งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
สรุปผลการนิเทศงาน คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.)เชียงกลาง อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 7 มีนาคม 2561 โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน

2 พัฒนาการเด็ก

3 กราฟแสดงผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มอายุ 4 ช่วงวัย ปีงบประมาณ แยกรายอำเภอ จังหวัดน่าน (ที่มา: :: 17 มกราคม 2560) วิเคราะห์จากปีงบประมาณ 2560 มีเด็กพัฒนาการสมวัยร้อยละ 94.15 การคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยได้ร้อยละ (เทียบกับเป้าหมายทั้งปี) สามารถค้นหาเด็กที่สงสัยล่าช้าได้ร้อยละ ถึงแม้ว่าค้นหาได้น้อยกว่าเกณฑ์ แต่ผลงานดีลำดับที่ 2 การติดตามเด็กกลุ่มสงสัยล่าช้าต้องได้รับการส่งเสริม/กระตุ้นภายใน 1 เดือน ร้อยละ ดีกว่าภาพรวมจังหวัดน่าน ปัญหาพัฒนาการเด็กล่าช้า พบด้านการใช้ภาษา มากที่สุด และ การเข้าใจภาษา การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ตามลำดับ

4 ผลงาน 4 กลุ่มวัยแยกตามหน่วยบริการ ปีงบ. 2561(ตุลาคม 60 – มกราคม 61)
ข้อมูลจาก HDC สสจ.น่าน วันที่ประมวลผล :: 5 มีนาคม 2561 หน่วยบริการ ความครอบคลุม แยกรายเดือน(ตค.60-มค.61) (ร้อยละ 90) การติดตาม (ร้อยละ 100) รอการติดตาม/ติดตามไม่ได้ ร้อยละติดตามไม่ได้ พัฒนาการสมวัย (ร้อยละ85) เป้า หมาย (ตค.-มค.) คัดกรอง ร้อยละ สงสัยล่าช้า ร้อยละ 20 ติดตามได้ ร้อยละ 100 สมวัย ตำบลบ้านชี ตำบลเชียงกลาง 25 24 96.00 8 25.81 1 12.50 7 87.50 77.42 ตำบลบ้านงิ้ว 14 100.00 2 13.33 0.00 13 86.67 ตำบลบ้านส้อ ตำบลเปือ 11.76 50.00 15 88.24 ตำบลเปือ 32 17 44.74 38 ตำบลเชียงคาน 9 9.09 11 ตำบลพระธาตุ 34 10 27.78 6 60.00 4 40.00 88.89 ตำบลพญาแก้ว 12 3 21.43 33.33 66.67 85.71 ตำบลพระพุทธบาท 28 27 96.43 3.03 96.97 สสช.ผาน้ำย้อย 5 80.00 โรงพยาบาลเชียงกลาง 34.38 45.45 20.00 63.64 รวมอำเภอ 204 180 49 23.22 57.14 21 42.86 189 89.57

5 ภาวะโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน ปีงบประมาณ 2559-2561 จังหวัดน่าน (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 54)
ผลการดำเนินงานการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2559 – 2561 (ในไตรมาสที่ 1) พบเด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน ร้อยละ 40.95, และ ตามลำดับ เมื่อแยกรายอำเภอ ปีงบประมาณ 2561 อำเภอที่มีเด็ก 0 – 5 ปี สูงสมส่วนน้อยที่สุดในพื้นที่อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และบ่อเกลือ พบอัตราเด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน ร้อยละ 29.21, และ ตามลำดับ หากวิเคราะห์รายอำเภอในปีงบประมาณ 2559 – 2561 (ในไตรมาสที่ 1) พบว่าอัตราเด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน ในอำเภอเฉลิมพระเกียรติ 27.34, และ ในอำเภอบ่อเกลือ 27.50, และ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ตามลำดับ เนื่องจากในปี 2558 และ 2559 มีการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการที่ครอบคลุมมากขึ้น เป็นต้น

6 ภาวะโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ปีงบ 2561
ส่วนสูงเฉลี่ย เด็กอายุ 5 ปี เพศ เป้าหมาย ผลงานของอำเภอ เชียงกลาง ชาย มากกว่า 113 ซม. 111.47 หญิง มากกว่า 112 ซม. 108.53 ที่มา : HDC ณ 17 ม.ค. 61

7 การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ / ภาคีเครือข่าย ในการใช้ DSPM
จุดเด่น : ผู้นำชุมชนให้ความสำคัญเรื่องสถาบันครอบครัว การพัฒนาเด็กปฐมวัย Child Project Manager รพ.และเครือข่ายรพ.สต. ทีมมีความเข้มแข็ง มีความตั้งใจ ผู้บริหารให้ความสำคัญ นายกอบต./ครูศูนย์เด็กเล็กร่วมกับภาคีเครือข่ายอสม./พ่อแม่แกนนำ มีแผน/กิจกรรมในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ตำบลนำร่องตำบลพระธาตุ อยู่ระหว่างการแต่งตั้งคณะทำงานระดับตำบล มอบบทบาทและประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานตำบล...... GAP พัฒนาการเด็ก การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ / ภาคีเครือข่าย ในการใช้ DSPM เด็กย้ายติดตามผู้ปกครองไปทำงานกับผู้ปกครองชั่วคราว มีผลต่อช่วงเวลาที่กำหนด ค่านิยมและการให้ความสำคัญยังมีน้อยในทุกตำบล ปัญหาที่ติดตามเด็กสงสัยล่าช้าได้ไม่ทันมีระบบติดตามโดยโทรศัพท์/อสม./ติดตามเองที่บ้าน พบผู้ปกครองให้ความสำคัญการใช้ DSPM 50% บางส่วนใช้สื่ออิเลคทรอนิค มือถือ you tube ในการเลี้ยงดูลูก คุณภาพคัดกรอง ค้นหาสงสัยล่าช้าได้น้อยจนท.มีทักษะต่างกัน/คุณภาพคัดกรองผลการดำเนินงานพัฒนาการเด็กยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (coverage/ Detection/ Follow up) การกำกับ ติดตามเด็กสงสัยล่าช้าได้น้อย57% เนื่องจากรอประมวลผลทุกวันที่10-ของเดือน มีพยาบาลที่ผ่านการอบรมครู ก. DSPM ตั้งแต่ปี มีแผนส่งพยาบาลเรียนPG พัฒนาการเด็กที่สามารถถ่ายทอดทักษะคัดกรองได้ แต่พบว่าเจ้าหน้าที่ยังพัฒนาครู อสม. และเครือข่ายอาสาในชุมชนได้บางส่วน การบันทึกข้อมูล จนท.มีความเข้าใจเรื่องการลงข้อมูลทันเวลา 30 วันมากยิ่งขึ้น ข้อมูลการตรวจพัฒนาการเด็กใน ใน PP special 43 แฟ้ม ไม่ตรงกับการทำงานจริง เพราะเด็กย้ายเข้ามาหลังช่วงอายุติดตาม หรือยังไม่ได้อัพเดทtyeในพท. กรณีแก้ไขข้อมูลใน 43 แฟ้มแล้วรอส่งออกหรือประมวลผลข้อมูลในเดือนถัดไป

