ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYanti Irawan ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น เด็กรับการบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี ค้นประวัติใน Family Folder ซักประวัติ ตรวจร่างกาย (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ตรวจฟัน) กิจกรรมกลุ่มโรงเรียนพ่อแม่ ตรวจพัฒนาการโดยใช้แบบประเมินพัฒนาการ อนามัย 55 พัฒนาการปกติ สงสัย ให้คำแนะนำผู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการ ตามสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (สมุดสีชมพู) แนะนำผู้ปกครองส่งเสริม กระตุ้นพัฒนาการ ตามคู่มืออนามัย 55 นัดประเมินพัฒนาการซ้ำ 1 เดือน ฉีดวัคซีน ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น เฝ้าระวังอาการภายหลังฉีดวัคซีน Refer รพ.ขก นัดครั้งต่อไป กลับบ้าน
2
Flow chart การดูแลผู้ป่วยน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น เด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ซักประวัติตรวจร่างกายถ้าพบความผิดปกติรักษาตามอาการ เช่น หัวใจพิการแต่กำเนิด ความผิดปกติทางโครโมโซม ประเมินความระดับความรุนแรงของการขาดสารอาหาร โดยดูจากน้ำหนักและส่วนสูงเทียบอายุ ขาดสารอาหารระดับ 1 ขาดสารอาหารระดับ 2 ขาดสารอาหารระดับ 3 ให้คำปรึกษาแนะนำ เกี่ยวกับโภชนาการ - นัดติดตามการรักษา - ให้คำปรึกษาแนะนำ - เกี่ยวกับโภชนาการให้วิตามินเสริม - นัดติดตามการรักษา - ติดตามเยี่ยมบ้าน ส่งตัวรักษาในโรงพยาบาล
3
ตารางการให้วัคซีน อายุ วัคซีน 1 เดือนครึ่ง – 2 เดือน DTP-HB1 , OPV1
4 เดือน DTP-HB2 , OPV2 6 เดือน DTP-HB3 , OPV3 9-12 เดือน MMR 1 ปี 6 เดือน DTP-OPV4 , JE1 1 ปี 7 เดือน JE2 2 ปี 6 เดือน JE3 4 ปี DTP-OPV5
4
แผนภูมิแสดงการป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว,โภชนาการอีกครั้ง จุดกราฟโภชนาการหญิงมีครรภ์ Vallop curve ประเมินภาวะเสี่ยง ไม่มี ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว,โภชนาการ มี ติดตามน้ำหนักทารกแรกเกิด ติดตามกราฟโภชนาการหญิงมีครรภ์
5
แผนภูมิแสดงการป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น จุดกราฟโภชนาการหญิงมีครรภ์ Vallop curve ประเมินภาวะเสี่ยง ไม่มี ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว,โภชนาการ มี ติดตามน้ำหนักทารกแรกเกิด ติดตามกราฟโภชนาการหญิงมีครรภ์ ไม่เป็น GDM GDM ส่งพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัย GDM รักษา ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว,โภชนาการอีกครั้ง
6
Flow chart การดูแลผู้ป่วยน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน (อ้วน)
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น เด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง อ้วนสูง อ้วนเตี้ย ประเมินความระดับความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อน ตรวจหาสาเหตุ เช่น โรคต่อมไร้ท่อ โรคทางพันธุกรรม รุนแรงมาก เช่น Obstructive sleep apnea อ้วนมากกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 160 ไม่รุนแรง Fasting sugar Lipid profile ส่งตัวรักษาในโรงพยาบาล ให้คำปรึกษาเรื่อง การควบคุมน้ำหนัก นัดติดตามการรักษา
7
