักตัวอยู่ในอวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย ≈ 6 ชั่วโมง ก่อนที่ได้เข้าผสมกับไข่ 38 38
39
Heat detection and timing of insemination in cattle
Oesturs 4-24 hr AI = hr after standing heat Metoesturs 39
40
Timing of insemination or natural service for cows
40 40
41
ข้อแนะนำในทางปฏิบัติ
ถ้าแม่โคเป็นสัดตอนเช้า ควรผสมแม่โคในตอนเย็น ถ้าแม่โคเป็นสัดตอนเย็น ควรผสมแม่โคในตอนเช้าของวันรุ่งขึ้น หรือประมาณ 18 ชม. นับจากเริ่มเป็นสัด : morning-evening rule 41 41
42
การจัดการผสมให้แม่โคคลอดในฤดูที่ต้องการ
* กระจายการใช้แรงงาน โดยจัดการให้แม่โคคลอดลูกในฤดูกาลที่มีงานอื่นไม่มาก * ควบคุมปริมาณน้ำนมที่ผลิตได้ * ให้สอดคล้องกับปริมาณอาหารสัตว์ ที่หาซื้อได้ตามฤดูกาลต่างๆ 42 42
43
พันธุ์โคนม มีผลต่อจำนวนวันอุ้มท้อง
Breed Length of pregnancy, days Brown Swiss 290 Guernsey 284 Dairy Shorthorn 282 Holstein-Friesian 279 Jersey 279 Ayrshire 43 43
44
หลังการคลอดลูก มดลูกหดตัว ในช่วง : วัน คอมดลูกกลับสู่ขนาดปรกติ ภายใน ชั่วโมง แม่โค เป็นสัดใหม่ หลังคลอด วัน หลังคลอดลูก ควรผสมติดให้ได้ภายใน 60 – 90 วัน ช่วงห่างของการตกลูกควรอยู่ระหว่าง เดือน 44 44
45
สาเหตุทำให้อัตราผสมติดต่ำ
ก. การจัดการไม่ดี การสังเกตสัดไม่ดี ผสมเทียมไม่ถูกจังหวะ การผสมหลังแม่โคตกลูกช้าไป อุณหภูมิร่างกายสูง - แม่โคที่นำมาผสมต้องเดินไกล อุณหภูมิร่างกายสูง บริหารจัดการไม่ดี – ต้องตรวจสอบแม่โคที่ไม่เป็นสัดภายใน 60 วันหลังคลอดลูก และควรตรวจการอุ้มท้องหลังผสม สัปดาห์ 45 45
46
สาเหตุทำให้อัตราผสมติดต่ำ
ข. สภาพแวดล้อม - การให้อาหารต้องดี มีแร่ธาตุเลียกิน โปรตีน วิตามินเอ เพียงพอ ต้องคอยดูแลอุณหภูมิแวดล้อม ความชื้น ค. โรค - มดลูกอักเสบ (metritis ) ง. ฮอร์โมนถูกรบกวน - ทำให้เกิดความผิดปรกติได้ เช่น cystic follicle จ. อื่นๆ - คุณภาพน้ำเชื้อ เทคนิคการผสม 46 46
47
ปัจจัยทางแม่โค : การติดเชื้อโรคในทางเดินอวัยวะสืบพันธุ์ ;
ฮอร์โมนผิดปรกติ ; ท่อนำไข่ถูกปิดกั้น ; ความบกพร่องทางสรีระ ; การตายของคัพภะระยะแรก (แม่โคตั้งท้อง แต่ อุ้มท้องไม่ตลอด) ; 47 47
48
Pregnancy and Calving การตั้งท้อง - PREGNANCY
ปฎิสนธิ เกิดขึ้นในท่อนำไข่ - oviduct. ภายหลังปฎิสนธิได้ 2-3 วัน embryo เคลื่อนเข้าสู่มดลูก หลัง 28 วันล่วงไปแล้ว จึงฝังตัวในผนังมดลูก 48
49
Implantation In part, implantation consists of the formation of about 80 to 100 structures where fetal tissue (cotyledon) and maternal tissue (caruncles) fold together. Implantation is usually completed by Day 45 of pregnancy. 49
50
Fetus in placental membranes (4 months)
50
51
คัพภะตาย - Embryonic Death
หลังฝังตัวในมดลูก ความเสี่ยงของคัพภะตาย ≈ 10 – 20 % หากคัพภะตาย ภายใน 17 – 18 วัน หลังปฎิสนธิ แม่โคจะกลับมาเป็นสัด หลังคัพภะตาย จะส่งผลให้การกลับสัดช้า รอบการเป็นสัดอาจจะนาน 30 – 35 วัน 51
52
Pregnancy Check Pregnancy scaner non-return of heat, ( 60 d )
rectal palpation (40 – 60 d ) milk progesterone 21 to 23 days after insemination Pregnancy scaner 52