8 การขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1000 วัน
และบทบาททีมอำเภอดำเนินการ ปีงบ 2561 1. การจัดตั้งทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว ระดับตำบล หมู่บ้าน 2. แผนงาน/กิจกรรม/โครงการมหัศจรรย์ฯ พร้อมผลการดำเนินงาน 3. ผลการพัฒนาศักยภาพทีมงานระดับตำบล หมู่บ้าน 4. ทะเบียนรายชื่อหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร เด็กอายุ 0-5 ปี(trye 1,3) รายหมู่บ้าน ที่เป็นปัจจุบัน (ร่วมกับอบต./มหาดไทย) บทบาทใครร่วม.... 5. แผนที่เดินดินระบุกลุ่มเป้าหมาย พร้อมรายชื่ออสม. ที่รับผิดชอบ 6. วิเคราะห์สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งระดับอำเภอ ตามรายไตรมาส 7. งบประมาณ PPA เขต ปีงบ 61 จัดสรรลงหน่วยบริการทุกอำเภอ

9 ข้อเสนอ (มหัศจรรย์ 1000 วัน และพัฒนาการเด็ก)
ควรมีการประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานฯและคืนข้อมูลด้านสุขภาพการส่งเสริมสุขภาพเด็ก0-5ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ตามเอกสารคู่มือแนวทางจากกรมอนามัย ข้อกำหนดนโยบายสาธารณะในพื้นที่ การสร้างกระแสสังคมและสื่อสาธารณะเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ระดับอำเภอหรือตำบล เพื่อให้เห็นความสำคัญ เรื่องการลงบันทึกข้อมูล การใช้เครื่องมือคัดกรองพัฒนาการเด็ก ควรมีการประชุมทำความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลที่ยังขาด เพื่อให้สามารถคัดกรอง ค้นหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า และติดตามเด็ก ตลอดจนการบันทึกข้อมูลรายงานให้มีประสิทธิภาพ CPM ระดับอำเภอควรมีทีมช่วยในการติดตามและ Coaching อย่างสม่ำเสมอ เช่น...ขยายเครือข่ายแกนนำครู ก รพ.โดยถ่ายทอดทักษะพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน ให้แก่เครือข่ายรพ.สต.ครูศดล. อสม. แกนนำพ่อแม่ ควรมีการคืนข้อมูลด้านสุขภาพการส่งเสริมพัฒนาการฯ กับภาคีอื่นที่เกี่ยวข้อง ควรมีเครือข่ายร่วมติดตามเด็กสงสัยล่าช้า, มีการอบรมความรู้กับแกนนำพ่อแม่อาสา/ อสม./ ผดด. เห็นความสำคัญของงานพัฒนาการเด็กปฐมวัย มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโภชนาการ พัฒนาการเด็กทะเบียนรายชื่อหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร เด็กอายุ 0-5 ปี(trye 1,3)รายหมู่บ้าน ที่เป็นปัจจุบัน (ร่วมกับอบต./มหาดไทย) วางแผนการใช้งบประมาณ PPA พัฒนาการเด็กเขต มหัศจรรย์ 1000 วัน ปี 61 ปีงบ 61 มีการติดตามการขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1000 วันทุก 3 เดือน ในที่ประชุมกกบ.

10

11

12 Stroke & STEMI อ.เชียงกลาง
กรอบ - Pre hospital - In hospital - Refer - Post hospital เป้าหมาย ลดเสี่ยง ลดโรค ผู้ป่วยเข้าถึงบริการได้รวดเร็ว ปลอดภัย ไม่กลับเป็นซ้ำ ลดภาวะแทรกซ้อน และพิการ ลดตาย

13 Stroke ปี 59 ปี 60 ปี 61 (ม.ค.) จำนวน 31 29 20 มาด้วย EMS 3 5
ปี 60 ปี 61 (ม.ค.) จำนวน 31 29 20 มาด้วย EMS 3 5 On set to ER 3 ชม. / Rt- PA 17 /0 10/ ตาย 23 11/ STEMI ปี 59 ปี 60 ปี 61 (ม.ค.) จำนวน MI /STEMI -/ 2 7/3 มาด้วย EMS 1 SK รพ.เชียงกลาง 1/tube 3