Flow chart ANC Screening
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น ANC Screening Risk Low Risk High Risk ส่งพบแพทย์ ศูนย์แพทย์ประชาสโมสร ฟังผล Lab , U/S , Screening 1 ครั้ง ส่งต่อโรงพยาบาลขอนแก่น ANC ต่อโรงพยาบาลขอนแก่น ปกติ ANC ต่อ รพสต.ตามเกณฑ์ ANC แนวใหม่
8
Flowchart การดูแลหญิงตั้งครรภ์
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น เมื่อสงสัยหรือรู้ว่าตั้งครรภ์ ลงทะเบียน/ซักประวัติ ไม่ตั้งครรภ์ ประเมินสุขภาพร่างกายทั่วไป ทดสอบการตั้งครรภ์ ให้คำแนะนำ ตั้งครรภ์ กลับบ้าน แนะนำประโยชน์ของการฝากครรภ์ ให้คำปรึกษาก่อนตรวจเลือด(ทั้งสามี-ภรรยา) นัดฟังผลเลือด(ทั้งสามี-ภรรยา) เข้าโรงเรียนพ่อแม่ Refer พบแพทย์ U/S รายใหม่ทุกราย 20 wks. ขึ้นไปจ่าย Obimin A-Z Calcium carbonate ให้คำแนะนำฝากครรภ์ตามเกณฑ์/จ่ายยา Obimin A-Z ให้คำแนะนำฝากครรภ์ตามเกณฑ์ /นัดครั้งต่อไป หมายเหตุ การนัดครั้งต่อไปเมื่ออายุครรภ์ 20 Wks. , 26 Wks. , 32 Wks., 36 Wks. ถ้ายังไม่คลอดนัดมาอีกครั้งเมื่อ GA 41 Wks. ถ้ามีภาวะแทรกซ้อน (ไม่เข้าเกณฑ์ ANC แนวใหม่ ) ให้นัดถี่ขึ้น
9
องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ขอประกาศกติกาสังคมเพื่อการ”ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่” ดังนี้ 1. แม่มีลูกเมื่ออายุ ปี ผ่านหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ 2. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และกินยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก และสารไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง 3. แม่ทุกคนเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือนและกินอาหารตามวัย จนลูกอายุ 2 ปี หรือมากกว่า 4.ร้านค้าในชุมชน/หมู่บ้านไม่จำหน่ายนมผงสำหรับเด็กแรกเกิด-1 ปี 5. จัดตั้งจิตอาสารับฝากน้ำนมแม่ในชุมชน 6.ครอบครัวยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ 7. สร้างอาชีพเสริมให้แก่หญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอด 8. จัดระเบียบบ้านน่าอยู่คู่ครอบครัวไทย 9. ครอบครัวมีลูกอายุ 0-5 ปีมีหนังสือนิทาน เล่านิทานและเล่นกับลูกทุกวัน 10. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนจัดมุมนมแม่ 11. ยกย่องประกาศเกียรติคุณแก่แม่ตัวอย่าง-ครอบครัวตัวอย่าง
10
แนวทางการดูแลของเล่นเสริมพัฒนาการในคลินิกเด็กดี (WBC)
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น เก็บของเล่นกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัย ในกล่อง สำหรับตรวจพัฒนาการ ในชั้นวาง แบ่งตามวัยสำหรับเด็กเล่นขณะรอตรวจพัฒนาการและฉีดวัคซีน ตรวจพัฒนาการตามแบบอนามัย 55 หลังให้บริการตรวจพัฒนาการและฉีดวัคซีน นำของเล่น ล้างทำความสะอาดด้วยน้ำยาล้างจาน ผึ่งแดดให้แห้ง ตรวจเช็คสภาพของเล่น เก็บของเล่นเข้าที่เดิมให้เรียบร้อย
11
Flow Chart การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่ตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก
ครั้งที่ 1 อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 1. เช็ค Classifying form แล้วไม่มี ความเสี่ยงสูง 2. ชั่งน้ำหนัก , วัดส่วนสูง ,วัดความดันโลหิต 3. ตรวจร่างกายทั่วไป, ตรวจครรภ์, ประเมินอายุครรภ์,วัด HF 4. ตรวจปัสสาวะโดยใช้ Multiple dipstick หา Protein, Sugar, Nitrite และ Leukocyte esterase 5. ส่งพบแพทย์ U/S ทุกราย 6. ตรวจภายในเพื่อคัดกรองภาวะ asymptomatic vaginitis (อาจเลื่อนไปในครั้งที่ 2 ของการฝากครรภ์) 7. ตรวจ Hb / Hct / OF / DCIPและตรวจ VDRL, Anti HIV, Blood gr, Rh typing, HBsAg 8. ให้วัคซีน dT ครั้งที่ 1 9. ให้ Obimin A-Z 10. โรงเรียนพ่อแม่ ครั้งที่ 1 และ ให้คำแนะนำกรณีเกิดอาการผิดปกติฉุกเฉินและเบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อฉุกเฉิน ครั้งที่ 2 อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ 1. ชั่งน้ำหนัก,วัดความดันโลหิต 2. ตรวจปัสสาวะหา Protein, Sugar 3. ตรวจร่างกายทั่วไป, ตรวจภาวะซีด, บวม 4. ตรวจครรภ์ : ประเมิน GA, HF, FHS 5. PV (ในกรณีที่ยังไม่ได้ตรวจเมื่อฝากครรภ์ครั้งที่ 1 ) 6. ตรวจอัลตร้าซาวด์ ( ถ้าทำได้ ) 7. ให้ธาตุเหล็ก Obimin A-Z และแคลเซียมตลอดการตั้งครรภ์ 8. ให้วัคซีน dT ครั้งที่ 2 (ห่างจากเข็มแรก อย่างน้อย 1 เดือน) 9. ให้คำปรึกษาหลังทราบผลเลือด อาการผิดปกติฉุกเฉิน และเบอร์โทรศัพท์สำหรับการติดต่อ ครั้งที่ 3 อายุครรภ์ 26 สัปดาห์ 1. ชั่งน้ำหนัก,วัดความดันโลหิต 2. ตรวจปัสสาวะหา Protein, Sugar 3. ตรวจร่างกายทั่วไป, ตรวจภาวะซีด, บวม 4. ตรวจครรภ์ : ประเมิน GA, HF, FHS 5. แนะนำให้มารดาสังเกตการดิ้นของทารกในครรภ์ ครั้งที่ 4 อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ 1. ชั่งน้ำหนัก,วัดความดันโลหิต 2. ตรวจปัสสาวะหา Protein, Sugar 3. ตรวจร่างกายทั่วไป, ตรวจภาวะซีด, บวม 4. ตรวจครรภ์ ประเมิน GA, HF, FHS 5. ตรวจ Hb/Hct. VDRL, Anti HIV 6. โรงเรียนพ่อแม่ครั้งที่ 2 และ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคลอด วางแผนการคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การคุมกำเนิด ครั้งที่ 5 อายุครรภ์ 36 สัปดาห์ 1. ชั่งน้ำหนัก,วัดความดันโลหิต 2. ตรวจปัสสาวะหา Protein, Sugar 3. ตรวจร่างกายทั่วไป, ตรวจภาวะซีด, บวม 4. ตรวจท่าทารกในครรภ์ ถ้าเป็นท่าก้นให้ส่งต่อเพื่อทำ ECV หรือ เพื่อการผ่าตัด 5. ถ้ายังไม่คลอดเมื่ออายุครรภ์ครบ 41 สัปดาห์ ให้มาโรงพยาบาลเพื่อชักนำการคลอด
12
แผนภูมิแสดงแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับเชื้อเอช ไอ วี
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น หญิงตั้งครรภ์และ สามี Pre-counseling : couple (ANC) หญิงตั้งครรภ์ เอช ไอ วี บวก Post-counseling Refer ฝากครรภ์ต่อที่รพ. ขอนแก่น มารดา ทารก ติดตามเยี่ยมดูแลตลอด การตั้งครรภ์ ติดตามเยี่ยมดูแลทารก ติดตามเยี่ยมหลังคลอด ให้คำแนะนำ การปฏิบัติ ตัวหลังคลอด ติดตามพัฒนาการ, โภชนาการ,ฉีดวัคซีน
13
แนวทางการส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรคธาลัสซีเมีย และฮีโมโกลบินผิดปกติ
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น หญิงตั้งครรภ์ เจาะเลือดคัดกรอง Thalassemia GA≤16 wk GA>16 wk ให้คำปรึกษาภรรยา + สามี ให้คำปรึกษาแนะนำ Early ANC ส่งเลือดภรรยา+สามีตรวจ DCIP/MCV หากผลผิดปกติ ส่ง Hb typing ต่อ ไม่ใช่คู่เสี่ยง คู่เสี่ยง ให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ตามปกติ ให้คำปรึกษา ส่งพบแพทย์ แปลผล Hb typing ถ้าพบมีความเสี่ยงสูง Refer ฝากครรภ์ต่อ ที่รพ.ขก.