53
Growth of Fetus Most fetal growth occurs in the last trimester of pregnancy (Days 190 to 282), during which time the fetal weight increases from about kg. 53
54
แท้ง - Abortion อัตราการแท้งลูกที่ฝังตัวในมดลูกแล้ว ≈ 3 to 5% ของ จำนวนแม่อุ้มท้อง สาเหตุสำคัญ คือ : การผสมเทียมแม่โคที่อุ้มท้อง ; แม่โคบาดเจ็บ (การปฏิบัติต่อแม่โคอุ้มท้องไม่นุ่มนวล พอ) ; แม่โคกินอาหารที่มีสารพิษ, ขึ้นรา, หรืออาหารที่มี estrogen ระดับสูง; ติดเชื้อจุลินทรีย์ (โรคทางการสืบพันธุ์ และ โรคติดต่ออื่นๆ ). การติดเชื้อแบคทีเรีย , ไวรัส, โปรโตรซัว หรือเชื้อรา เป็นสาเหตุให้แม่โคแท้งลูกในช่วงระหว่างเดือนที่4 ถึง 7 ของการอุ้มท้อง 54
55
CALVING Normal Fetal position before calving
Abnormal presentation of the calf occurs once in about 20 calvings (5%). Fetal position before calving 55
56
อาการของแม่โคใกล้คลอด
เต้านมขยายใหญ่ เอ็นกระดูกเชิงกรานคลายตัว ขับเมือกที่อุดช่องมดลูกออกมาทางช่องคลอด 56
57
ขั้นตอนการคลอด 57
58
ขั้นตอนการคลอด 1. การขยายตัวของ cervix โคนางใช้เวลานาน 2-3 ชม.
โคสาว 4-6 ชม. cervix ขยายตัวเพราะ hormone (oxytocin) และแรงดันของถุงน้ำคร่ำหากถุงน้ำแตกเร็ว : การขยายตัวตามปรกติของคอมดลูกcervix ล่าช้าไป 58
59
2: ขับลูกออกมา ลูกโคคลอดออกมา อาจจะยังอยู่ในถุงน้ำคร่ำ
"water bag" (amniotic fluid). เมื่อหัวของลูกโคโผล่ให้เห็น ส่วนอื่นจะคลอดออกมายาก ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ ชม. ข้อผิดพลาดที่มักเกิดขึ้น คือ การรีบช่วยดึงขาหน้าลูกโคออกมาโดยไม่จำเป็น 59
60
2: ขับลูกออกมา 60
61
2: ขับลูกออกมา 61
62
ระยะที่ 3: การขับรกออก เมื่อคลอดลูกออกมาแล้ว
มดลูกยังคงบีบตัวต่อไปอีกระยะหนึ่ง ช่วยแยกรกออกจากผนังมดลูก แม่โคจะขับรกออกมาหลังคลอด ภายใน 12 ชั่วโมง 62
63
การจัดการกับแม่โคที่คลอดยาก
เมื่อแม่โค เบ่งคลอดไปได้ ชม. ขาหน้าของลูก ในท้องควรจะโผล่ให้เห็น หากมีสัญญาณไม่ดี ควรให้ ความช่วยเหลือแม่โค สิ่ง สำคัญ คือ การทำความ สะอาดและฆ่าเชื้อโรคบริเวณ มือ แขน และอุปกรณ์ที่ใช้ ช่วยทำคลอด ตรวจสอบท่าคลอดของลูกโค จัดท่าคลอดให้ถูกต้อง ก่อนที่จะใช้อุปกรณ์ช่วงดึง ควรดึงลูกโคให้สัมพันธ์กับ จังหวะแม่โคเบ่งคลอด 63
64
หลังการคลอดลูก หลังคลอดมดลูกหดตัว
รังไข่อาจจะตกไข่ได้ หลังคลอด 15 วัน แต่มักไม่แสดงอาการเป็นสัด หรือ เป็นสัด เงียบ (silent heat), และรอบการเป็นสัดสอง สามรอบแรกอาจจะสั้น ควรจับสัดเพื่อผสมพันธุ์หลังคลอดแล้ว ประมาณ 60 วัน 64
65
แนวทางดูแลแม่โคคลอดลูก
จัดการให้อาหารสาวให้ได้ อายุและน้ำหนักที่ผสมพันธุ์ที่เหมาะสม ส่วนแม่โค ช่วงพักรีดต้องดูแลไม่ให้ อ้วน ในช่วงปลายการรีดนม หรือ ช่วงพักรีด แม่โคอ้วนเสี่ยงต่อการคลอดลูกยาก จัดให้มี คอกคลอด ในอัตรา 1 คอกคลอด ต่อ 8 แม่โคท้อง ดูแลคอกคลอดให้ แห้ง ถ่ายเทอากาศดี และทำความสะอาดอย่างหมดจดทุกครั้งหลังแม่โคคลอด 65
66
แนวทางดูแลแม่โคคลอดลูก