14

15 Gap พท. งานNCD ผู้บริหาร
หน่วยงานอื่น เข้าถึงระบบการรักษาช้า ไม่ทราบ Warning sign , ไม่ชัด , ไม่รู้ , ไม่ตระหนัก ใช้ น้อยมาก ผป./ญาติ ใจร้อนกังวล -ไม่เข้าใจประโยชน์ EMS สื่อสารเข้มข้น อาการเตือนสำคัญ ทุกกลุ่ม,ทุกที่,ทุกเวลา เป็นระบบ มีประเมินการรับรู้ปชช. - Mapping สื่อสารให้EMS , อสม. - Mr.,Miss.Mrs. Stroke ควรสอน CPR PP ควรมีการสุ่มประเมินพฤติกรรม (กลุ่มเสี่ยง DM,HT,CVD risk สูง) - การเฝ้าระวังกลุ่ม AF ,COPD - บูรณาการกับงานอื่นๆ(พชอ.) -สุ่มประเมิน - หารืองาน EMS -สอน CPR - รร. - อสม. ,อสค. - เจ้าที่ทุกกลุ่ม , ทุกระดับ , ทุกคน

16 พท. Gap งานNCD ผู้บริหาร หน่วยงานอื่น
ระบบ consult รพร.ปัว VS รพ.น่าน ไม่ได้ตามที่ตกลง(Stroke) - นำข้อมูลหารือในที่ประชุม SP จว. -นำข้อมูลเข้าที่ประชุม CSO -ไม่มีช่องทางการคืนข้อมูลกลับจากรพ.แม่ข่าย (รพร.ปัว) - ER ,NCD ติดตาม case เอง -ประสานCOC ปัวจัดการคืนข้อมูลลูกข่าย การจัดการข้อมูล และระบบ refer ยังไม่เชื่อมโยงกัน - Set ระบบการส่งต่อข้อมูล ทั้งขาขึ้นลง เชื่อมกับตำบล และพัฒนาศักยภาพ จนท.ในการดูแล Post hospital - การใช้ข้อมูลในการช่วยลดสี่ยง ลดโรค สอบสวนเหตุ – ปัจจัย ออกแบบแก้ไข (Stroke VS COPD) ทำไมบ้านเรา case ใหม่ เยอะ ???

17 วัณโรค (TB)

18 แนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี 2561
*กลุ่มผู้สัมผัสวัณโรค 2 ปี * HIV /Aids * ผู้ต้องขังเรือนจำ มาตรการที่ 1 โรคเรื้อรัง COPD/DM/CKD มะเร็ง ผู้สูงอายุ (ติดสังคม/ติดบ้าน/ติดเตียง) แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง / บุคลากรสาธารณสุข/ทุพโภชนาการ เพิ่มความเข้มข้นในการค้นหาวัณโรคใน กลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุม 100 % พัฒนาระบบบริหารจัดการ -ควบคุม กำกับ ติดตามโดยคณะทำงานฯ จังหวัด/อำเภอ -ทบทวน CPG การรักษาวัณโรคในกลุ่มสำคัญ -จัดระบบการส่งต่อข้อมูลและผู้ป่วย ภายในอำเภอ -การบันทึกข้อมูลในโปรแกรม TBCM และข้อมูลคัดกรอง ในโปรแกรม Hos.XP และ TBCM Online - เครือข่าย พชอ. ในระดับพื้นที่ มาตรการที่ 2/3 ลดการเสียชีวิตขณะรักษาและ พัฒนาระบบกำกับ ติดตาม ประกาศนโยบายทุกหน่วยบริการ Admit ทุกราย/เยี่ยมบ้าน DOT โดย จนท.สาธารณสุข ญาติ และ อสม. พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลดำเนินงานตามมาตรฐาน HA-TB นิเทศติดตามผลการดำเนินงานใน คปสอ.

19 อัตราการค้นพบวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ จังหวัดน่าน รายอำเภอ ปี 2559 - 2560

20 ผลงานการค้นหาผู้ป่วย
ผลงานการค้นหาและขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค จ.น่าน ปี เป้าหมาย : ค้นพบและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับซ้ำ ร้อยละ 90 อำเภอ ประชากร(คน) ค่าเป้าหมาย (อัตรา 172:100000) เป้าหมาย ปี (ร้อยละ 90) ผลงานการค้นหาผู้ป่วย (1 ต.ค ก.พ 61) ราย เมืองน่าน 82407 141 127 43 แม่จริม 16227 28 25 1 บ้านหลวง 11757 20 18 นาน้อย 32964 56 50 9 ปัว 64687 111 100 ท่าวังผา 50927 87 78 16 เวียงสา 70840 121 109 ทุ่งช้าง 18842 32 29 6 เชียงกลาง 27705 47 42 10 นาหมื่น 14607 22 3 สันติสุข 15819 27 24 2 บ่อเกลือ 15049 26 23 11 สองแคว 12266 21 19 4 ภูเพียง 36078 62 49 13 เฉลิมฯ 9835 17 15 รวมจังหวัด 480010 821 730 154

21 ผลการคัดกรองวัณโรคในบุคลากรสาธารณสุข จ.น่าน ปี 2560
คปสอ. จำนวนบุคลากรทั้งหมด(คน) สัมภาษณ์ CXR AFB ผลการวินิจฉัย เมืองน่าน 1475 601 2 1 (EP) แม่จริม 140 126 บ้านหลวง 108 นาน้อย 186 120 3 ปัว 480 1 (M-) ท่าวังผา 182 176 เวียงสา 409 50 72 30 ทุ่งช้าง 145 เชียงกลาง 117 79 นาหมื่น 97 สันติสุข 131 99 บ่อเกลือ 128 6 2 (M+) สองแคว 77 ภูเพียง 53 เฉลิมพระเกียรติ 112 รวมจังหวัด 3840 1453 3347 41 4

22 กลุ่ม Verbal และ CXR ทุกราย
M+ M- EP 1.ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน(ย้อนหลัง 2 ปี) 2.HIV + 3. DM ที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ 4 COPD 5 ต่างด้าวขึ้นทะเบียนในระบบ 6 ผู้สูงอายุติดสังคม (Asthma) 7 ผู้สูงอายุติดบ้าน 8 ผู้สูงอายุติดเตียง 9 ผู้ต้องขัง 10.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข

23 กลุ่ม verbal > 3 ส่ง CXR และ AFB
M+ M- EP 1.ผู้ป่วยเบาหวาน (คุมน้ำตาลได้) 2.CKD ระดับ 4 / 5 3. มะเร็งทุกชนิด 4 .ผู้สูงอายุติดสังคม ไม่มีโรคร่วม 5. ผู้ป่วยทุพโภชนาการ BMI < 18.5 8. กลุ่มอื่น ๆ ที่ มีอาการสงสัยเป็นวัณโรค

24 ผลการดำเนินงานด้านวัณโรค โรงพยาบาลเชียงกลางตั้งแต่ปี 55-60
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2555 2556 2557 2558 2559 2560 อัตราความสำเร็จของการรักษา ≥ 85 % 75 71.43 80.77 80.95 94.10 86.67 อัตราการขาดยา 0 % 8.33 0.0 9.52 อัตราการเสียชีวิตระหว่างการรักษา < 5 % 21.73 17.39 19.23 5.27

25 การขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค จ
การขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค จ.น่าน Cohort 1/ 2561 (PA) เป้าหมาย : อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ ร้อยละ 85 โรงพยาบาล จำนวนผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่(ราย) จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิต(ราย) จำนวนผู้ป่วยขาดยา(ราย) จำนวนผู้ป่วย กำลังรักษา(ราย) น่าน 16 2 14 แม่จริม 1 บ้านหลวง นาน้อย 4 ปัว 7 6 ท่าวังผา 10 3 เวียงสา ทุ่งช้าง เชียงกลาง นาหมื่น สันติสุข บ่อเกลือ 5 สองแคว เฉลิมพระเกียรติ รวมจังหวัด 66 56

26 ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคแล้ว ทำเครื่องหมาย * สีแดงที่บัตรนัด
แนวทางการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแผนกผู้ป่วยนอกและแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเชียงกลาง ผู้ป่วยมารับบริการ ซักประวัติและตรวจร่างกาย : อาการสงสัยเป็นวัณโรค ไอเกิน 2 สัปดาห์ และมีอาการ 2 ข้อใน 8 ข้อ ดังนี้ 1.น้ำหนักลด 5.เจ็บหน้าอก 2.อ่อนเพลีย 6.หายใจเหนื่อยหอบ 3.ไข้ตอนเย็น 7.เบื่ออาหาร 4.เหงื่อออกตอนกลางคืน 8.ไอเป็นเลือด/ ไอปนเลือด ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคแล้ว ทำเครื่องหมาย * สีแดงที่บัตรนัด 1. แจก Mask 2. แยกผู้ป่วยไปห้องแยกโรคตึกผู้ป่วยนอก 3. ซักประวัติ/ติดตามLab/รายงานแพทย์ แพทย์พิจารณา 1. Sputum AFB x 3 วัน 2. CXR Refer D/C นัด F/U เข้าคลินิกวัณโรค Admit หมายเหตุ : กรณีแพทย์วินิจฉัยวัณโรค ให้แจ้งผู้รับผิดชอบงานวัณโรคเพื่อขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกครั้ง

27 แนวทางการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเชียงกลาง
ผู้ป่วยที่มีอาการสงสัย TB ผู้ป่วย TB ระยะแพร่เชื้อ เข้าห้องแยก 1.Sputum AFBx3 2.CXR กรณียังไม่ได้ทำ ไม่ใช่ TB ย้ายออกจากห้องแยก วินิจฉัย TB -ให้คำปรึกษาเจาะเลือดตรวจ HIV -SGOT,SGPT,Cr ก่อนกินยา TB ส่งคลินิกวัณโรคเพื่อขึ้นทะเบียนการรักษา 1.กำกับการกินยาวัณโรค 2.สอนสุขศึกษาผู้ป่วยและญาติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 3.ซักประวัติ ติดตามตรวจคัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน 4.ประเมินเจตคติเกี่ยวกับการรักษา พฤติกรรมของผู้ป่วยเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการรักษา 1.D/C นัดตามคลินิกวัณโรค 2.รายใหม่ จ่ายยาให้ครบ 2 สัปดาห์ วันนับจากวันเริ่มกินยา รายเก่า แจ้งคลินิกวัณโรค 3.กรณี D/C วันหยุดนัดตามคลินิกวัณโรคเดิม Refer แจ้งคลินิกวัณโรคเพื่อติดตามผลการรักษา

28 ปัญหาและอุปสรรค : ระบบการดูแลรักษา
ปัญหาและอุปสรรค : ระบบการดูแลรักษา 1. อัตราการเสียชีวิตสูงในกลุ่มสูงอายุและกลุ่มที่มีโรคร่วม เช่น COPD (ปี60 ตายไป 2 ราย) 2. ผู้เสียชีวิต เสียชีวิตในช่วงการกินยาระยะเข้มข้น 2 เดือนแรก (Intensive phase) และระยะต่อเนื่อง ๓.ขาดการกำกับการกินยาและติดตามดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และจริงจัง/มีขาดยา เพราะคนไข้อยู่พื้นที่สูงและอยู่ไม่เป็นที่ ย้ายที่อยู่บ่อย 4. ต้องมีการปรับสูตรยา ขยายการรักษาทำให้การคำนวณ Success rate ช้า (เนื่องจากผลข้างเคียงของยา)

29 ประเด็นที่ชื่นชม(เชียงกลาง)
1.การค้นหาผู้ป่วยวัณโรค 1.1 มีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงครอบคลุมทั้งใน รพ. และ รพสต. 1.2 ได้รับความร่วมมือจาก OPD / NCD Clinic ช่วยคัดกรองใน โรงพยาบาล 1.3 การเอ็กซ์เรย์ทำได้ครอบคลุมในทุกกลุ่มเสี่ยงสำคัญ 2. คุณภาพการรักษา 2.1 มี CPG การดูแลผู้ป่วย/มีระบบการส่งต่อผู้ป่วย/ อสม. การเยี่ยมบ้าน (การทำ DOT) เพิ่มการบันทึกการดูแลผู้ป่วย 2.2 อัตราการขาดยา เป็น 0 2.3 Success rate มากกว่า ร้อยละ 85 3. ระบบสนับสนุนอื่น ๆ 3.1 มีแผนงาน โครงการควบคุมวัณโรคของอำเภอ 3.2 มีการสรุปสถานการณ์ กำกับ ติดตามในที่ประชุม คปสอ. 3.3. การขับเคลื่อนงานวัณโรค โดย พชอ.