14
รพ.สต รพ.สต....................................... อ.เมือง จ.ขอนแก่น
CPG Hypertensive Disorders of Pregnancy รพ.สต รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ - วัด BP - ซักประวัติ/ประเมิน No ดูแล ANC ตามปกติ BP ≥ 140/90 mmHg. Yes - ให้ Rest เต็มที่ - วัดห่างกัน 6 ชั่วโมง - BP ≥ 140/90 mmHg. - หรือ diastolic blood pressure > 110 mmHg. เพียงครั้งเดียว - มีบวม มือ เท้า หน้า หรือทั้งตัว,กดบุ๋ม - น้ำหนักขึ้นมากกว่า 2 ก.ก./สัปดาห์ ส่งพบแพทย์ High risk นัด F/U ตามดุลยพินิจแพทย์
15
CPG Low Weight gain ในสตรีตั้งครรภ์
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น น้ำหนักไม่ขึ้นตามเกณฑ์ เมื่อ GA > 20 wk โภชนศึกษา, ส่งพบโภชนากร Yes ซักประวัติความเจ็บป่วยในช่วงที่ผ่านมา เช่น หวัด ท้องเสีย อาเจียน อาหารเป็นพิษ ไม่รับประทานอาการ เครียด ซึมเศร้า น้ำหนักขึ้น ตามเกณฑ์ Yes No ให้การดูแลปกติ Urine Albumin + ve มี Bacteria Yes ส่งพบแพทย์ให้การรักษา, หาสาเหตุ ให้การดูแลตามโรค IUGR ,Thyroid ,PIH Post term, DFIU มี Complication ระหว่าง ANC Yes F/U ANC As high risk screen หาสาเหตุใช้น้ำหนักที่ควรขึ้นตามเกณฑ์ Vallop Curve
16
CPG การดูแลผู้ตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ ซักประวัติและประวัติครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โรคธาลัสซีเมีย เจาะเลือด ครั้งที่ 1 No ผล Hct.< 33 % ดูแล ANC ตามเกณฑ์ปกติ Yes - จ่าย Obimin A-Z 1x1 - จ่าย FBC 1X2 pc นาน 1 เดือน - ให้โภชนศึกษา No Repeat Hct. < 33 % ดูแล ANC ตามเกณฑ์ปกติ Yes ส่งพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุ
17
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยทางสูติกรรม จังหวัดขอนแก่น
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มาคลอด หญิงตั้งครรภ์หลังคลอด เจ้าหน้าที่/แพทย์เวชปฏิบัติประเมิน กลุ่มที่ต้องการดูแลโดยแพทย์ กลุ่มที่ต้องการดูแลโดยสูติแพทย์ แพทย์เวชปฏิบัติประเมิน กลุ่มที่ต้องการดูแลเป็นพิเศษ หรือมีปัจจัยเสี่ยง มี ไม่มี ส่งต่อ เปลี่ยนแปลงโดยใช้ Checklist ให้การดูแลแบบพื้นฐาน < 12,26,32,38,41 สัปดาห์ ให้การดูแลพิเศษ ประเมินเพิ่มเติม 1. แจ้ง รพ.ขก.(043) /3728 รพ.ชุมแพ รพ.กระนวน รพ.สิรินธร 2. ติดป้ายบอกชื่อผู้ป่วย 3. ให้ข้อมูลพยาบาลที่มาส่งผู้ป่วย 4. เขียนใบส่งต่อ 5. พร้อมกับแนบเอกสารข้อมูลการดูแลรักษา ประวัติ ตรวจร่างกายภายใน การรักษา การฝากครรภ์ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (สมุดฝากครรภ์) ความก้าวหน้าของการคลอด (Pathogrape) Electronic fetal monitoring การให้ยา : ชนิด ขนาด เวลา การให้สารน้ำ : IV cath no.18 : RLS/Acetar
18