ไม่ตื่นเต้น เฝ้าดูแม่โคคลอด แม่โคเบ่งคลอดได้ 1-2 ชม. แต่ยังไม่เห็นขาหน้าของลูกโผล่ออกมาทาง ช่องคลอด และไม่มีสัญญาณว่าจะคลอด แม่โคแสดงอาการไม่ดี ให้ตรวจสอบท่าคลอดของลูก หากไม่สามารถจัดการกับท่าคลอดให้ถูกต้อง ตามสัตวแพทย์มาช่วยเหลือ หากตัดสินใจช่วยแม่โคทำคลอด ให้ดูแลความสะอาด มือและแขน ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้อย่างเข้มงวด ดูแลลูกโคคลอดใหม่ นำเมือกออกจากรูจมูก แน่ใจว่าลูกโคหายใจได้ การแหย่นิ้วเข้าใจรูจมูกลูกโค ช่วยกระตุ้นการหายใจได้ 66
67
แนวทางดูแลแม่โคคลอดลูก
หากมีของเหลวหรือเมือกคั่งในปอด ให้ยกขาหลังของลูกโคขึ้นสูงให้หัวห้อยลงสักครู่ เช็ดสายสะดือด้วยทิงเจอร์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรค ให้ลูกโคดื่ม นมน้ำเหลืองโดยเร็ว เพื่อให้ภูมิคุ้มโรคแก่ลูกโค 67
68
Udder shaped round shaped udder dish-shaped udder 68
69
69
70
Udder Anatomy 70
71
Ligaments Skin Lateral suspensory ligaments
Median suspensory ligaments 71
72
Components of the udder
Teat cistern located just above the streak canal stores the milk which drains from the gland. It normally holds 15 to 40 ml of milk depending on the size of the teat. Gland, or udder, cistern located just above the teat cistern separated from it by annular folds of tissue varies in shape and size between quarters and cows stores only about 500 ml of milk. 72
73
Mammary duct and lobule-aveolar systems
73
74
Lobe and lobules 74
75
Mammary gland development
Embryo Puberty Pregnancy Lactation Involution Morphogenesis of mammary bud Ductal development Lobulo-alveolar development 75
76
Hormonal regulation a. Mammary ducts: By estrogen b. Alveolar development: By progesterone synergizing with estrogen c. Preparation of mammary tissue for milk synthesis : By synergistic action of progesterone, estrogen, PRL, GH, insulin, thyroxine and cortisol. d. Other hormones: Placental lactogen: For development of mammary tissue e. Actual milk secretion: By high concentration of progesterone during gestation 76
77
77
78
MILK REMOVAL passive withdrawal from the cisterns and ducts of the udder ejection of milk from the alveolar lumen. 78
79
The milk ejection reflex
79
80
The milk ejection reflex
brain receives the correct message it automatically proceeds to trigger the release of oxytocin The milk ejection reflex usually takes place 20 to 40 seconds The udder should be handled no earlier than 30 seconds before teat cup application 30 to 60 seconds lag between applying the machine and contraction of the alveoli 80
81
Inhibition of milk let-down
blocking oxytocin release from the brain constricting blood vessels and preventing oxytocin from reaching the udder directly counteracting the effect of oxytocin on the contraction of myoepithelial cells 81
82
Inhibition of milk let-down
82
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.