30 กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ปี 2561
เพิ่มการคัดกรองในชุมชน/ในโรงพยาบาล เพิ่มการเข้าถึงการตรวจ X-Ray ในกลุ่มสำคัญ วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราเสียชีวิตขณะรักษา การส่งข้อมูลผู้ป่วยแก่เครือข่าย เพิ่มช่องทางการติดต่อ ระบบการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยป้องกันขาดยา การใช้ ระบบ TBCM Online ติดตามการรักษา การสรุปสถานการณ์นำเสนอผู้บริหาร/คปสอ.

31 GREEN & CLEAN Hospital

32 GAP ระดับ ดี GAP Gold Garbage : ขยะติดเชื้อ Restroom : ห้องน้ำ รพ.
- การคัดแยก/ทิ้งขยะ - ขยะติดเชื้อจากผู้ป่วยที่บ้าน (ถุงบรรจุ) - ถุงน้ำยาล้างไต CAPD ผู้ป่วย (ทิ้งเป็นขยะติดเชื้อทั้งหมด) - การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลสำหรับเจ้าหน้าที่ (มีแต่ไม่ใส่) - อุปกรณ์การเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อยังไม่เพียงพอ - รถขนส่งขยะติดเชื้อ ประยุกต์ใช้และเปิดโล่ง (ใช้ภาชนะปิดมิดชิด) Restroom : ห้องน้ำ รพ. - ห้องน้ำ IPD (อยู่ระหว่างการปรับปรุง) ห้องน้ำ รพ.สต. - รพ.สต. ห้องน้ำผู้พิการประยุกต์ใช้ห้องน้ำที่มีอยู่เดิม (เรียบร้อยแล้ว : พระพุทธบาท,พระธาตุ,งิ้ว, เปือ (ดำเนินการ)) - ป้ายห้องน้ำห้องผู้พิการ ทั้ง รพ. และ รพ.สต. Gold ระดับ ดี GAP GAP

33 GAP ข้อชื่นชม GAP Energy : - ขาดมาตรการลดการใช้ พลังงาน ภาพรวม คปสอ.
- ขาดบันทึกสถิติการใช้พลังงาน การประเมินวัดผล Environment : รพ. น้ำทิ้งผ่านระบบบำบัดมีปริมาณน้อย (น้ำไม่ไหลออกสู่บ่อน้ำทิ้งของระบบ) คุณภาพน้ำผ่านมาตรฐานทุกพารามิเตอร์ Nutrition : โรงครัว รพ. (อยู่ระหว่างการปรับปรุง ตู้ดูควัน) GAP GAP ข้อชื่นชม มีต้นแบบ/เครือข่ายชุมชน ประเด็นอาหารปลอดภัย ตลาดสีเขียว และมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาและยกระดับด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยหน่วยบริการทุกระดับ เน้นความปลอดภัยด้านวิศวกรรมการแพทย์ ในระดับ รพ.สต. (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

34 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

35 คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)ที่มีคุณภาพ
เดิม : ระบบสุขภาพอำเภอ DHS - DHB : District Health System พชอ. : ทุกภาคส่วนร่วมกันจัดการ ประเด็น คุณภาพชีวิต 1. มี คณะกก.พชอ.ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี จำนวน 21 คน นายอำเภอ : ประธาน + สสอ. : เลขานุการ จากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน 2. มี แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตอำเภอละ 2 เรื่อง 3. มี การบริหารจัดการ+การประเมินผล หัวใจ : การสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต (สุขภาวะ)

36 แนวทางการพัฒนา พชอ. กลไก : ยกระดับกลไกขับเคลื่อนที่มีอยู่เดิมในพื้นที่ “เครือข่ายชุมชน” “ประชาคม” “ประชารัฐ” ฯลฯ เป็น “พชอ.” (เชื่อมโยงไทยนิยม ยั่งยืน) “เน้น Function” ประเด็นขับเคลื่อน : ร่วมกันกำหนดวาระอำเภอ (2 ประเด็น) อาจจะยกระดับประเด็นขับเคลื่อนในพื้นที่ที่มีต้นทุนอยู่แล้วมาเป็นวาระอำเภอ “ข้อมูล+การคืนข้อมูลอย่างมีพลัง” การขับเคลื่อน : ระดับอำเภอ : กำหนดประเด็นและทิศทาง ถ่ายทอดผลักดันวาระอำเภอสู่การปฏิบัติในระดับตำบล/หมู่บ้าน หรือยกระดับจากหมู่บ้านตำบลไปสู่อำเภอ (ทำได้ 2 ทาง), กำกับ ติดตาม ประเมินผล ระดับตำบล : ขับเคลื่อนวาระอำเภอเป็นหนึ่งในวาระของตำบล/หมู่บ้าน + วาระหมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ(อสม., ผู้สูงอายุ, อาหารปลอดภัย, อื่นๆ) การประเมิน : “ประเมินแบบมีส่วนร่วม” ใช้เกณฑ์ UCCARE ประเมินตนเองในภาพรวมและวางแผนพัฒนายกระดับตามส่วนขาด ประเมินผลลัพธ์ตามประเด็นที่เลือก 2 ประเด็น