CPG โรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ ตามดุลยพินิจของแพทย์
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น หญิงตั้งครรภ์ Risk Screening ในกลุ่มเสี่ยง ขึ้นอยู่กับผล OGTT ผิดปกติมากน้อยเพียงใด + กี่ค่า เช่น ถ้า Dx-GDM Class A1 Diet Control, ส่งพบแพทย์ A2 Insulin (Admit Control DTX) B C D F R H ANC ตามปกติ 50 Gm. GST ผล ≥ 140 mg/dl NO Yes 100 gm OGTT ผลผิดปกติ NO Control โดย Insulin ต้องใช้ Insulin Diet Control Admit,Control DM F/U ANC ตามดุลยพินิจของแพทย์
19
แผนภูมิแสดงการประเมินหัวนมและลานนม
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น SANA Test ประเมินหัวนมและลาน หัวนม หัวนม ผิดปกติ ลานหัวนม ยืดหยุ่นดี ลานหัวนม ตึง หัวนม บอด/บุ๋ม Pseudoinv erted nipple Retrac ted nipple หัวนม บอด/บุ๋ม Pseudoinv erted nipple Retract ed nipple ปทุม แก้ว ปทุม แก้ว ปทุม แก้ว ปทุม แก้ว ปทุม แก้ว ปทุม แก้ว ที่ดึง หัวนม ที่ดึง หัวนม ที่ดึง หัวนม ที่ดึง หัวนม ที่ดึง หัวนม ที่ดึง หัวนม
20
แผนภูมิแสดงการแก้ไขหัวนมสั้น
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น SANA Test ประเมินหัวนมและลานหัวนม หัวนมสั้น ลานหัวนมยืดหยุ่นดี ลานหัวนมตึง หัวนมสั้นไม่มาก หัวนมสั้นมาก นวดลานหัวนม ที่ดึงหัวนม ประทุมแก้ว ปทุมแก้ว
21
แผนภูมิแสดงการประเมินหัวนมลานนม “ลานนมตึง”
รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น SANA Test ประเมินหัวนมและลานหัวนม หัวนมปกติ ลานนมตึง นวดลานนม ปทุมแก้ว
22
ท่าตรวจครรภ์ Leopold maneuver 3.Third maneuver (Pawlik’s grip)
1.First maneuver (Fundal grip) การคลำส่วนยอดมดลูกเพื่อตรวจหาระดับยอดมดลูก 2.Second maneuver (Umbilical grip) การคลำเพื่อตรวจหาหลังของทารก ว่าอยู่ด้านใด 3.Third maneuver (Pawlik’s grip) การคลำเพื่อตรวจหาส่วนนำ (presenting part) และ attitude ของทารกในครรภ์ 4.Fourth maneuver (Bilateral inguinal grip) การคลำเพื่อตรวจหาระดับของส่วนนำ และทรงของทารกในครรภ์
23
บันได 10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การสนับสนุนให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำเร็จเป็นภารกิจที่บุคลากรทางการแพทย์มีบทบาทสำคัญ โดยได้มีการจัดทำบันได 10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ดังนี้ 1. มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สื่อสารกับบุคคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนได้เป็นประจำ 2. ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนให้มีทักษะที่จะนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติ 3. ชี้แจงให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 4. ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในครึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด 5. สอนให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และวิธีทำให้น้ำนมคงมีปริมาณพอเพียงแม้ว่าจะต้องแยกจากลูก 6. อย่าให้นมผสมน้ำหรืออาหารอื่นแก่เด็กแรกคลอดนอกจากนมแม่เว้นแต่จะมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ 7. ให้แม่และลูกอยู่ในห้องเดียวกันตลอด 24 ชั่วโมง 8. สนับสนุนให้ลูกได้ดื่มนมแม่ตามต้องการ 9. อย่าให้ลูกดูดหัวนมยางและหัวนมปลอม 10. ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และส่งต่อแม่ไปติดต่อกลุ่มดังกล่าวเมื่อออกจากโรงพยาบาล
24
ประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ประโยชน์ต่อลูก มีสารอาหารครบถ้วน เหมาะสมต่อการย่อยและการดูดซึมของลูก ทำให้การ เจริญเติบโตและพัฒนาการของลูกสมบูรณ์ ให้ภูมิต้านทานโรคแก่ลูกทำให้ไม่ค่อยเจ็บป่วย โดยเฉพาะหัวน้ำนมเป็นวัคซีน หยดแรกของชีวิตมีสารซึ่งทำให้ระบบที่สำคัญของร่างกาย เช่น สมอง ประสาท เจริญเติบโตสมบูรณ์ ทำให้สมองดี มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด ให้ฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของลูก มีน้ำย่อยหลายชนิด บางชนิดช่วยย่อยนมแม่ บางชนิดเป็นตัวนำเกลือแร่ทำให้ ถูกดูดซึมได้ง่าย และบางชนิดทำลายเชื้อโรค ซึ่งจะช่วยป้องกันโรคท้องร่วงได้ ได้รับความอบอุ่นทางจิตใจ อันเป็นรากฐานต่อสุขภาพจิต และการปรับตัว เข้ากับสังคม เมื่อฟันบนขึ้น จะทำให้ฟันไม่ซ้อนกัน และไม่กร่อน ทำให้ถ่ายสบาย อุจจาระไม่แข็ง นมแม่มีสารกระตุ้นการเจริญของเซลบุเนื้อเยื่อ ทำให้ผนังลำไส้เจริญเติบโตดี ป้องกันสารแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายทางลำไส้ ป้องกันการแพ้โปรตีน หรือป้องกันภูมิแพ้
25
ประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ประโยชน์ต่อแม่ ทำให้รูปร่างดี ไม่อ้วน มดลูกเข้าอู่หรือคืนสู่สภาพเดิมได้เร็วขึ้น สะดวกเพราะสามารถให้ลูกกินที่ไหนและเมื่อไรก็ได้ ลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ ลดความเสี่ยงต่อภาวะโลหิตจางอันเนื่องจากการไม่มีประจำเดือน ระหว่างให้นมลูก กระตุ้นให้มีจิตสำนึกของการเป็นแม่ ทำให้แม่เอาใจใส่เลี้ยงลูกได้ดี เกิดความรัก ความผูกพัน ระหว่างแม่และลูก เป็นรากฐานต่อการพัฒนาสุขภาพจิตลูก ประโยชน์ต่อครอบครัว ประหยัดรายจ่ายในการซื้อและเตรียมนมผสม ลูกแข็งแรงทำให้ประหยัดรายจ่ายจากค่ารักษาพยาบาล ลูก และแม่ไม่ต้องลางานบ่อย เชื่อมความรักและความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
26
ทะเบียนสมาชิกชมรม รพ.สต.........
จิตอาสาแม่และเด็ก รพ.สต
27
ใบสมัครสมาชิกชมรม รพ.สต.........
จิตอาสาแม่และเด็ก รพ.สต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.