37 อ.เชียงกลาง นโยบายรัฐบาล นโยบายกสธ. Community based Hospital based
ไทยนิยม ยั่งยืน ประชารัฐพอเพียง (Way of life) เกษตรแปลงใหญ่ อาหารปลอดภัย ฯลฯ นโยบายกสธ. มหัศจรรย์ 1,000 วัน TB คลินิกหมอครอบครัว(PCC) Community based ? ? ? Hospital based โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้สูงอายุ มะเร็ง อุบัติเหตุ การมีส่วนร่วม พชอ. อำเภอ วาระอำเภอ – อาหารปลอดภัย, เด็กเก่งดี มีสุข พชอ.ตำบล วาระตำบล /ตำบลจัดการสุขภาพ (อสม. ผู้สูงอายุ อาหารปลอดภัย)

38 ต้นทุนเชียงกลาง การนำองค์กร “นายอำเภอ” ให้ความสำคัญ
ผอ.รพ./สสอ. ต้นแบบการสร้างสุขภาพ วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรสร้างสุขภาพดี ภาคีมีส่วนร่วม” แนวคิด คนเชียงกลางไม่ทอดทิ้งกัน (ปี 59-60) ชุมชนน่าอยู่ ครบทุกตำบล ชมรมผู้สูงอายุเข้มแข็ง,โรงเรียนผู้สูงอายุ 2 แห่ง กำนัน (ท้องที่) ให้ความร่วมมือ เช่น การจัดผู้ป่วยจิตเวช ธรรมนูญสุขภาพตำบล 3 ตำบล(เปือ ,พระธาตุ,เชียงคาน) การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (COC) โดย จิตอาสา เป็นเจ้าภาพ การจัดการสุขภาพ : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพบุคลากรสาธารณสุขกลุ่มเสี่ยงทั้ง CUP จากผลการตรวจสุขภาพประจำปี , นำร่องกลุ่มอสม.+ปชช.ที่สนใจที่ รพ.สต.เปือ อยู่ระหว่างการประเมินผล

39 ข้อค้นพบ/ชื่นชม พชอ. ตลาดสีเขียว
ระบบการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (COC) แบบบูรณาการ ทีมเลขาฯ ผ่านอบรมพชอ. แนวคิด เสริมศักยภาพ พชอ.ตำบลพระธาตุ จิตอาสา ดูแลเยี่ยมบ้าน /การจัดการขยะติดเชื้อ ต.เชียงคาน (ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต) ต.เชียงกลาง (ตลาดสีเขียว , ชมรมผู้สูงอายุ) ตำบลการจัดการสุขภาพ เป้าหมาย 3 ตำบล อสม.(ต.เปือ) ผู้สูงอายุ (ต.เชียงกลาง) อาหารปลอดภัย (ต.พญาแก้ว)

40 โอกาสพัฒนา การจัดทีมพชอ.ขับเคลื่อนรายประเด็น
การเตรียมข้อมูล/คืนข้อมูลอย่างมีพลัง การสื่อสารสร้างการรับรู้/สร้างกระแสทางสังคม ทั้งภายในองค์กร สธ./ภายนอก การสร้างกระบวนการเรียนรู้และยกระดับการจัดการ ในระดับตำบล/อำเภอ (ถอดบทเรียน /ต้นแบบ /สร้างแรงบันดาลใจ/เสริมพลัง/สร้างทีมงานแบบโค๊ช) ประเมิน UCCARE เพื่อการพัฒนายกระดับ กำกับ ติดตาม ประเมินผลลัพธ์สะท้อนกลับกระบวนการประเด็นพชอ.

41 กลุ่มวัยผู้สูงอายุ (Long Term Care)

42 สถานการณ์ สัดส่วนผู้สูงอายุ จังหวัดน่าน ปี 2560
ประเทศ: ร้อยละ 16.64 เขต : ร้อยละ 17.68 จังหวัด : ร้อยละ 16.96 ข้อมูลสำนักทะเบียนจังหวัดน่าน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

43 องค์ประกอบตำบลต้นแบบ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว Long Term Care
1 มีระบบการประเมิน คัดกรองปัญหา สุขภาพ และมีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 2 มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3 มีผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Care giver) หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อสม./จิตอาสา) 4 มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care)จากสถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 5 มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 6 มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วม และมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care plan) 7 มีคณะกรรมการบริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนหรือ คณะกรรมการกองทุนตำบล 11/11/61

44 จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง
ข้อมูลประเมิน/คัดกรองผู้สูงอาย อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561 10. ร้อยละ Healthy Ageing 11. จำนวนผู้สูงอายุฯจำแนกตามความสามารถในการทำ กิจวัตร ประจำวัน ( ADL) หน่วยบริการ จำนวนผู้สูงอายุ ไตรมาส 1-2 ต.ค.ถึง มี.ค. จำนวนคัดกรอง ร้อยละ ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง (B) (ADL 12-20) (ADL 5-11) (ADL 0-4) (A) รพ.สต.บ้านชี 265 257 96.98 254 98.83 3 รพ.สต.บ้านงิ้ว 255 100 251 98.43 1 รพ.สต.บ้านส้อ 406 403 99.26 396 98.26 4 รพ.สต.เปือ 901 888 98.56 864 97.3 17 7 รพ.สต.เชียงคาน 322 317 98.45 307 96.85 6 รพ.สต. พระธาตุ 584 570 97.6 560 98.25 5 รพ.สต.พญาแก้ว 260 98.11 258 99.23 2 รพ.สต.พระพุทธบาท 1,025 986 96.19 983 99.7 สสช ผาน้ำย้อย 54 52 96.3 51 98.08 รพ.เชียงกลาง 943 889 94.27 887 99.78 รวม 5,020 4,877 97.15 4,811 98.65  44 22 หน่วยบริการ จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง รวม ร้อยละ (ADL 12-20) (ADL 5-11) (ADL 0-4) รพ.สต.บ้านชี 265 257 3 260 98.11 รพ.สต.บ้านงิ้ว 255 251 1 100 รพ.สต.เปือ 406 396 4 403 99.26 รพ.สต.บ้านส้อ 901 874 18 7 899 99.78 รพ.สต.เชียงคาน 322 309 6 319 99.07 รพ.สต.พระธาตุ 584 566 5 577 98.8 รพ.สต.พญาแก้ว 258 2 รพ.สต พระพุทธบาท 1,025 988 991 96.68 สสช.ผาน้ำย้อย 54 52 53 98.15 รพ.เชียงกลาง 943 906 908 96.29 5,020 4,857 46 22 4,925 98.11  ข้อมูล HDC ณ วันที่ 5 มีนาคม 2561

45 การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ (กลุ่มติดสังคม) อำเภอเชียงกลาง ตำบล ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ มีโรงเรียนผู้สูงอายุ มีศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรม เชียงกลาง   /   / มีชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง ชุมชนมีการสร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น ออกกำลังกาย/แข่งขันกีฬา มีการเยี่ยมเยือนแบบสัญจร ฯลฯ เปือ / เชียงคาน   / พระธาตุ   / พญาแก้ว พระพุทธบาท ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ : ต้องมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อยทุก 3 เดือน

46 การดำเนินงานดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง (ติดบ้านติดเตียง) Long Term Care อำเภอเชียงกลาง อปท.ที่เข้าร่วมโครงการ : ทต.เชียงกลาง ทต.พระพุทธบาทเชียงคาน อบต.เปือ อบต.พระธาตุ ที่ยังไม่เข้าร่วมฯ : อบต.เชียงกลางพญาแก้ว การดำเนินงาน 3C โครงการ LTC อำเภอเชียงกลาง ปี จำนวนกองทุนที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านเกณฑ์ ประเมินตำบล LTC ผู้สูงอายุ เป้าหมาย (คน) Care Manager (คน) Care Giver (คน) Care Plan (คน) ร้อยละ การเบิกจ่ายตามCare Plan (คน) 2559   1 74 3 20 32 43.24 28 87.5 2560 42 5 27 41 97.62 100 2561 - รวม 4 (ร้อยละ 80) 4 116 8 47 73 62.93 69 94.52 ปี 2561 ได้รับงบฯให้ผู้สูงอายุมาอีก 22 คน (2 แห่ง)

47 ข้อชื่นชม ข้อเสนอแนะ - จัดทำCare Plan ให้ครอบคลุมผู้สูงอายุเป้าหมาย
มีการทำงานที่เป็นทีม /มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการระหว่างผอ.รพ.สต.และ CM /ระหว่าง CG มีการคัดกรองผู้สูงอายุและลงบันทึกในระบบรายงานครอบคลุม มากกว่าร้อยละ 90 (97.15) เป็นอำเภอตัวอย่างของการดำเนินงานขับเคลื่อนงานชมรมผู้สูงอายุ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน มีระบบการติดตามดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงที่ดี ทำงานแบบจิตอาสา มีการบริหารจัดการงบประมาณที่สปสช.โอนให้หน่วยบริการ (โรงพยาบาล) ปีละ 1 แสนบาท โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะแล้ว - จัดทำCare Plan ให้ครอบคลุมผู้สูงอายุเป้าหมาย - ส่งเสริมให้มีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในตำบล/ชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง

48 การให้บริการและบันทึกข้อมูลงานแพทย์แผนไทย

49

50 ตัวชี้วัดปีงบประมาณ2560-2564
ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64 ร้อยละ21.5 ร้อยละ21 ร้อยละ 20.5 ร้อยละ20 ร้อยละ18.5

51 ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ได้มาตรฐานในเขตสุขภาพที่ 1 (ไตรมาสที่ 1 ) ร้อยละ 13.53

52 ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานในจังหวัดน่าน
(ไตรมาสที่ 1 ) สถานการณ์ อำเภอเชียงกลาง: ประชาชนมีแนวโน้มในการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเพิ่มมากขึ้น ทุกปี :มีการบูรณางานร่วมกับสหวิชาชีพมุ่งเน้นการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ในด้านการส่งเสริมสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย : มีผลงานไตรมาสที่ 1 ปี 2561 ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (HDC : วันที่ 7 มีค. 61) 2559 2560 ร้อยละ 13.71 ร้อยละ 9.79 ร้อยละ 20.27 ร้อยละ 25.57 2558 2561

53 ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ได้มาตรฐาน อำเภอเชียงกลาง ปีงบประมาณ 2561 (ไตรมาสที่ 1 ) ผลงานไตรมาสที่ 1 ปี 2561 ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (เกณฑ์กำหนด ร้อยละ 20) (HDC : วันที่ 7 มีค. 61)

54 ผลการดำเนินงานของสถานบริการอำเภอเชียงกลาง ปี 2561 ( ข้อมูล HDC ณ วันที่ 6 มี.ค. 2561)

55 แหล่งงบประมาณสนับสนุนการจัดบริการงานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
งบประมาณสนับสนุนการจัดระบบบริการงานแพทย์แผนไทย อ.เชียงกลาง ปีงบประมาณ ( 1 เม.ย.59 – 31 มี.ค. 60 ) แหล่งงบประมาณสนับสนุนการจัดบริการงานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การขับเคลื่อนแผนแม่บทสมุนไพรแห่งชาติ งบลงทุน ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร่าง,งบดำเนินงาน งบภาค งบเขตสุขภาพ

56 ต้นทุน/ข้อค้นพบ:ชื่นชม
มีระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ดี มีทีมผู้รับผิดชอบงานข้อมูล (ADMIN สสอ.เชียงกลาง) ที่เข้มแข็ง : ติดตามการลงข้อมูลงานแพทย์แผนไทย Hosxp pcu อย่างใกล้ชิด การเปิดให้บริการงานแพทย์แผนไทยในสถานบริการ (รพ.สต. ,สสช.) : ร้อยละ (ไม่เปิด 1 แห่ง) ปัญหา/ข้อเสนอแนะ ควรมีการจัดแผนยาสมุนไพร/ยาแผนไทย รวมถึงงบประมาณในการจัดซื้อยาให้เหมาะสมและเอื้อต่อการให้บริการ ควรมีการตรวจสอบข้อมูลผลการดำเนินที่ลงในโปรแกรมให้สม่ำเสมอซึ่งจะทำให้ติดตามข้อผิดพลาดการลงข้อมูลได้ การจัดทำโครงการ/กิจกรรมรณรงค์ให้ชุมชนรู้จัก เชื่อมั่น สมุนไพรและสามารถนำมาส่งเสริมสุขภาพตนเองและครอบครัว (สมุนไพร 3 ต : ต้น, ตู้, ตัว)

57 “การดำเนินงานเมืองสมุนไพรจังหวัดน่าน”
เนื่องจากจังหวัดน่าน ไม่ได้รับเลือกเป็น “เมืองสมุนไพร” ของเขต 1 แต่จังหวัดน่านได้ดำเนินกิจกรรมเพื่อรองรับการเป็นเมืองสมุนไพรในอนาคตคือ “การพัฒนาเมืองสมุนไพรจังหวัดน่าน” โดยบูรณาการร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดน่าน (ทสจ.) กิจกรรม จัดทำฐานข้อมูลด้านพืชสมุนไพรและพืชอาหารพื้นบ้านของชุมชน จัดให้มีพื้นที่ในการเพาะปลูกสมุนไพรและพืชอาหารพื้นบ้าน จัดให้มีผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการปลูกสมุนไพรและพืชอาหารพื้นบ้าน อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์/ชุมชนต้นแบบ สร้างรายได้ให้ชุมชน จากการให้บริการด้านสมุนไพรและการแพทย์พื้นบ้าน ชุมชนมีการดำเนินการพัฒนาต่อยอดศูนย์รวมการเรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเพื่อสุขภาพ แบบบูรณาการร่วมกันระหว่าง รพช./รพ.สต.+หมู่บ้าน+โรงเรียน) โครงการพัฒนาศักยภาพสมุนไพรครบวงจร กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ชุมชนต้นแบบ (นำร่อง) จำนวน 5 ชุมชน ได้แก่ 1. บ้านเชียงยืน ตำบลบ่อสวก อำเภอเมืองน่าน 2. บ้านผาขวาง ตำบลบ่อ อำเภอเมืองน่าน 3. บ้านดู่ ตำบลบ้านฟ้า อำเภอบ้านหลวง 4. บ้านหนองผุก ตำบลเปือ อำเภอเชียงกลาง 5. บ้านดอนไชย ตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย

58 Happinometer ข้อเสนอแนะ ค่าเฉลี่ยคะแนนความสุข
ความสุขแยกรายมิติ คปสอ.ทุ่งช้าง ปีงบประมาณ 2560 ค่าเฉลี่ยความสุขของเจ้าหน้าที่ในสังกัด คปสอ.ทุ่งช้าง ปีงบประมาณ 2560 ร้อยละ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยคะแนนความสุข Very Unhappy 0 – Unhappy – 49 Happy – Very Happy ข้อเสนอแนะ ขอชื่นชม จัดตั้งคณะทำงาน Happy MOPH ระดับอำเภอ เพื่อขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ

59 ITA

60 การประเมิน ITA ตัวชี้วัด :หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA (ร้อยละ 90)
ระดับ 1 ระดับ 3 ระดับ 5 EB4 EB5 EB6 รพ.เชียงกลาง ระดับ 1 ไม่ผ่าน สสอ.เชียงกลาง ระดับ 5 ผ่าน ผลการประเมิน ปัญหาและอุปสรรค - เนื่องจากเป็นปีแรกในการประเมิน ITA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจึงยังไม่เข้าใจในการรวบรวมเอกสาร - กรณีของ รพ เชียงกลาง ได้ระดับ 1 เนื่องจากแนบเอกสารในเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละโครงการ และการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างไม่ครบ แนวทางแก้ไข/ ข้อเสนอแนะ ได้ชี้แจ้งแนวทางการตอบแบบประเมิน ITA ให้ผู้รับผิดชอบงานให้เข้าใจมากขึ้น มีการตั้งกลุ่มline สำหรับผู้ประสานงาน ITA เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขอให้หน่วยงานเพิ่มเติมเอกสารในข้อ EB4-6 ให้ครบ และจัดเตรียมเอกสารในข้อ EB1 -11 เพื่อตอบแบบประเมินในไตรมาส 2 ต่อไป **ซึ่งในรอบไตรมาส 2 สสจ.น่าน จะประชุมเพื่อตรวจแบบประเมินในรูปจังหวัดวันที่ 23 มี.ค.61 เพื่อเตรียมพร้อมในการรับตรวจจากคณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 1 ในวันที่ 2 เม.ย.61 ต่อไป

61 Happinometer

62 Happinometer ข้อเสนอแนะ ค่าเฉลี่ยคะแนนความสุข
ความสุขแยกรายมิติ คปสอ.เชียงกลาง ปีงบประมาณ 2560 ค่าเฉลี่ยความสุขของเจ้าหน้าที่ในสังกัด คปสอ.เชียงกลาง ปีงบประมาณ 2560 ร้อยละ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยคะแนนความสุข Very Unhappy 0 – Unhappy – 49 Happy – Very Happy ข้อเสนอแนะ ข้อชื่นชม ทีมงานคปสอ. เชียงกลาง ที่จัดให้มีกิจกรรมที่หลากหลายมากในเรื่องนี้ โดยเฉพาะ Happy Money จัดให้จนท.จากธนาคารมาให้ความรู้และเข้าร่วมโครงการRefinance และการให้บริการเพื่อหารายรับ เพื่อนำมาจ่าย ฉ.11 ให้กับจนท.ทุกคน ในสถานบริการ(รพ./รพ.สต.) การเพิ่มเงินพิเศษให้บุคลากรสำหรับบุคลากรที่มีการดูแลสุขภาพตนเอง การจัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน CHRO ระดับอำเภอ เพื่อขับเคลื่อนงานสู่การปฏิบัติครอบคลุม การสรุปและประเมินผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม

63 การเงินการคลัง

64


ดาวน์โหลด ppt โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google